ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
Kritsana Chaleawsak, RN, MSN (Adult Nursing)
Nursing Ethics Kritsana Chaleawsak, RN, MSN (Adult Nursing)
2
กิจกรรมส่งเสริมและพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรม นักศึกษาพยาบาล วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี ยะลา
ข้อตกลงเบื้องต้น..... เรียนด้วยการสุนทรียสนทนา - โดยผู้ร่วมสนทนาทุกคนมีส่วนร่วม ทุกคน ตั้งใจฟังความคิดเห็นของคนอื่น ให้เกียรติ ผู้อื่น ไม่ตัดสินผู้อื่น และสามารถแสดงออก โดยการเปิดเผยเสียงที่เกิดขึ้นจากภายในใจ ของเรา - ฟังด้วยจิตจดจ่อ ก่อให้เกิดความเคารพ ครบด้วยการห้อยแขวน แทนด้วยเสียงจากใจ ... ของตัวเราเอง
3
สุ จิ ปุ ลิ กับ สุนทรียสนทนา
สุ จิ ปุ ลิ เป็นหลักคำสอนทางพระพุทธศาสนา ที่เรียกว่าหัวใจนักปราญช์ เป็นหลักคำสอนที่ สอนให้ก้าวสู่การเป็นผู้รู้ เป็นบัณฑิตหรือเป็น นักปราชญ์ โดยมีความหมาย และ รายละเอียดดังนี้ สุ คือ สุตะ มีความหมายว่า ต้องขยันหมั่นรับ ฟัง จิ คือ จินตะ มีความหมายว่า ต้องหมั่นคิด ปุ คือ ปุจฉา มีความหมายว่า ต้องหมั่นไต่ถาม เมื่อสงสัย ลิ คือ ลิขิตะ มีความหมายว่า ต้องหมั่นเขียน จดบันทึกไว้
4
หนึ่งสดับตรับฟังโดยตั้งจิต หนึ่งเฝ้าคิด ตามไปให้กว้างขวาง หนึ่งสงสัยถามไถ่ ไม่อำพราง หนึ่งหาทางจดด้วยช่วย ความจำ (ผจงวาด วายวา นนท์)
5
https://archive.org/details/SMT_AJ
6
เล่าความประทับใจ....จากการกลับบ้านเมื่อปิดเทอม
ข้อตกลงร่วมกัน ๑. ให้นักศึกษาจับคู่ แล้วเล่าเรื่องความ ประทับใจให้เพื่อนฟัง ๕ นาที ๒. แต่ละคนเขียนเรื่องที่เพื่อนเล่าให้ฟัง (๕ นาที) ๓. ส่งคุณครู ๔. ตัวแทนสุ่มจับเรื่องที่เพื่อนเขียนได้ ..ให้เจ้า ตัวมาเล่าให้เพื่อนฟัง ๓ คน แจกกระดาษให้คนละหนึ่งแผ่นเพื่อบันทึกผลการฟัง สิ่งที่เพื่อนพูด สิ่งที่เราตีความหรือคิดซึ่งเป็นเสียงในสมองหรือจิตเรียกว่าความคิดจรมา เมื่อครบเวลาการสนทนาข้าพเจ้าสุ่มให้แลกเปลี่ยนผลการฟังซึ่งเป็นการฝึกฟังกลุ่มใหญ่อีกครั้งหนึ่ง ข้าพเจ้าให้นักศึกษาเล่าสรุปสิ่งที่เพื่อนเล่าให้เราฟัง จากการสังเกตนักศึกษาเล่าได้ดีคนที่ถูกเล่าถึงเริ่มน้ำตาไหล และเขาสามารถจับสังเกตเสียงในจิตหรือในสมองได้ดี อ่านต่อได้ที่:
7
นักบุญ ไม่ท้อถอย มีชื่อเสียงเลื่องลือ นักบุญ มีพลัง
8
พยาบาลดูแลผู้ป่วย เอดส์
ตอนที่ ๑ w1qA ตอนที่ ๒ gRlYCjuf_A ตอนที่ ๓ LFIA ตอนที่ ๔ trg8 ตอนที่ ๕ V3Ce34eEM คุณค่าและจุดมุ่งหมายของชีวิตการทำงาน แผนการเรียนที่ ๑ คุณค่าของงานพยาบาล พร้อมทั้งอธิบายผลการเรียนรู้ว่านักศึกษาอธิบายเรื่องเป้าหมายของการทำงานได้ นักศึกษาอธิบายคุณค่าของชีวิตพยาบาลได้ และนักศึกษาวิเคราะห์คุณค่าและจุดหมายของชีวิตของตนเองได้ อ่านต่อได้ที่:
9
What is a nurse ?
