งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ และที่แก้ไขเพิ่มเติม

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ และที่แก้ไขเพิ่มเติม"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ. 2535 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
เปรียบเทียบ พระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ. 2535 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2549 ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง แนวทางปฏิบัติในการจัดหาพัสดุ ด้วยวิธีตลาดอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Market : e – market) และ ด้วยวิธีประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Bidding : e – bidding)

2 ขอบเขต การใช้บังคับ พ.ร.บ. ระเบียบ 35 : ระเบียบ 49 :
ให้ใช้บังคับแก่หน่วยงานของรัฐทุกแห่ง ได้แก่ ราชการส่วนกลาง ราชการส่วนภูมิภาค ราชการส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจตามกฎหมายว่าด้วยวิธีการงบประมาณ องค์การมหาชน องค์กรอิสระ องค์กรตามรัฐธรรมนูญ หน่วยธุรการของศาล มหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ หน่วยงานสังกัดรัฐสภาหรือในกำกับของรัฐสภา หน่วยงานอิสระของรัฐ และหน่วยงานอื่นที่กำหนดในกฎกระทรวง (ม.6 วรรคหนึ่ง) พ.ร.บ. ระเบียบ 35 : ส่วนราชการ การพัสดุ เงินงบประมาณ เงินกู้ เงินช่วยเหลือ ระเบียบ 49 : ส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ องค์การมหาชน หน่วยงานอื่นของรัฐในสังกัด/กำกับของฝ่ายบริหาร การพัสดุ (เฉพาะการซื้อ การจ้าง การเช่าสังหาริมทรัพย์) ส่วนราชการ : เงินงบประมาณ เงินกู้ เงินช่วยเหลือ รัฐวิสาหกิจ / หน่วยงานอื่นของรัฐ : เงินที่หน่วยงานใช้ในการจัดซื้อจัดจ้าง ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรีฯ e- market / e-bidding : ส่วนราชการนำร่อง การพัสดุ (เฉพาะการซื้อ การจ้าง การเช่าสังหาริมทรัพย์) เงินงบประมาณ เงินกู้ เงินช่วยเหลือ 2

3 หลักการจัดซื้อจัดจ้าง
3 หลักการจัดซื้อจัดจ้าง พ.ร.บ. ระเบียบฯ พ.ศ (ข้อ 15 ทวิ) ระเบียบฯ พ.ศ. 2549 (ระเบียบฯ 49 ข้อ 5 ประกอบระเบียบฯ 35 ข้อ 15 ทวิ) - คุ้มค่า - โปร่งใส (ต้องกระทำโดยเปิดเผย เปิดโอกาสให้มีการแข่งขันอย่างเป็นธรรม) - ประสิทธิภาพประสิทธิผล (มีการวางแผนการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุล่วงหน้า) ตรวจสอบได้ (มาตรา 8) เปิดเผย โปร่งใส และเปิดโอกาสให้มีการแข่งขันกันอย่างเป็นธรรม ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรีฯ e- market / e-bidding (แนวทางฯ ข้อ 30) - คุ้มค่า โปร่งใส - ประสิทธิภาพ ประสิทธิผล ตรวจสอบได้

4 การจัดทำแผนการจัดซื้อจัดจ้าง
4 การจัดทำแผนการจัดซื้อจัดจ้าง พ.ร.บ. ระเบียบฯ พ.ศ (ข้อ 13) ระเบียบฯ พ.ศ. 2549 (ระเบียบฯ 49 ข้อ 5 ประกอบระเบียบฯ 35 ข้อ 13) ให้หน่วยงานของรัฐ จัดทำแผนการจัดซื้อ จัดจ้างประจำปี และประกาศเผยแพร่ในระบบเครือข่ายสารสนเทศของกรมบัญชีกลางและ ของหน่วยงานของรัฐ และปิดประกาศโดยเปิดเผย เว้นแต่เข้าข่ายข้อยกเว้น (มาตรา 11) ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรีฯ e- market / e-bidding (แนวทางฯ ข้อ 4 ประกอบระเบียบฯ 35 ข้อ 13) เมื่อทราบยอดเงิน ให้ส่วนราชการ รีบดำเนินการให้เป็นไปตามแผน... (ไม่ได้กำหนดรูปแบบของการจัดทำแผนไว้)

