ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
พืชวงศ์ถั่ว ถั่วเหลือง ถั่วเขียว ถั่วลิสง
พืชวงศ์ถั่ว ถั่วเหลือง ถั่วเขียว ถั่วลิสง รศ. ดร. ธีระ เอกสมทราเมษฐ ภาควิชาพืชศาสตร์ คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ หาดใหญ่ 12/3/2018
2
พืชวงศ์ถั่ว กรณี : ถั่วเหลือง ถั่วเขียว ถั่วลิสง
พืชวงศ์ถั่ว กรณี : ถั่วเหลือง ถั่วเขียว ถั่วลิสง ถั่วเหลือง : Soybean, Soja bean [Glycine max (L.) Merrill] ถั่วเขียว : Mungbean, Green gram [Vigna radiata (L.) Wilzcek] ถั่วเขียวผิวดำ : Black gram [Vigna mungo (L.) Hepper] ถั่วลิสง : Groundnut, Peanut [Arachis hypogaea (L.)] 12/3/2018
3
พฤกษศาสตร์ ถั่วเหลือง รากแก้ว เป็นพุ่มตรงแตกแขนง ใบเกิดแบบสลับ
พืชวงศ์ถั่ว ชื่อวิทยาศาสตร์ ชื่อสามัญ ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ ราก ลำต้น ใบ ดอก ฝัก เมล็ด ถั่วเหลือง : Soybean, Soja bean [Glycine max (L.) Merrill] รากแก้ว เป็นพุ่มตรงแตกแขนง ใบเกิดแบบสลับ infolorescence 5-10 ซม. (5-15เมล็ด) กลมรีจนถึงยาว สีเหลือง เขียว น้ำตาล และดำ ถั่วเขียว Mungbean, Green gram [Vigna radiata (L.) Wilzcek เป็นพุ่มตั้งตรง ใบรวม 2-7 ซม. (1-5 เมล็ด) กลมและค่อนข้างกลมขนาดเล็ก มีสีเขียว ถั่วลิสง Groundnut, Peanut [Arachis hypogaea (L.)] เป็นพุ่มตั้งตรง หรือเลี้อย spicate _ มีเยื่อหุ้มสีต่าง ๆ กัน 12/3/2018
4
ความสำคัญของพืชวงศ์ถั่ว
เต้าเจี้ยว ซีอิ้ว นมถั่วเหลือง เนื้อเทียม ทำขนม ฯลฯ ด้านคุณค่าทางโภชนาการ ด้านอุตสาหกรรมต่อเนื่อง ด้านการบำรุงดิน กาว ยาฆ่าแมลง สี ปุ๋ย วิตามิน ยาต่างๆ กระดาษ ผ้า ฉนวนไฟฟ้า หมึกพิมพ์ สบู่ เครื่องสำอาง ฯลฯ แบคทีเรียไรโซเบียม 12/3/2018
5
คุณค่าทางโภชนาการ พืช % H2O Protein Fat CHO Fiber Ash Glycine max
Vigna radiata (2n = 22) 9.7 23.6 1.2 58.2 3.3 4.0 Arachis hypogaea 2n = 4x = 40 5.4 30.4 47.7 11.7 2.5 2.3 12/3/2018
6
การพัฒนาของแบคทีทีเรียไรโซเบียม ในเซลล์ของถั่วเหลือง จนกระทั่งพัฒนาเป็นรากอีกต่อไป
ข. ก. 12/3/2018
7
ปฏิกิริยาในการตรึงไนโตรเจนที่ถูกเร่งหรือควบคุมโดยเอ็นไซม์ไนโตรจีเนส
12/3/2018
8
แหล่งผลิตถั่วเหลือง ถั่วเขียว ถั่วลิสง
แหล่งผลิตถั่วเหลือง ถั่วเขียว ถั่วลิสง ของโลก o ถั่วเหลือง : สหรัฐ บราซิล อาร์เจนตินา o ถั่วเขียว : อินเดีย บราซิล เม็กซิโก o ถั่วลิสง : อินเดีย จีน ไนจีเรีย ของไทย o ถั่วเหลือง : ภาคเหนือ, ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ, ภาคกลาง o ถั่วเขียว : ภาคเหนือ, ภาคกลาง, ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ, ภาคใต้ o ถั่วลิสง : ภาคเหนือ, ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ, ภาคกลาง, ภาคใต้ 12/3/2018