10
ให้นักศึกษา เขียน...... พยาบาลคืออะไร.......
พยาบาลควรมีลักษณะอย่างไร...... เราจะเป็นพยาบาลที่ดีได้หรือไม่ อย่าง ไร.....
11
บทสรุป พยาบาลคืออะไร คือใคร
13
จริยศาสตร์ (Ethics) วิชาที่ว่าด้วยหลักการ
- คุณค่าของความประพฤติ ว่าสิ่งใดควรทำ สิ่งใดไม่ควรทำ - ความดีคืออะไร ทำไมจึงเรียกว่า ความดี
14
ความหมายของจริยศาสตร์
จริยศาสตร์ (Ethics) เป็นสาขาที่ ค้นคว้าศึกษาเกี่ยวกับความดี ความชั่ว ความถูก ความผิด กล่าวถึงแนวทางอัน พึงประพฤติของมนุษย์ที่ควรประพฤติ เกี่ยวกับวิถีชีวิตหรือหลักการดำเนิน ชีวิต
15
จริยศาสตร์ สามารถแปลออกมาได้ 2 ความหมายคือ
1.ประมวลกฏหมายที่กลุ่มชนหรือสังคมหนึ่ง ๆ ยอมรับเป็นแนวทางควบคุมความ ประพฤติ เพื่อแยกแยะให้เห็นว่าอะไรควร หรือไปกันได้กับการบรรลุจุดประสงค์ของ กลุ่ม 2. ethics เป็นความหมายที่ใช้ในภาษานัก ปรัชญา แปลว่า จริยศาสตร์ หมายถึง ปรัชญาสาขาหนึ่งว่าด้วยความประพฤติ และการครองชีวิตว่าอะไรดี อะไรชั่ว อะไร ถูก อะไรผิด หรืออะไรควร อะไรไม่ควร (พระมหาประยูร ธมมจิตโต, 2532)
16
ความสำคัญของจริยศาสตร์ ในวิชาชีพการพยาบาล
จริยศาสตร์ให้ความรู้เกี่ยวกับพฤติกรรมมนุษย์ พยาบาลทำงานกับมนุษย์ทั้งผู้ที่มีสุขภาพดีและเจ็บป่วย การเข้าใจในมนุษย์ คิด วิเคราะห์สิ่งที่เหมาะควรได้ จะช่วยให้ปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพประสบความสำเร็จในการประกอบวิชาชีพ จริยศาสตร์ เป็นพื้นฐานของจรรยาบรรณวิชาชีพ ช่วยให้วิชาชีพมีมาตรฐาน เป็นที่ยอมรับของสังคม
17
ความสำคัญของจริยศาสตร์
จริยศาสตร์ทำหน้าที่เสนอทฤษฎีแห่ง ความประพฤติ เสนอเหตุผลและ หลักการแห่งความดีให้กับระบบ จริยธรรม ความรู้ในจริยศาสตร์อาจช่วย ให้ผู้เรียนเข้าใจหลักการของจริยธรรม มากขึ้น
18
ชีวจริยธรรม (bioethics)
หมายถึงจริยธรรมของการนำความรู้ใหม่ๆ เกี่ยวกับพันธุกรรม (หรือยีน) ไปใช้ให้ถูกต้อง ทำนองคลองธรรมอย่างที่สุด โดยการปฏิบัติต่อสิ่งมีชีวิตอย่างมีคุณธรรม ไม่ทำร้าย หรือทำอันตรายต่อสัตว์หรือ มนุษย์เพื่อการศึกษาหรือการวิจัย การกำกับดูแลให้ผู้ใช้สัตว์ปฏิบัติตาม จรรยาบรรณทั้งระดับองค์กร และระดับชาติ มีคณะกรรมการกำกับติดตามดูแล รับผิดชอบ เช่น ในระดับชาติได้แก่ สำนักงานคณะกรรมการการวิจัยแห่งชาติ
19
ประเด็นที่พิจารณา -อาวุธชีวภาพ ( Biological weapons ) อาวุธชีวภาพ (Biological Weapon) คือ อาวุธที่ได้จากสิ่งมีชีวิตซึ่งครอบคลุมถึง สิ่งมีชีวิตเอง สารพิษจากสิ่งมีชีวิต และ ฮอร์โมน หรือ สารอื่นที่สิ่งมีชีวิตผลิตขึ้น หรือที่เราเรียกว่า "อาวุธเชื้อโรค"
20
ประเด็นที่พิจารณา -การโคลนมนุษย์ (cloning)
นักฟิสิกส์ชาวสหรัฐ ชื่อนายริชาร์ด ซี้ด ได้ความคิดใหม่ที่ว่าจะตั้งคลินิก รับผลิตเด็กด้วยวิธีการโคลนนิ่ง
21
ประเด็นที่พิจารณา -การทำแท้ง (Abortion)
22
ประเด็นที่พิจารณา -สิ่งมีชีวิตตัดแต่งพันธุกรรม (GMOs: genetically modified organisms )
23
ประเด็นที่พิจารณา -กรุณพิฆาต (mercy killing)
24
ประเด็นที่พิจารณา การเปลี่ยนอวัยวะ (organ transplantation)