5 การมีส่วนร่วมของภาคประชาชน
5 การมีส่วนร่วมของภาคประชาชน ระเบียบฯ พ.ศ. 2535 พ.ร.บ. กรรมการตามข้อ 35 ข้อ 80 ข้อ101 ข้อ105 ข้อ125 : กรณีมีความจำเป็นหรือเพื่อประโยชน์ราชการ จะแต่งตั้งบุคคลอื่นร่วมเป็นกรรมการก็ได้ การมีส่วนร่วม ของภาคประชาชน และผู้ประกอบการ ในการป้องกันการทุจริต (หมวด 2 : มาตรา 16-18) ระเบียบฯ พ.ศ. 2549 องค์ประกอบของคณะกรรมการประกวดราคาตามโครงการ ให้มีกรรมการซึ่งเป็นบุคคลที่มิได้เป็นข้าราชการซึ่งมีตำแหน่งหรือเงินเดือนประจำอย่างน้อยหนึ่งคน (ข้อ 8 (3)) ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรีฯ e- market / e-bidding (แนวทางฯ ข้อ 13)

6 การเปิดเผยข้อมูลการจัดซื้อจัดจ้างทางอิเล็กทรอนิกส์
6 การเปิดเผยข้อมูลการจัดซื้อจัดจ้างทางอิเล็กทรอนิกส์ ระเบียบฯ พ.ศ : ไม่มีข้อกำหนด มติ ครม. วันที่ 7 เม.ย. 53 : ให้หน่วยงานต่างๆ ลงประกาศจัดซื้อจัดจ้าง (วิธีสอบราคา ประกวดราคา e-Auction) เผยแพร่ในเว็บไซต์ของกรมบัญชีกลาง และของหน่วยงาน พ.ร.บ. เปิดเผยข้อมูลการจัดซื้อจัดจ้าง ในระบบเครือข่ายสารสนเทศของกรมบัญชีกลางในทุกขั้นตอน ตั้งแต่ขั้นตอนการจัดทำแผนการจัดซื้อจัดจ้าง การประกาศเชิญชวน ราคากลาง เกณฑ์การพิจารณาข้อเสนอ การประกาศผลผู้ชนะ การยกเลิกการจัดซื้อจัดจ้าง การทำสัญญาและการบริหารสัญญา (มาตรา 11, 62 – 63) ระเบียบฯ พ.ศ : การประกาศร่าง TOR (ข้อ 8(1)) การประกาศเชิญชวน (ข้อ 8(3)) e- market - ประกาศเชิญชวน (16) ประกาศผลผู้ชนะ (24) e-bidding ประกาศ ร่างประกาศและเอกสาร (27-28 และ ว.258) ประกาศเชิญชวน (26,29 และ ว.258) ประกาศผลผู้ชนะ (39) ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรีฯ e- market / e-bidding

7 คณะกรรมการ พ.ร.บ. ระเบียบฯ พ.ศ. 2535 (ข้อ 11)
7 คณะกรรมการ พ.ร.บ. ระเบียบฯ พ.ศ (ข้อ 11) คณะกรรมการนโยบายการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ (มาตรา 20) คณะกรรมการวินิจฉัยปัญหาการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ (มาตรา 27) คณะกรรมการราคากลางและขึ้นทะเบียนผู้ประกอบการ (มาตรา 32) คณะกรรมการความร่วมมือป้องกัน การทุจริต (มาตรา 37) คณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์และ ข้อร้องเรียน (มาตรา 41) คณะกรรมการว่าด้วยการพัสดุ (กวพ.) ระเบียบฯ พ.ศ (ข้อ 6) คณะกรรมการว่าด้วยการพัสดุ ด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ (กวพ.อ.) ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรีฯ e- market / e-bidding (ข้อ 7)