9
การผลิตถั่วเหลือง ถั่วเขียว ถั่วลิสง ในประเทศไทย
เนื้อที่ ผลผลิต และผลผลิตเฉลี่ยต่อไร่ เป็นรายภาค ปีเพาะปลูก ประเภท ถั่วเหลือง ถั่วเขียว ถั่วลิสง เนื้อที่ปลูก (ไร่) เนื้อที่เก็บเกี่ยว (ไร่) ผลผลิต (ตัน) ผลิตเฉลี่ยต่อไร่ (กก.) เหนือ 1,017,258 979,187 217,965 223 1,536,566 1,485,439 194,008 133 245,203 241,752 61,990 256 ตะวันออกเฉียงเหนือ 253,003 246,339 54,829 127,930 122,617 13,474 110 191,006 185,013 45,251 245 กลาง 190,833 184,468 51,263 278 221,685 208,404 24,196 116 88,289 85,436 23,063 270 ใต้ - 12,758 11,879 1,183 100 25,465 23,921 5,002 209 รวม 1,461,094 1,409,994 324,057 230 1,898,939 1,801,339 232,861 129 549,972 536,122 135,306 252 12/3/2018
10
ระบบการปลูกพืชตระกูลถั่ว กรณีถั่วเหลือง
ระบบการปลูกพืชตระกูลถั่ว กรณีถั่วเหลือง 12/3/2018
11
ระยะการพัฒนาของถั่วเหลือง
ระยะการเจริญเติบโตทางลำต้น (V, V0 – V3) ระยะการเจริญเติบโตทางผลผลิต (R, R4 – R11) V0 มีใบจริงคู่แรก V1 มี 2 ข้อ เหนือข้อใบจริงคู่แรก(มีใบรวม 2 ชุด) V2 มี 4 ข้อ เหนือข้อใบจริงคู่แรก (มีใบรวม 4 ชุด) V3 มี 6 ข้อ เหนือข้อใบจริงคู่แรก (มีใบรวม 6 ชุด) R4 ดอกเริ่มบาน โดยต้น 50% ของทั้งหมดมีดอกอย่างน้อย 1 ดอก R5 ดอกบานเต็มที่ จนถึงดอกรองจากข้อสุดยอดของลำต้น ดอกล่างเริ่มมีฝัก R6 มีฝักเกิดขึ้นที่ข้อใดข้อหนึ่ง ของ 4 ข้อปลายยอดของต้น R7 ฝักของ 4 ข้อบนมีความยาว ประมาณ 2 ซม. R8 มีเมล็ดเริ่มพัฒนา ในฝักของข้อใดข้อหนึ่งใน 4 ข้อบนยอด R9 ฝักที่เกิดใน R7 และ R8 มีเมล็ดโตเต็มที่ R10 ฝักเริ่มเหลือง และมีใบเหลือง 50% เป็นระยะแก่ทางสรีระ R11 ฝักเปลี่ยนเป็นสีน้ำตาล 95% ของทั้งหมด เริ่มเก็บเกี่ยวได้ 12/3/2018
12
ระยะการพัฒนาของถั่วเขียว
ระยะการเจริญทางลำต้น มีกิ่งก้าน 3-15 กิ่ง ลำต้นมีสีเขียวมีขนจำนวนมาก ใบเกิดแบบสลับกับกันบนลำต้น มีก้านใบรวม ยาว ตรงโคนก้านใบรวมมีหูใบ จำนวน 2 ใบ ใบย่อย จำนวน 3 ใบ ใบกลางมีก้านใบยาว ที่ฐานของใบย่อยแต่ละใบมีหูย่อย ใบละ 1 คู่ ขนาดของใบกว้าง-ยาวรวม ซม. ตามก้านใบและบนใบมีขนสีขาวมากมาย ระยะออกดอก ดอกเกิดจากตาระหว่างก้านใบและลำต้นกิ่ง กลุ่มละ 5-10 ดอก และเกิดที่ยอดของลำต้นหรือยอดกิ่ง ที่ยอดของลำต้นอาจมี ดอก ก้านของช่อดอกยาวราว 2-13 ซม. มีกลีบรอง กลีบดอก 1 กลีบ ระยะการพัฒนาของถั่วลิสง ระยะออกดอก : เมื่อดอกได้รับการผสมเรียบร้อยแล้วจะ พัฒนาเป็นรูปร่างยาว โดยการยืดตัวของท่อ hypanthium การยืดตัวนี้เกิดจากการยืดตัวของเนื้อเยื่อ intercalary meristem ซึ่งอยู่ที่ฐานของรังไข่ 12/3/2018
