ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
กฎหมายระหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิมนุษยชน :
กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม ค.ศ. 1966 กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง ค.ศ. 1966
2
พันธกรณี 4 ประการ ที่ปทไทยต้องปฏิบัติเมื่อเข้าเป็นภาคีสนธิสัญญา
ประกันให้เกิดสิทธิ = ตรากฎหมาย/พัฒนากฎหมายให้ สอดคล้องกับสนธิสัญญา ปฏิบัติให้เกิดสิทธิ = ผลักดันให้หน่วยงานปฏิบัติตาม สนธิสัญญา เผยแพร่ให้เกิดสิทธิ = ส่งเสริมให้ความรู้ ความเข้าใจใน สนธิสัญญาอย่างกว้างขวาง จัดทำรายงานประเทศ = จัดทำรายงานผลการปฏิบัติตาม สนธิสัญญาฉบับนั้น เพื่อเสนอแก่คณะกรรมการประจำ สนธิสัญญา (treaty bodies)
3
สิทธิเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม
สิทธิในศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ สิทธิไม่ถูกเลือกปฏิบัติ เสรีภาพจากความยากจน
4
ความยากจนเป็นผลและเหตุของการละเมิดสิทธิมนุษยชน
5
1. 1 กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม ค. ศ
1.1 กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม ค.ศ International Convenant On Economic Social and Cultural Rights- ICESCR กติกาฯ มีทั้งหมด 31 ข้อ มีสาระสำคัญ แบ่งเป็น 5 ส่วน ดังนี้ 1) สิทธิในการกำหนดเจตจำนงตนเอง (Right to Self-Determination) (ม.1) 2) พันธะหน้าที่ทางกฎหมายของรัฐ (ม.2-5) ดำเนินการอย่างเป็นขั้นตอน (To Take Steps) หลักการไม่เลือกปฏิบัติ (Non-discrimination)
6
3) เนื้อหาสิทธิ (ม.6-15) สิทธิในการทำงาน ม.6 ม.7
สิทธิการจ้างงานที่เป็นธรรม ม.8 สิทธิในการเข้าร่วม และก่อตั้งสหภาพแรงงาน ม.9 สิทธิในการประกันสังคม ม.10 สิทธิในการปกป้องคุ้มครองครอบครัวตลอดจนเด็กและเยาวชน ม.11 สิทธิในการมีมาตรฐานการครองชีพที่เพียงพอ ม.12 สิทธิในการมีสุขอนามัย ม.13-14 สิทธิในการศึกษา ม.15 สิทธิในวัฒนธรรมหรือความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์
7
4-5) ระบบการดูแลตรวจสอบให้มีการปฏิบัติตามกติกาฯ
พันธะในการทำรายงานเสนอของรัฐสมาชิก กำหนดให้รัฐสมาชิก เสนอรายงานแรกเริ่มภายใน 1 ปี นับจากกติกาฯ มีผลบังคับใช้และ จัดทำทุก 5 ปี หรือตามที่คณะกรรมาธิการว่าด้วยเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรมร้องขอ
8
กรณีศึกษาละเมิดกติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรมในประเทศไทย การเปลี่ยนแปลงสภาพการจ้างของลูกจ้างรายวันในอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์