25
จริยศาสตร์กับจริยธรรมต่างกัน อย่างไร
จริยศาสตร์ทำหน้าที่เสนอทฤษฎีแห่ง ความประพฤติ เสนอเหตุผลและ หลักการแห่งความดีให้กับระบบ จริยธรรม จริยธรรมเสนอวิธีการประพฤติปฏิบัติที่ ดี ประมวลหลักปฏิบัติ ที่ควรทำตาม
26
จรรยาบรรณ (Code of Ethics)
หมายถึง ประมวลความประพฤติที่ผู้ประกอบ วิชาชีพแต่ละอย่างกำหนดขึ้น เพื่อรักษาและ ส่งเสริมเกียรติคุณ ชื่อเสียง และฐานะของ สมาชิก ดังนั้น จรรยาบรรณจึงเป็นหลักความ ประพฤติของบุคคลในกลุ่มอาชีพ หรือวิชาชีพ เป็นเครื่องยึดเหนี่ยวจิตใจให้มีคุณธรรม จริยธรรม
27
ภาพลักษณ์ของวิชาชีพการพยาบาล (Image of Nursing Profession)
28
ภาพลักษณ์ของวิชาชีพการพยาบาล (Image of Nursing Profession)
ภาพลักษณ์ของพยาบาลเป็นภาพฉายเหมือน ในเครื่องรับโทรทัศน์ ซึ่งประชาชน หรือ ผู้รับบริการกำลังนั่งชมภาพเหล่านั้น ภาพที่ ปรากฏออกมานั้น จะส่งผลต่อทัศนคติวิชาชีพ การพยาบาลตลอดเวลาที่สังคมมองและรับ รู้อยู่นั้น ถ้าภาพปรากฏออกมาดี จะเป็นที่ ประทับใจต่อผู้ที่กำลังมองภาพเหล่านั้นอยู่
29
Myra E. Levine "Ethical behavior is not the display of one's moral rectitude in times of crisis," says nurse Myra Levine.“It is the day-to-day expression of one's commitment to other persons and the ways in which human beings relate to one another in their daily interactions.” - Levine (1977)
30
ลีไวน์ (Levine,1977) กล่าวว่า พยาบาลต้องรับผิดชอบเชิงจริยธรรมในการปฏิบัติการพยาบาล เพราะพยาบาลได้มีส่วนร่วมในประสบการณ์ของมนุษย์ ไม่ว่าจะเป็นเรื่องเล็กน้อยหรือเรื่องใหญ่โตเพียงใดก็ตาม ต้องจารึกผลงานการพยาบาลให้ปรากฏ เต็มใจเผชิญในสภาพการณ์ต่างๆ เพื่อบอกความรับผิดชอบเชิงจริยธรรม และศีลธรรมของพยาบาล ซึ่งความรับผิดชอบดังกล่าว จะบ่งบอกถึงระดับความดีเลิศของพยาบาล
31
1. ความคิดเห็นของประชาชนที่มีต่อ “พยาบาลวิชาชีพ”
อันดับ 1 เป็นอาชีพที่มีเกียรติ สังคมให้การยอมรับและยกย่องผู้ที่ประกอบอาชีพนี้ % อันดับ 2 การให้บริการของพยาบาลระหว่างของรัฐและ เอกชน มีความแตกต่างกัน เช่น การพูดจา กริยา ท่าทางและเลือกปฏิบัติ เป็นต้น % อันดับ 3 ควรมีหน้าที่รักษาพยาบาล ดูแลผู้ป่วยทั้งทางด้าน ร่างกายและจิตใจให้เป็นไปตามมาตรฐานและ จรรยาบรรณวิชาชีพ % อันดับ 4 ต้องเสียสละ อดทนและมีใจรักในวิชาชีพ % อันดับ 5 เป็นอาชีพที่หางานทำได้ไม่ยาก % สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ๒๕๕๓
32
พยาบาลแบบไหน? ที่ประชาชนต้องการ
อันดับ 1 จิตใจดี สุภาพ ยิ้มแย้ม เป็นกันเองกับทุกคน/ ให้บริการที่ประทับใจ % อันดับ 2 เป็นคนดี ยึดมั่นในคุณธรรม จริยธรรม % อันดับ 3 เป็นผู้ที่เสียสละและทุ่มเท โดยเฉพาะในพื้นที่ ห่างไกล หรือในพื้นที่ที่ต้องการความช่วยเหลืออย่างเร่งด่วน % อันดับ 4 มีความรู้ความชำนาญในวิชาชีพ สามารถให้ความรู้ แก่ประชาชนในเรื่องการดูแลรักษาสุขภาพอนามัย ได้อย่างถูกต้อง/เรียนรู้ และพัฒนาสิ่งใหม่ๆ อยู่เสมอ % อันดับ 5 ต้องเป็นผู้ที่มีใจรักในอาชีพ ปฏิบัติหน้าที่อย่างเต็ม กำลังความสามารถ %