13
สภาพดิน และภูมิอากาศที่เหมาะสม ถั่วเหลือง ถั่วเขียว ถั่วลิสง
สภาพดิน และภูมิอากาศที่เหมาะสม ถั่วเหลือง ถั่วเขียว ถั่วลิสง ถั่วเหลือง - เขตอบอุ่น หรือกึ่งร้อน - จัดเป็นพืชวันสั้น ดินร่วน ปนทรายเล็กน้อย น้ำไม่ขังแฉะ pH ระหว่าง ถั่วเขียว - เขตร้อนและเขตอบอุ่น อุณหภูมิประมาณ 25 –30 องศาเซลเซียส - ปริมาณน้ำฝน มม. - จัดเป็นพืชวันสั้น ดินร่วน หรือดินเหนียว น้ำไม่ขัง ถั่วลิสง เขตร้อนและเขตอบอุ่น เป็นพืชไม่ไวแสง หากมีน้ำสามารถปลูกได้ทั้งปี ดินร่วน หรือร่วนปนทราย ระบายน้ำได้ดี น้ำไม่ขัง 12/3/2018
14
การปลูกถั่วเหลือง ถั่วเขียว ถั่วลิสง ในประเทศไทย
การปลูกถั่วเหลือง ถั่วเขียว ถั่วลิสง ในประเทศไทย ฤดูปลูก สภาพดิน พันธุ์ที่ใช้ปลูก การใส่ปุ๋ยและปูนขาว การดูแลรักษาหลังปลูก โรค แมลง การเก็บเกี่ยว การเก็บรักษาเมล็ดพันธุ์ 12/3/2018
15
การปลูกพืชวงศ์ถั่วในประเทศไทย
ถั่วเหลือง ถั่วเขียว ถั่วลิสง ฤดูปลูก 1.ฤดูฝนพค.-กค. - ภาคใต้ เมษายน - ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มิย.-กค 2. ฤดูแล้งถ้ามีชลประทานหรือน้ำสามารถเข้าได้ 1.ต้นฤดูฝน เมย.-กค. - ภาคใต้ เมษายน 2. ปลายฤดูฝน สค.-ตค. 3. ฤดูแล้ง มีชลประทาน ธค.-กพ. 1.ต้นฤดูฝน มิย.กค 2.ปลายฤดูฝน สค.-กย 3.ฤดูแล้ง ชลประทาน มค.-กพ. สภาพดิน ดินร่วน อาจปนทรายเล็กน้อย น้ำไม่ขังแฉะ มี pH ระหว่าง ดินร่วนหรือดินเหนียว สามารถขึ้นได้ในดินทุกชนิด ดินร่วนปนทรายระบายน้ำดี น้ำไม่ขัง พันธุ์ใช้ปลูก 1.พันธุ์อายุสั้น นครสวรรค์1 และเชียงใหม่ 2.พันธุ์อายุปานกลาง เชียงใหม่ 60 สจ.5 สจ.4 สุโขทัย สุโขทัย 2 เชียงใหม่ 3 เชียงใหม่ 4 และมข.35 3. พันธุ์อายุค่อนข้างยาว จักรพันธ์ 1 1. ถั่วเขียวธรรมดา 2. ถั่วทอง 3. ถั่วเขียวผิวดำหรือถั่วเขียวอินเดีย (Vigna mungo) 1. ไทนาน พันธุ์ ส.ข พันธุ์ลำปาง 4. ขอนแก่น ขอนแก่น ขอนแก่น ขอนแก่น ขอนแก่น 60-1 การใส่ปุ๋ยและใส่ปูนขาว ปุ๋ยคอกหรือปุ๋ยวิทยาศาตร์ ปุ๋ยวิทยาศาสตร์ (N,P,K) 6 –24 กก.ต่อไร่ แล้วแต่ความอุดมสมบูรณ์ขอดิน กรมวิชาการแนะนำ และ อัตรา กก.ต่อไร่ ใส่หินฟอสเฟตใช้ กก.ต่ไร่ ปูนขาว กก.ต่อไร่ ปุ๋ย (N,P2O5,K2O) ในอัตรา หรือ กก.ต่อไร่ ปูนขาว หรือยิปซั่ม หรือหินฟอสเฟต ขณะเตรียมดินก่อนปลก วัน หว่านให้ทั่วแปลง แล้วไถกลบ หรือใส่หินฟอสเฟตแทน 12/3/2018