9
กรณีนายจ้างได้เปลี่ยนแปลงสภาพการจ้างของลูกจ้างรายวันในสถาน ประกอบการ2,300 คน จากเดิมที่มีรูปแบบการทํางาน 6 วัน หยุด 1 วัน ทํางาน 8 ชั่วโมง โดยแบ่งเป็น 3 กะ ๆ ละ 8 ชั่วโมง มีวันหยุด 1 วัน คือ วันเสาร์หรือวันอาทิตย์ เป็นรูปแบบการทํางาน 4 วัน หยุด 2 วัน ทํางาน 12 ชั่วโมง (ทํางาน ปกติ 8 ชั่วโมง และทํางานล่วงเวลา 4 ชั่วโมง) โดยแบ่งเป็น 2 กะ ๆ ละ 12 ชั่วโมง CESCR ข้อ ๗ (ก) (๒) และ (ง) กําหนดรับรองสิทธิของแรงงาน ที่มีสภาพการทํางานในเรื่องค่าตอบแทนขั้นต่ำและความเป็นอยู่ที่ เหมาะสม
10
กรณีเกษตรพันธสัญญา (Contract Farming)
11
เกษตรกรอ้างว่า ถูกหลอกให้เข้าร่วมลงทุนในโครงการเลี้ยง ไก่แบบประกันราคากับบริษัทเอกชนที่ทําการเกษตรเชิง อุตสาหกรรม พบว่า คู่สัญญามีสถานะไม่เท่าเทียมกับ เจ้าของธุรกิจ ซึ่งเป็นผู้เขียนข้อกําหนดในสัญญาเพียงฝ่าย เดียวจึงมีลักษณะเอาเปรียบเกษตรกร CESCR ข้อ ๖ /๓ ที่บัญญัติให้รัฐภาคีแห่งกติกานี้รับรอง สิทธิในการทํางาน รวมทั้งสิทธิของทุกคนในโอกาสที่จะหา เลี้ยงชีพโดยงานซึ่งตนเลือกหรือรับอย่างเสรี และจะดําเนิน ขั้นตอนที่เหมาะสมในการปกป้องสิทธินี้
12
1. 2 กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง ค. ศ
1.2 กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง ค.ศ International Convenant on Civil and Political Rights (ICCPR) กติกาฯ มีทั้งหมด 53 ข้อ มีสาระสำคัญ แบ่งเป็น 4 ส่วน ดังต่อไปนี้ 1) สิทธิในการกำหนดเจตจำนงตนเอง (ม.1) 2) พันธะหน้าที่ทางกฎหมายของรัฐ (ม.2-5) - หลักการไม่เลือกปฏิบัติ/ความเสมอภาคชายและหญิง - ข้อจำกัดสิทธิในสถานการณ์ฉุกเฉินของสาธารณะ
13
3) เนื้อหาของสิทธิ (ม.6-27)
สิทธิในชีวิต ม.7 สิทธิของบุคคลที่จะไม่ถูกทรมานหรือการปฏิบัติหรือลงโทษที่โหด ร้ายไร้มนุษยธรรมหรือต่ำช้า ม.8 สิทธิการห้ามมิให้เอาคนมาเป็นทาส ค้าทาส ม.9 สิทธิในการมีอิสรภาพและความมั่นคง ม.10 สิทธิของผู้ต้องขังที่จะได้รับปฏิบัติอย่างสมศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ ม.11 ห้ามคุมขังแทนการชำระหนี้ ม.12 เสรีภาพในการเดินทาง
14
3) เนื้อหาของสิทธิ (ม.6-27)
ม.13 การคุ้มครองคนต่างด้าวจากการเนรเทศอย่างไม่เป็นธรรม ม.14 กระบวนการพิจารณาคดีอาญาและคดีแพ่งที่เป็นธรรม ม.15 ห้ามใช้กฎหมายอาญาย้อนหลัง ม.16 การยอมรับสถานะทางกฎหมายของบุคคล ม.17 สิทธิในความเป็นอยู่ส่วนตัว ม.18 เสรีภาพในด้านความคิด มโนธรรมและศาสนา ม.19 เสรีภาพในด้านความคิด การแสดงออก และการรับข้อมูลข่าวสาร ม.20 ห้ามโฆษณาชวนเชื่อเพื่อการสงครามและก่อให้เกิดความเกลียดชัง