8 ราคากลาง (ราคาอ้างอิง) ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรีฯ
8 ราคากลาง (ราคาอ้างอิง) พ.ร.บ. ระเบียบฯ พ.ศ. 2535 “ราคากลาง” (1) ราคาที่ได้มาจากการคำนวณ ตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการ ราคากลางกำหนด (2) ราคาจากฐานข้อมูลราคาอ้างอิงที่กรมบัญชีกลางจัดทำ (3) ราคามาตรฐานสำนักงบประมาณ หรือหน่วยงานกลางอื่น (4) สืบราคาจากท้องตลาด (5) ราคาที่เคยซื้อหรือจ้างครั้งหลังสุดภายในระยะเวลาสองปีงบประมาณ (6) ราคาอื่นใดตามหลักเกณฑ์ วิธีการ หรือแนวทางปฏิบัติของหน่วยงานของรัฐนั้น ๆ (มาตรา 4) ระเบียบฯ พ.ศ. 2549 ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรีฯ e- market / e-bidding - ราคามาตรฐาน - ราคากลางของทางราชการ ราคาที่เคยซื้อหรือจ้างครั้งหลังสุดภายในระยะเวลา 2 ปีงบประมาณ (ระเบียบข้อ 27(3)) พ.ร.บ. ประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ. 2542 คู่มือแนวทางการเปิดเผยราคากลางของ ป.ป.ช. มติ ครม. 6 ส.ค. 56

9 การกำหนดราคากลางงานก่อสร้าง
9 การกำหนดราคากลางงานก่อสร้าง พ.ร.บ. ระเบียบฯ พ.ศ. 2535 ระเบียบฯ พ.ศ. 2549 e- market / e-bidding คำนวณตามหลักเกณฑ์และวิธีการตามที่คณะกรรมการราคากลางกำหนด และประกาศในระบบเครือข่ายสารสนเทศของกรมบัญชีกลางและ ในราชกิจจานุเบกษา (มาตรา 34) ระเบียบไม่มีข้อกำหนด มติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 13 เม.ย. 2555 กำหนดให้หน่วยงานภาครัฐใช้หลักเกณฑ์ การคำนวณราคากลางงานก่อสร้างของ ทางราชการที่ทบทวนและปรับปรุงใหม่ ระบบคำนวณราคากลางงานก่อสร้างของทางราชการด้วยอิเล็กทรอนิกส์

10 การขึ้นทะเบียนผู้ประกอบการ
10 การขึ้นทะเบียนผู้ประกอบการ ระเบียบฯ พ.ศ. 2535 ระเบียบฯ พ.ศ. 2549 e- market / e-bidding พ.ร.บ. กำหนดให้กรมบัญชีกลาง เป็นผู้ประกาศและขึ้นทะเบียนภายตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่คณะกรรมการราคากลางกำหนด (หมวด 5 : มาตรา 51-53) การกำหนดคุณสมบัติเบื้องต้น ในการซื้อหรือการจ้าง แต่ละส่วนราชการ กำหนดหลักเกณฑ์ การคัดเลือกผู้มีคุณสมบัติเบื้องต้น แตกต่างกัน (ข้อ 30-33)

11 การมีส่วนได้เสียกับผู้ยื่นข้อเสนอหรือคู่สัญญา
11 การมีส่วนได้เสียกับผู้ยื่นข้อเสนอหรือคู่สัญญา พ.ร.บ. ระเบียบฯ พ.ศ. 2535 ระเบียบฯ พ.ศ. 2549 e- market / e-bidding ในการจัดซื้อจัดจ้าง ผู้ที่มีหน้าที่ดำเนินการ (เช่น เจ้าหน้าที่พัสดุ คณะกรรมการต่างๆ ผู้มีอำนาจอนุมัติ) ต้องไม่เป็นผู้มีส่วนได้เสีย กับผู้ยื่นข้อเสนอ หรือคู่สัญญาในงานนั้น (มาตรา 13) ระเบียบ ไม่มีข้อกำหนด

12 วิธีการจัดซื้อจัดจ้าง
12 วิธีการจัดซื้อจัดจ้าง พ.ร.บ. ระเบียบฯ พ.ศ. 2535 1. วิธีประกาศเชิญชวนทั่วไป 2. วิธีคัดเลือก 3. วิธีเฉพาะเจาะจง (มาตรา 55) 1. วิธีตกลงราคา 2. วิธีสอบราคา 3. วิธีประกวดราคา 4. วิธีพิเศษ 5. วิธีกรณีพิเศษ (ข้อ 18) ระเบียบฯ พ.ศ. 2549 แนวทางการปฏิบัติในการจัดหาพัสดุด้วยวิธี e-market /e-bidding