16
พันธุ์ถั่วเหลือง พันธุ์อายุสั้น (75-85 วัน) นครสวรรค์ 1 เชียงใหม่ 2
นครสวรรค์ เชียงใหม่ 2 12/3/2018
17
พันธุ์อายุปานกลาง เชียงใหม่ 60 สจ.5 สจ.4 สุโขทัย 1 สุโขทัย 2
เชียงใหม่ 3 12/3/2018
18
พันธุ์อายุค่อนข้างยาว (115-120 วัน)
สุโขทัย 3 เชียงใหม่ 4 มข.35 พันธุ์อายุค่อนข้างยาว ( วัน) จักรพันธ์ 1 12/3/2018
19
ถั่วเหลืองฝักสด 1. เพื่อการส่งออก AGS292 No.75 2. บริโภคในประเทศ :
เชียงใหม่ 1 12/3/2018
20
พันธุ์ถั่วเขียว ถั่วเขียวผิวมัน กำแพงแสน1, 2 ชัยนาท60, 72, 36 มอ.1
กำแพงแสน1, ชัยนาท60, 72, มอ.1 ถั่วเขียวผิวดำ อู่ทอง2 พิษณุโลก 2 12/3/2018
21
พันธุ์ที่ใช้ในรูปฝักสด
พันธุ์ถั่วลิสง พันธุ์ที่ใช้ในรูปฝักสด 12/3/2018
22
2.พันธุ์ที่ใช้ในรูปฝักแห้ง
ไทนาน 9 ขอนแก่น 5 12/3/2018
23
การดูแลรักษา 1. หลังปลูกควรฉีดสารเคมีป้องกันวัชพืช เช่น ฉีดอะลาคอร์ สามารถควบคุมวัชพืชได้ ประมาณ 1 เดือน หากไม่ใช้ยาปราบวัชพืช ก็ต้องดายหญ้าออกเพื่อปราบวัชพืช แล้วแต่ความมากน้อยของวัชพืช 2. คอยดูแลเรื่อง โรค-แมลง 12/3/2018
24
โรค ศัตรูของถั่ว ถั่วเหลือง โรคราสนิม (rust)
สาเหตุ: เกิดจากเชื้อรา Phakopsora pachyrhizi syd. การระบาด : ช่วงปลายฤดูฝน ทุกประเทศในแถบร้อน อาการ เป็นจุดสีน้ำตาลขนาดเล็กใต้ใบ คล้ายสนิมเหล็กเมื่อเป็นมากใบก็จะร่วง ฝักลีบ เมล็ดเล็ก การป้องกัน รักษา 1. ฉีดยาเคมีป้องกันหลังปลูก25-30 วันโดยใช้ Manzate D กรัมต่อน้ำ 20 ลิตร หรือ Zineb ฉีด 60 กรัมต่อน้ำ 20 ลิตร ฉีดทุก วัน และหยุดฉีดเมื่อถั่วเหลืองติดฝักแล้ว 2. ใช้พันธุ์ต้านทานหรือทนทานต่อโรคเช่น สจ.4 และ สจ.5 โรคแอนเทรกโนส (anthracnose) สาเหตุ : เกิดจากเชื้อรา Colletotrichum dematium f. truncatum การระบาด : รุนเรงเมื่อมีฝนตกในระยะถั่วเหลืองใกล้เก็บเกี่ยว อาการ : ใบเป็นจุดแผลสีน้ำตาลเข้ม ที่กิ่ง ลำต้นฝัก มีแผลเป็นสีน้ำตาล จนดำเป็นวง ๆ เมล็ดลีบย่นเสียหาย การป้องกัน: ไม่ปลูกถั่วเหลืองซ้ำในแปลงที่เคยเป็นโรคและหลีกเลี่ยงการ ใช้เมล็ดพันธุ์จากต้นหรือแปลงที่เป็นโรค การรักษา : ใช้ยาฉีด Benomyl 50% W.P. Manzate-D 80% W.P. 12/3/2018
25
โรคแบคทีเรียลพัสตูลหรือโรคใบจุดนุน (bacterial pustule)