33
พฤติกรรมพยาบาลที่ปรากฎตามสื่อต่างๆ
34
ให้นักศึกษาเข้ากลุ่มๆ ๘-๙ คน
ส่งตัวแทนมาหยิบเอกสาร หน้าห้อง แล้วอ่าน ให้เพื่อนฟัง แล้วแต่ละกลุ่มให้เขียนสิ่งได้เรียนรู้จากเรื่อง เล่าเหล่านั้น ส่งตัวแทนเสนอความคิดเห็น
35
Nursing Ethics System of principles concerning the action of the nurse in relationships with patients, families, other health care providers, policy makers, and society
36
Ethical Frameworks Utilitarian – most good, least harm
Most common approach, “First do no harm” is related to this. Attempts to produce the greatest good with the least harm. Duty based- duty to do or to refrain from doing something Decisions are made because there is duty! Virtue – actions consistent with certain ideal virtues Decisions should be directed at maintaining virtues (honesty, courage, compassion, etc.). A person using this approach may ask themselves, “If I carry out these actions, what kind of person will I be?”
37
Ethical Frameworks Rights based– best protects the rights and respects the moral rights of those affected Begins with idea of human dignity and freedom of choice. The pt has the right to make the decision. Common good – best for community/society Decisions should be made on what is good for the community as a whole, not necessarily for the individual. Where many of our nations laws are base
38
Ethical Theories Utilitarianism Deontology
Greatest good for the most people Assumes that an action is right if it leads to the greatest balance of good consequences or to the fewest possible bad consequences Deontology Decision is right if it conforms to an overriding moral duty and wrong if it violates that moral duty
39
ทฤษฎีประโยชน์นิยม (Utilitarianism)
ตัดสินผลลัพธ์ของการกระทำว่า ถูก หรือ ผิด หรือผลที่คาดว่าจะเกิดขึ้น การกระทำที่ถูกต้อง คือ การกระทำที่ ก่อให้เกิดผลดี การกระทำที่ก่อให้เกิดผลเสีย ถือว่าเป็นการ กระทำที่ไม่ถูกต้อง
40
ทฤษฎีประโยชน์นิยม เน้นที่ผลของการกระทำ โดยมีหลักการ พื้นฐานของทฤษฎี คือ หลักของผลประโยชน์ (Principle of Utility) - บุคคลจะต้องทำในสิ่งที่ก่อให้เกิด คุณค่าทางบวก (Positive value) - ความดีที่มีคุณค่าในตนเองและเป็น สิ่งที่ดีได้รับการยอมรับจากบุคคลทั่วไป เป็นสิ่งที่มีคุณค่า
41
Ethical Theories: Utilitarianism
The greatest happiness principle: “Actions are right in proportion as they tend to promote happiness; wrong as they tend to produce the reverse of happiness.” John Stuart Mill ( ) A “consequentialist” theory of value. Actions aren’t right or wrong in themselves: it always depends on the context and the (expected) consequences.