15
3) เนื้อหาของสิทธิ (ม.6-27)
ม.21 เสรีภาพในการชุมนุมอย่างสันติ ม.22 เสรีภาพในการก่อตั้งสมาคมและสหภาพแรงงาน ม.23 การสมรสและสิทธิในครอบครัว ม.24 สิทธิของเด็ก ม.25 สิทธิในการมีส่วนร่วมทางการเมืองและได้รับบริการสาธารณะ ม.26 สิทธิในความเท่าเทียมกันของบุคคล ม.27 การคุ้มครองชนกลุ่มน้อย
16
การเข้าถึงกระบวนการยุติธรรม
การช่วยเหลือประชาชนทางกฎหมาย มาตรา 2 , 9, 14 การเข้าถึงกระบวนการยุติธรรม (Access of Justice) 2. การได้รับชดเชยค่าเสียหายโดยผู้กระทำผิด (Restitution) 3. การได้รับชดเชยความเสียหายโดยรัฐ (Compensation) 4. การได้รับความช่วยเหลือ หรือบริการอื่น (Assistance)
17
หลักการและแนวปฏิบัติแห่งสหประชาชาติว่าด้วยการเข้าถึงความช่วยเหลือด้านกฎหมายในกระบวนการยุติธรรมทางอาญา UN Principle and Guidelines on Access to Legal Aid In Criminal Justice System สมัชชาใหญ่สหประชาชาติรับรอง 20 ธันวาคม 2555
18
เนื้อหา สิทธิได้รับความช่วยเหลือด้านกฎหมาย
สิทธิได้รับการแจ้งข้อมูลเกี่ยวกับความช่วยเหลือด้านกฎหมาย สิทธิของบุคคลที่ควบคุมตัว ถูกจับกุมตกเป็นผู้ต้องสงสัยหรือ ถูกกล่าวหา หรือถูกแจ้งข้อหาที่เป็นความผิดทางอาญา ความช่วยเหลือด้านกฎหมายในระหว่างรอการพิจารณาของ ศาล ความช่วยเหลือด้านกฎหมายในกระบวนการศาล ความช่วยเหลือด้านกฎหมายหลังการพิจารณาคดี
19
ความช่วยเหลือด้านกฎหมายสำหรับผู้เสียหาย
ความช่วยเหลือด้านกฎหมายสำหรับพยาน มาตรการพิเศษสำหรับเด็ก งบประมาณสำหรับระบบความช่วยเหลือด้านกฎหมาย
20
1. การเข้าถึงกระบวนการยุติธรรม (Access of Justice)
การให้คำปรึกษาทางกฎหมาย การจัดการร้องทุกข์ การจัดหาทนายความ ค่าใช้จ่ายในการดำเนินคดี ประเทศไทยมีกฎหมายรองรับหรือไม่ ? หน่วยงานใดเป็นผู้รับผิดชอบ ?
21
2. การได้รับชดเชยค่าเสียหายโดยผู้กระทำผิด (Restitution)
การดำเนินคดีตามกฎหมาย การไกล่เกลี่ยระงับข้อพิพาท การชดเชยทางแพ่ง ประเทศไทยมีกฎหมายรองรับหรือไม่ ? หน่วยงานใดเป็นผู้รับผิดชอบ ?
22
3. การได้รับชดเชยความเสียหายโดยรัฐ (Compensation)
การได้รับชดเชยความเสียหายโดยรัฐ ให้แก่ผู้เสียหาย และจำเลย ประเทศไทยมีกฎหมายรองรับหรือไม่ ? หน่วยงานใดเป็นผู้รับผิดชอบ ?
23
4. การได้รับความช่วยเหลือหรือบริการอื่น (Assistance)
ผู้เสียหายได้รับการรักษาพยาบาลร่างกาย จิตใจ คุ้มครองพยาน ที่พักพิงชั่วคราว ฝึกอาชีพ / สวัสดิการสังคม ประเทศไทยมีกฎหมายรองรับหรือไม่ ? หน่วยงานใดเป็นผู้รับผิดชอบ ?