สาเหตุเกิดจาก : แบคทีเรีย Xanthomonas phaseoli var. sojensis (Hedges) การะบาดรุนแรง: ในช่วงที่มีอากาศร้อนอบอ้าว อุณหภูมิเฉลี่ย 28 C ° ขึ้นไป อาการ : เป็นจุดกลมเล็ก ๆ สีน้ำตาลแดง มีขอบนอกเป็นสีเหลือง แกมเขียวปรากฏบนใบ แผลมีลักษณะนูนทางใบใต้ใบ การป้องกัน : ใช้พันธุ์ต้านทานโรค พันธุ์ Clark 63 และ Orba โรคราน้ำค้าง (downy mildew) สาเหตุเกิดจาก: เชื้อรา Peronopora manshurica (Naoum.) Syd. การระบาด : ช่วงปลายฤดูฝน พบมากเชียงใหม่ และ เลย อาการ : บนใบมีจุดขนาดเล็กสีเขียวอ่อน และต่อไปจุดนั้นจะกลายเป็นสีเทาหรือน้ำตาลดำ การป้องกัน : ใช้พันธุ์ต้านทานโรค และถั่วเหลืองพันธุ์นครสวรรค์ 1 มีความอ่อนแอต่อโรคนี้มาก โรคโมเสก หรือโรคใบด่าง (Soybean mosaic) สาเหตุเกิดจาก: ไวรัส Soja Virus 1 การระบาด : โดยติดมาจากเมล็ด และติดต่อโดยมีเพลี้ยอ่อนเป็นตัวนำ อาการ : ใบย่น มีสีเข้มระหว่างเส้นใบ ต้นถั่วแคระแกรน ก้านใบสั้น ฝีกเล็ก การป้องกัน : ใช้เมล็ดพันธุ์จากต้นหรือแปลงไม่เป็นโรค และหากเจอโรคนี้ ควรทำลายต้นที่เป็นโรคเสียก่อน การเก็บเกี่ยว 12/3/2018
26
โรคแบคทีเรียลไบท์ (bacterial blight) สาเหตุ: แบคทีเรีย Pseudomonas glycinea Coerper ระบาด : ช่วงที่อากาศเย็นและฝนตกชุก อาการ :เป็นจุดเหลี่ยม ๆ บนใบ จุดมีสีน้ำตาลอยู่ระหว่างเส้นใบ การป้องกัน :ใช้พันธุ์ที่ต้านทานโรค หรือ ใช้เมล็ดพันธุ์ที่ปลอดโรค (เชื้อชนิดนี้ติดมาจากเมล็ด) 12/3/2018
27
โรคถั่วเขียว โรคใบจุด (Cercospora leaf spot) สาเหตู : เกิดจากเชื้อรา Cercospora canescens การระบาด : โดยสปอร์ที่ปลิวมาในอากาศ ระบาดมากในฤดูฝน ถั่วเขียวมีอายุได้ 1 เดือน อาการ : เป็นจุดที่ใบ มีสีน้ำตาล หากรุนแรงทำให้ใบร่วง การป้องกัน : โดยใช้พันธุ์ต้านทานโรค ถั่วเขียวพันธุ์กำแพงแสน1 กำแพงแสน 2 และมอ 1 และเลือก ใช้เมล็ดจากแปลงที่ปลอดโรค หรือฉีดยาป้องกันเชื้อรา โรคราแป้ง (powdery mildew) สาเหตุ : เกิดจากเชื้อรา Erysiphe polygoni การระบาด : ในหน้าแล้ง ระหว่างเดือน พฤศจิกายน-กุมภาพันธ์ อาการ : ทำลายส่วนใดก็ได้นอกจากราก โดยจะเริ่มที่ใบก่อน โดยจะเป็นแผลสีเทาบน ใบตามจุดแผลเหล่านี้จะมีสี ขาวคล้ายแป้งในระยะต่อมา หากเกิดระยะต้นอ่อนใบจะร่วง การป้องกัน : ปัจจุบันยังไม่มีพันธุ์ที่ต้านทานโรคนี้ โรคเน่าดำ สาเหตุ : เกิดจากเชื้อรา Macrophomina phaseolina การระบาด : พบการระบาดเมื่อ 5-6 ปีมานี้ อาการ : ใบสีเหลืองซีดมากกว่าปกติ ใบจะเหี่ยว ขอบใบแห้งวงกว้าง ทำลายถั่วทุกระยะ ถั่วเขียวจะยืนต้นตาย การป้องกัน : ควรคลุกเมล็ดด้วย benomyl, thaibendazone ก่อนปลูก 12/3/2018
28