42
ทฤษฎีหน้าที่นิยม (Deontological Theory)
เน้นที่การกระทำ ซึ่งทฤษฎีนี้ เชื่อว่าการกระทำ ที่ถูกต้อง คือ การกระทำตามกฎของหน้าที่ที่ พึงกระทำ โดยไม่ใช้ผลของการกระทำมา ตัดสิน มนุษย์ทุกคนมีคุณค่า (Value) ที่เท่าเทียม กัน บุคคลจึงควรได้รับการเคารพในศักดิ์ศรี และจะต้องไม่ถูกกระทำ ไปตามเป้าหมาย หรือ ความต้องการของบุคคล ทฤษฎีหน้าที่นิยม เชื่อว่า ...การกระทำที่มีจริยธรรม จะเกิดขึ้นจาก บุคคลที่มีเจตนาดีเท่านั้น และบุคคลคนนั้น ปฏิบัติตามหน้าที่ ตามกฎเกณฑ์ การยอมรับ ของสากล
43
แนวคิดของค้านท์ (หน้าที่นิยม)
สิ่งที่ดีอย่างปราศจากเงื่อนไขคือ เจตนา ดี (good will) ซึ่งเป็นการกระทำที่เกิด จาก "หน้าที่" (duty) ตามเหตุผลแห่ง กฎจริยธรรม แม้ว่ามนุษย์จะมีแนวโน้ม เอียงตามธรรมชาติ เจตนาดีคือการ เจตนาให้การกระทำอันหนึ่งเป็นสิ่งที่ ถูกต้องในตนเอง และต้องไม่มี เป้าหมายอื่นแอบแฝง
44
ทฤษฎีหน้าที่นิยม เน้นเจตนาของการกระทำ - การ ทำหน้าที่ที่พึงกระทำ ตามกฎเกณฑ์ สากล หลักการอยู่เหนือผลประโยชน์ เอมานุเอล คานท์
45
หน้าที่นิยม คุณค่าทางศีลธรรม ถูกผิดตายตัว ความดีไม่มีข้อแม้
ชีวิตที่สมบูรณ์คือชีวิตที่อยู่กับหน้าที่ด้วยการทำศีลให้บริสุทธิ์ ค่าทางศีลธรรมอยู่ที่เจตนา ทำตามหน้าที่โดยสำนึก ไม่ได้เกิด จากแรงกระตุ้นอารมณ์ ความรู้สึก ที่ปราศจากการไตร่ตรองด้วย เหตุผล และทำโดยไม่หวังผลใดๆ
46
หลักจริยธรรมสำหรับการบริการพยาบาล
การพิทักษ์สิทธิ์ ทำหน้าที่แทน (Advocacy) ความรับผิดชอบ (Accountability) ความร่วมมือ (Cooperation) ความเอื้ออาทร (Caring) (Fry,1994)
47
การพิทักษ์สิทธิ์(Advocacy)
การรักษา ปกป้อง หรือช่วยให้ผู้อื่นได้รับ ประโยชน์ เป็นผู้แทนในการตัดสินใจและลงมือ กระทำเพื่อประโยชน์สูงสุดของผู้ป่วย
48
การทำหน้าที่แทน (Advocacy)
หมายถึง การที่บุคคลกระทำเพื่อปกป้องผู้อื่น หรือ ช่วยให้ผู้อื่นได้รับประโยชน์ พยาบาลทำหน้าที่แทนผู้ป่วย : - พยาบาลกระทำเพื่อการใด ๆ ใน การปฏิบัติหน้าที่ประโยชน์สูงสุด ของผู้ป่วย พยาบาลเป็นผู้แทนของผู้ป่วยใน กรณีที่กระทำการตัดสินใจไม่ได้
49
ความรับผิดชอบ ( Accountabilily )
การที่บุคคลสามารถให้คำตอบในสิ่งที่ตน ได้กระทำหรือรับผิดชอบต่อผู้ใช้บริการ ต่อ วิชาชีพ เพื่อนร่วมงานและตนเอง ตาม กฎหมายและจริยธรรม พยาบาลในปัจจุบัน ต้องวิเคราะห์ได้ว่า ควรทำอะไรให้ผู้ป่วยมากน้อยเพียงใดเพราะอะไร
50
ความรับผิดชอบ (Accountability / Responsibility)