24
กรณีนำตัวผู้ต้องหาคดีอาญาไปชี้ที่เกิดเหตุประกอบคำรับสารภาพ
และแถลงข่าวต่อสื่อมวลชน ละเมิดสิทธิในเกียรติยศชื่อเสียง ความเป็นส่วนตัว
26
4) กลไกในการดำเนินการให้เป็นไปตามกติกาฯ
คณะกรรมการสิทธิมนุษยชน (Human Rights Committee) (ม.28-45) ตรวจสอบพิจารณารายงาน ซึ่งเสนอโดยรัฐสมาชิก ตรวจสอบหนังสือร้องเรียน จากเอกชนในกรณีถูก ละเมิดสิทธิใดๆ ในกติกาฯ จัดทำข้อสังเกต ต่อรายงานดังกล่าว
27
การตรวจสอบรายงานซึ่งเสนอโดยรัฐสมาชิก
สรุปและข้อสังเกต คณะกรรมการ สิทธิมนุษยชน ส่งรายงาน คณะมนตรีเศรษฐกิจ และสังคม รัฐสมาชิก สมัชชาทั่วไปแห่ง สหประชาชาติ รายงานประจำปี
28
วิธีปฏิบัติเกี่ยวกับคำร้องเรียนจากรัฐภาคีอื่นๆ
ตกลงกันได้ รัฐภาคี ที่กล่าวหา ยื่นภายใน 6 เดือน นับแต่วันที่รัฐถูก กล่าวหาได้รับเรื่อง ลายลักษณ์อักษร เขียนรายงานข้อเท็จจริง และผลการแก้ไขปัญหา ทำคำชี้แจง ภายใน 3 เดือน คณะกรรมการ สิทธิมนุษยชน ผลไม่พอใจ พิจารณาภายใน 12 เดือน รัฐภาคีที่ ถูกกล่าวหา ไม่สามารถ ตกลงกันได้ การแก้ไขเยียวยาภายในประเทศ ถูกนำมาใช้ถึงที่สุดแล้ว ผลเป็นที่พอใจ เขียนรายงานข้อเท็จจริง และคำชี้แจงลายลักษณ์อักษร และวาจาไปยังเลขาธิการ UN ยุติ พิจารณาโดยลับ กลไกสภาสิทธิมนุษยชนมีลักษณะไกล่เกลี่ยไม่มีลักษณะตุลาการหรือกึ่งกุลาการ
29
1.3 พิธีสารเลือกรับกติการะหว่างประเทศ สิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง ฉบับที่ 1 (Optional Protocol)
กระบวนการรับเรื่องร้องเรียนการละเมิดสิทธิมนุษยชนของปัจเจกบุคคล ต้องเป็นปัจเจกบุคคลซึ่งรัฐภาคีให้สัตยาบันต่อพิธีสารเลือกรับฉบับนี้ จึง จะมีสิทธิ การตัดสินใจของคณะกรรมการ ฯ มีสถานะเป็นความเป็นสุดท้าย (Final Views) 1.4 พิธีสารเลือกรับกติการะหว่างประเทศ สิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง ฉบับที่ 2 มีจุดมุ่งหมายในการยกเลิกโทษประหารชีวิต
30
1.5 การเข้าเป็นภาคของไทยในกติกาทั้ง 2 ฉบับ
กติกาสิทธิพลเมืองฯ เมื่อวันที่ 29 ตุลาคม 2539 มีผล บังคับเมื่อ 30 มกราคม 2540 กติกาสิทธิเศรษฐกิจฯ เมื่อวันที่ 5 กันยายน 2542 มีผล บังคับเมื่อ 5 ธันวาคม 2542
31
โดยมีการทำ “คำแถลงตีความ” ต่อท้ายภาคยานุวัติ มี 4 ประเด็นสำคัญคือ
สิทธิในการกำหนดเจตจำนงตนเอง ไม่ให้หมายถึง เหตุผลหรือ ข้ออ้างที่ประชาชนกลุ่มใดจะนำมาใช้เพื่อขอแยกดินแดนไปตั้ง เป็นรัฐอิสระใหม่ กรณีห้ามประหารชีวิตบุคคลที่มีอายุต่ำกว่า 18 ปี ขอตีความเอื้อ ประโยชน์ในทางปฏิบัติ การนำตัวผู้ถูกจับกุมหรือควบคุมทางอาญาไปสู่ศาลโดยพลัน ตีความว่า โดยไม่ชักช้าหรือภายในระยะเวลาที่สมเหตุผล ห้ามการโฆษณาชวนเชื่อเพื่อทำสงคราม ตีความว่า เป็นสงคราม ซึ่งขัดกับกฎหมายระหว่างประเทศ
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.