โรคเน่าคอดิน ( damping - off ) สาเหตุ: เกิดจากเชื้อรา Rhizoctonia solani หรือ Pythium sp. การระบาด : ระบาดมากเมื้ออากาศเย็น อาการ : โรคนี้เข้าทำลายรากเมื่อยังเป็นกล้าอ่อน ทำให้มีแผลสีน้ำตาลที่รากและ ลำต้นใต้ผิวดินโรคนี้สามารถ อยู่ในดินได้นาน มีอาการคล้ายกับพืชถูกทำลาย โดย หนอน แมลงวันเจาะต้นถั่ว (bean fly) โรครากเน่า(root rot) สาเหตุ : เกิดจากเชื้อราหลายชนิดได้แก่ Fusarium solani f. sp. Phaseoli, Pythium aphanidermatum, Pythium ultimum และ Rhizoctonia solani อาการ เชื้อจะเข้าทำลายที่บริเวณราก บางเชื้อจะทำให้เกิดแผลที่ต้นและทำให้ต้นเหี่ยวได้ด้วย 12/3/2018
29
โรคถั่วลิสง โรคโคนเน่า สาเหตุ : เกิดจากเชื้อรา
การระบาด : รุนแรงในระยะกล้า อายุประมาณ 7-28 วัน เมื่อฝนทิ้งช่วงประมาณ 7 วัน แล้วมีฝนตก อาการ : ต้นเหี่ยวเหลือง ยุบตัว โคนต้นเป็นแผลสีน้ำตาล พบกลุ่มสปอร์สีดำปกคลุม บริเวณแผลเมื่อถอนขึ้นมาส่วนลำต้นจะขาดจากส่วนราก การป้องกัน : 1. คลุกเมล็ดก่อนการปลูก ไอโปรโดนโอน ( คาร์เบนดาซิม คาร์เบนดาซิม ไอโปรไดโอน คาร์เบนดาซิม 2. ไม่ควรเก็บเมล็ดพันธุ์ไว้นานเกิน 6 เดือน 3. เก็บเกี่ยวถั่วลิสงตามอายุพันธุ์ โรคลำต้นเน่า หรือโคนเน่า สาเหตุ : เกิดจากเชื้อรา การระบาด : รุนแรงในช่วงฤดูฝน สภาพที่มีความชื้นสูง ฝนตกติดต่อกัน 3-5 วัน พบมากในที่ที่ปลูกพืชแน่นจนเกินไป และปลูกซ้ำที่เดิม อาการ : ยอดกิ่ง และลำต้นเหี่ยว ยุบ เป็นหย่อม ๆ พบแผลเน่าที่ส่วนสัมผัสกับผิวดิน บริเวณที่ถูกทำลายจะมีเส้นใบสีขาว การป้องกัน 1.ถอนต้นที่เป็นโรคตั้งแต่เริ่มแสดงอาการเผาทำลายนอกแปลงปลูก ไม่ให้น้ำท่วมขังในแปลงปลูก ช่วงหลังติดฝัก ถึงเก็บเกี่ยว เก็บเกี่ยวถั่วลิสงตามอายุของพันธุ์ ปลูกพืชหมุนเวียนที่ไม่ใช่พืชตระกูลถั่ว พ่นสารป้องกันกำจัดโรคพืช เมตาแลกซิล + เมนโคเซบ โพพิโคนาโซล ไอโปรไดโอน 12/3/2018
30
โรคยอดไหม้ สาเหตุ : เกิดจากเชื้อไวรัส การระบาด : รุนแรงในฤดูแล้ง อาการ : ยอดอ่อนและใบยอดเป็นแผลเซลล์ตายมีสีเหลือง ก้านใบและกิ่งโค้งงอ ถ้าเป็นโรคในระยะกล้าถั่วลิสงจะตายหรือแคระแกร็นไม่ติดฝัก การป้องกัน 1. ปลูกถั่วเหลืองในฤดูแล้ง ปลูกพันธุ์ทนทานต่อโรค คือ ขอนแก่น ควรปลูกอัตราปลูกเป็น 3-4 เมล็ด ต่อหลุม ถอนต้นที่เป็นโรคตั้งแต่เริ่มแสดงอาการเผาทำลายแปลงปลูก ทำลายวัชพืช ซึ่งเป็นพืชอาศัยโรค เช่น โทงเทง ผักเผ็ด ผักเสี้ยนผี และ กระดุมใบ เป็นต้น พ่นสารป้องกันเพลี้ยไฟพาหะนำโรค อะซีเฟต กรัม ต่อน้ำ 20 ลิตร โรคที่กล่าวมาแล้วเป็นโรคที่พบกันแพร่หลาย นอกจากโรคดังกล่าวแล้วที่คอยทำลายพืชตระกูลถั่วอีก เช่นโรคใบจุดสีน้ำตาล โรคตากบ โรคเมล็ดสีม่วง ฯลฯ 12/3/2018
31