หมายถึง การที่บุคคลรับรู้และสามารถให้คำตอบ ได้ถึงสิ่งที่ตนกระทำ หรือในสิ่งที่ตนรับผิดชอบ คำว่า Accountability เป็นความรับผิดชอบที่สามารถ ตรวจสอบได้ - พยาบาลมีความรับผิดชอบในการดูแลผู้ป่วย ตามขอบเขตที่กฎหมายและจรรยาบรรรณวิชาชีพ กำหนด - พยาบาลมีความรับผิดชอบทางจริยธรรม ครอบคลุม : - การส่งเสริมสุขภาพ การบรรเทาความทุกข์ทรมาน การป้องกันความเจ็บป่วย การฟื้นฟูสภาพ
51
ต่อผู้ใช้บริการ ให้การส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ให้การดูแลรักษาและฟื้นฟูสภาพ ในยามเจ็บป่วยโดยใช้ความรู้ ทักษะ ศิลปวิทยาการอย่างเต็ม ความสามารถด้วยความรักเพื่อน มนุษย์
52
ต่อตนเอง การพัฒนาความรู้ ทักษะ และสติปัญญาเพื่อให้ทำหน้าที่ได้ อย่างมีประสิทธิภาพ การพัฒนาคุณธรรมให้มีมโนธรรม ประพฤติอยู่ในความดี การพัฒนามนุษยสัมพันธ์ เพื่อมีชีวิตและทำงานอยู่ในสังคม ได้ด้วยความสุข มีชีวิตอยู่อย่างมีเกียรติและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
53
ต่อวิชาชีพ ให้บริการอย่างมีประสิทธิภาพด้วยเกียรติและศักดิ์ศรีแห่งวิชาชีพ ร่วมกันสร้างความก้าวหน้าทางวิตถาร พัฒนาความรู้และทักษะเพื่อ พัฒนาประสิทธิภาพและประสิทธิผลของบริการพยาบาล แลกเปลี่ยนและเผยแพร่ความรู้ระหว่างสมาชิกพยาบาลและสังคม รักษาจรรยาบรรณวิชาชีพ เพื่อสร้างความศรัทธาให้สังคมเกิดความ เชื่อถือ ไว้วางใจในบริการของวิชาชีพ
54
ต่อสังคม ใส่ใจจริงใจในการพยาบาลแก่สังคมโดยไม่เลือก กลุ่มชน ร่วมมือในการคิดค้นหาทางที่จะสนอง ตามความต้องการของสังคม
55
ความร่วมมือ (Cooperation)
การมีส่วนร่วมงานอย่างจริงจัง เพื่อให้การดูแลผู้ป่วยมีคุณภาพ คุณค่า เป้าหมายของตนเอง การเสียสละ การมีสัมพันธภาพกับผู้อื่น
56
ความเอื้ออาทร(Caring)
การที่พยาบาลปกป้องดูแลผู้ป่วยให้มีสุขภาพ ดี สมศักดิ์ศรีของมนุษย์ ความรัก ความเข้าใจ ความเห็นใจ ใส่ใจในปัญหาความต้องการของผู้ป่วยและญาติ การให้กำลังใจ ยิ้มแย้มแจ่มใส มีไมตรี
57
ลักษณะความเอื้ออาทร(Watson,1995)
ช่วยเหลือโดยคำนึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล ให้เวลาในการฟัง รักษาความลับ ตอบสนองความต้องการของผู้ป่วยอย่างรวดเร็ว ทำด้วยความเมตตาและเห็นใจอย่างต่อเนื่อง ให้คำอธิบายที่เหมาะสม มีความกรุณา เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ สุภาพ ให้ความเคารพ ฯลฯ
58
พยาบาลแม่พระ ตอนที่ ๑ https://www.youtube.com/watch?v=17EWe08YDW g
ตอนที่ ๒ ตอนที่ ๓
59
พยาบาลพลังกอด ตอนที่ ๑ https://www.youtube.com/watch?v=ReRHBx2ASV c
ตอนที่ ๒
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2025 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.