แมลงและศัตรูถั่ว หนอนแมลงวันเจาะต้น (beanfly) การระบาด : ระบาดรุนแรงในระยะกล้า อาการ : หากไข่ฟังเป็นตัวหนอนมีสีเหลืองอ่อนชอนไชไปในลำต้นทำให้ถั่วชะงักการเจริญเติบโต หากไชถึงยอดก็ทำให้ยอดอ่อนเหี่ยว ไม่เจริญเติบโตแต่จะแตกแขนงมากขึ้น ทำให้มีข้อสั้นผลผลิตลด การป้องกันกำจัด : ฉีดด้วย : omethoate, azodrin,triazophos ผสมน้ำตามคำแนะนำ ฉีดพ่นหลังจากถั่วงอก 7-10 วัน แล้วพ่นซ้ำอีก 1-2 ครั้งใน 7 วัน หนอนม้วนใบ (Hedylepta indica , H. diamenalis และ Achips micaceana การระบาด: ในระยะออกดอกถึงเก็บเกี่ยว อากาศมีความชื้นสูง อาการ :หนอนจะชักใยดึงใบถั่วเหลืองเข้าหากันเป็นที่อาศัย แล้วกัดกินใบถั่วเหลืองจนเหลือ เพียงเส้นใบ การป้องกันกำจัด : โดยยาฉีด :monocrotophos, methyl parathion,EPN<methomyl หนอนชอนใบ (หนอนผีเสื้อกลางคืน)Aproaerema modicella การระบาด : ตั้งแต่ปลายเดือนธันวาคม ระบาดรุนแรงในระยะติดฝัก เมื่ออากาศแห้งแล้งและอุณหภูมิสูง อาการ:หนอนผีเสื้อกลางคืนจะชอนไชเข้าไปอยู่ใต้ผิวใบ กัดกินใบจนย่นห่อเสียรูปทรง ทำให้ต้นถั่วเหลืองแคระแกรนไม่เจริญเติบโต การป้องกันกำจัด : โดยยากำจัด : omethoate,monocrotophos,triazophos เพลี้ยอ่อน Aphis glycines การระบาด:ตั้งแต่ต้นอ่อนจนถึงติดฝัก ระบาดในฤดูแล้ง อาการ :ทำให้ต้นอ่อนหงิกงอไม่เจริญ ฝักอ่อนเสียหาย เมล็ดลีบ การป้องกันกำจัด :โดยฉีด triazophos , methamidophos , omethoate, monocrotophos นอกจากแมลงดังกล่าวแล้ว ยังมีมีแมลงศัตรูในโรงเก็บที่สำคัญ เช่น มอดถั่ว (Callsobruchus chinensis) และหนู ศัตรูตัวสำคัญ 12/3/2018
32
แมลง ชื่อวิทยาศาสตร์ การระบาด
ลักษณะการทำลาย แมลง ชื่อวิทยาศาสตร์ การระบาด เพลี้ยไฟ Megalurothrips usitalus ดูดน้ำเลี้ยงใบ หนอนเจาะฝัก Lampides boeticus เจาะทำลายฝักอ่อนและแก่ ไรขาว Polyphagotarsonemus latus ดูดน้ำเลี้ยงยอดและใบอ่อน หนอนเจาะสมอฝ้าย Heliothis armigera ทำลายดอกและฝักอ่อน หนอนเจาะฝักถั่ว Lampides boeticus (Etiella sp.) เจาะทำลายฝัก หนอนกระทู้ฝัก Spodoptora litura ทำลายใบ หนอนม้วนใบ Hedylepta spp. Archips micaceana ม้วนใบเข้าด้วยกัน มวนถั่วเขียว (stink bug) Piezodorus hybenri ดูดน้ำเลี้ยงใบ ยอดลำต้นดอกและฝัก แมลงอื่น ๆ เช่น เพลี้ยอ่อน หนอนม้วนใบ และหนอนเจาะฝัก กำจัดโดยใช้ มาลาไทออน-ฟอสดริน และเซฟวินตามลำดับ 12/3/2018
33
วัชพืช สาบเสือ ผักโขม หญ้านกสีชมพู หญ้าตีนกา หญ้าแพรก เทียนนา
12/3/2018
34
การป้องกันกำจัดวัชพืช
1. ไถดิน 1 ครั้ง ตากดิน 7-10 วัน พรวน 1 ครั้ง แล้วคราดเก็บซาก ราก เหง้า หัวไหล ของวัชพืชข้ามปี ออกจากแปลง 2. กำจัดวัชพืชโดยใช้แรงงานหรือเครื่องจักรกล เมื่ออายุ วัน หรือก่อนถั่วออกดอก 3. คลุมดินด้วยเศษซากวัชพืชหรือฟางข้าว ทันทีหลังปลูก 4. หากใช้วิธีการดังกล่าวข้างต้นไม่มีประสิทธิผล ควรพ่นด้วยสารกำจัดวัชพืช 12/3/2018
35
การเก็บเกี่ยว การเก็บเกี่ยว ลักษณะฝัก ระยะเวลา วิธีการเก็บเกี่ยว
ถั่วลิสง ฝักหลุดออกจากขั้วใบจะเริ่มร่วง อายุ วัน ถอน หรือใช้จอบขุด ระวังอย่าให้ฝักมีรอยแผล ใช้มือปลิดฝักออกจากลำต้นหรือเครื่องปลิด ร่อนดินออกแล้วคัดฝักเสีย ตากถั่วลิสงฝักแห้งบนตะแกรงตาข่ายแคร่ หรือผ้าใบกองถั่วหนาไม่เกิน 5 ซม. พลิกกลับถั่วกองวันละ 2-3 ครั้ง หากแดดจัดควรตากไว้ 3-5 วัน * ข้อควรระวัง หากเก็บเกี่ยวตอนฝนตก หากปลิดฝักไม่ทัน ให้ผึ่งแดดไว้โดยกองผึ่งเป็นวงให้ฝักอยู่ด้านนอกของกอง ถั่วเขียว ฝักแก่จะมีสีเทาดำหรือสีน้ำตาล ฝักจะสุกไม่พร้อมกันต้องทะยอยเก็บ อายุ 70 วัน นำฝักมาตากให้แห้ง นวดโดยนำฝักใส่กระสอบทุบด้วยไม้เมล็ด ทำความสะอาดแยกเอาเฉพาะเมล็ด ถั่วเหลือง ฝักมีสีเหลืองเปลี่ยนเป็นสีน้ำตาลใบจากเหลืองเปลี่ยนเป็นสีน้ำตาล อายุ วัน (ขึ้นอยู่กับพันธุ์) ตัดต้นให้ชิดติดดินแล้วรวบรวมเพื่อนำไปนวด 12/3/2018
36
การสูญเสียธาตุอาหารออกไปกับผลผลิต
พืช ผลผลิต ปริมาณธาตุอาหารที่สูญเสียต่อผลผลิต 1000 กก. (กก.) N P K Ca Mg S ข้าวโพด เมล็ด 15.6 2.9 3.8 0.4 0.9 1.3 ข้าว 15.0 2.8 0.3 1.0 0.8 ถั่วลิสง 32.0 3.2 4.8 1.6 1.2 ถั่วเหลือง 50.0 4.0 15.3 2.7 2.0 ปาล์มน้ำมัน ทะลายสด 0.5 3.7 0.6 12/3/2018
37
การเก็บรักษาเมล็ดพันธุ์
ควรเก็บไว้ในที่เย็นอุณหภูมิต่ำ ความชื้นต่ำ สามารถเก็บได้ 4-5 ปี ใส่ปีบแล้วปิดให้สนิท หรือใส่ถุงพลาสติกแล้วปิดไม่ให้อากาศเข้า ก็ สามารถเก็บเมล็ดพันธุ์ได้ข้ามปี 12/3/2018
38
เอกสารอ่านประกอบ รายงานการสัมมนา เรื่องงานวิจัยถั่วลิสง ครั้งที่ 1-9 กระทรวงเกษตรและ สหกรณ์ร่วมกับทบวงมหาวิทยาลัย สถิติการเกษตรของประเทศไทยปีเพาะปลูก 2544 /45 กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ อภิพรรณ พุกภักดี ถั่วเหลือง: พืชทองของไทย. สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กรมวิชาการเกษตร เกษตรดีที่เหมาะสมสำหรับถั่วเหลือง. กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. กรมวิชาการเกษตร เกษตรดีที่เหมาะสมสำหรับถั่วลิสง. กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. 12/3/2018
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.