13 เกณฑ์การพิจารณาคัดเลือกข้อเสนอการจัดซื้อจัดจ้าง
13 เกณฑ์การพิจารณาคัดเลือกข้อเสนอการจัดซื้อจัดจ้าง พ.ร.บ. ระเบียบฯ พ.ศ. 2535 การพิจารณาคัดเลือกข้อเสนอให้พิจารณาประโยชน์และวัตถุประสงค์ของการใช้งานเป็นสำคัญ โดยคำนึงถึงเกณฑ์ราคา และพิจารณาเกณฑ์อื่นประกอบด้วย (มาตรา 65) ระเบียบฯ พ.ศ. 2549 (e-Auction) ใช้เกณฑ์ราคาต่ำสุด (Price) แนวทางการปฏิบัติ ในการจัดหาพัสดุ ด้วยวิธี e- market ใช้เกณฑ์การประเมินค่าประสิทธิภาพ ต่อราคา (Price Performance) แนวทางการปฏิบัติ ในการจัดหาพัสดุ ด้วยวิธี e-bidding

14 วิธีการจ้างที่ปรึกษา
12 วิธีการจ้างที่ปรึกษา พ.ร.บ. ระเบียบฯ พ.ศ. 2535 1. วิธีประกาศเชิญชวนทั่วไป 2. วิธีคัดเลือก 3. วิธีเฉพาะเจาะจง (มาตรา 69) 1. วิธีตกลงราคา 2. วิธีคัดเลือก (ข้อ 77)

15 เกณฑ์การพิจารณาคัดเลือกข้อเสนอการจ้างที่ปรึกษา
13 เกณฑ์การพิจารณาคัดเลือกข้อเสนอการจ้างที่ปรึกษา พ.ร.บ. ระเบียบฯ พ.ศ. 2535 การจ้างที่ปรึกษาโดยวิธีประกาศเชิญชวนทั่วไป และวิธีคัดเลือก การจ้างเพื่อดำเนินงานประจำ/ มีมาตรฐานเชิงคุณภาพตามหลักวิชาชีพอยู่แล้ว/ไม่ซับซ้อน ให้เลือกรายที่ผ่านเกณฑ์คุณภาพที่เสนอราคาต่ำสุด การจ้างที่เป็นไปตามมาตรฐานของหน่วยงานของรัฐ/ซับซ้อน ให้เลือกรายที่ผ่านเกณฑ์คุณภาพ และได้คะแนนรวมด้านคุณภาพและด้านราคามากที่สุด การจ้างที่ซับซ้อนมาก ให้คัดเลือกรายที่ได้คะแนนด้านคุณภาพมากที่สุด (มาตรา 75 ประกอบ 76) การจ้างที่ปรึกษาโดยวิธีคัดเลือก การจ้างที่เป็นงานยุ่งยากซับซ้อน ให้เลือกรายที่มีข้อเสนอด้านเทคนิคดีที่สุด (ข้อ 88) การจ้างที่เป็นงานไม่ยุ่งยากซับซ้อน และมีที่ปรึกษาที่สามารถทำงานนั้นเป็นการทั่วไป ให้เลือกจากรายที่มีข้อเสนอด้านเทคนิคดีสุด 3 ลำดับแรก ที่เสนอราคาต่ำสุด (ข้อ 89)

16 วิธีการจ้างออกแบบหรือควบคุมงานก่อสร้าง
12 วิธีการจ้างออกแบบหรือควบคุมงานก่อสร้าง พ.ร.บ. ระเบียบฯ พ.ศ. 2535 1. วิธีประกาศเชิญชวนทั่วไป 2. วิธีคัดเลือก 3. วิธีเฉพาะเจาะจง 4. วิธีประกวดแบบ (มาตรา 69) 1. วิธีตกลงราคา 2. วิธีคัดเลือก 3. วิธีคัดเลือกแบบจำกัดข้อกำหนด 4. วิธีพิเศษ (1) วิธีเลือกจ้าง (2) วิธีประกวดแบบ (ข้อ 77)

17 เกณฑ์การพิจารณาคัดเลือกผู้ให้บริการงานจ้างออกแบบหรือควบคุมงานก่อสร่ง
13 เกณฑ์การพิจารณาคัดเลือกผู้ให้บริการงานจ้างออกแบบหรือควบคุมงานก่อสร่ง พ.ร.บ. ให้คัดเลือกผู้ให้บริการที่มีแนวคิดของงานจ้างที่ได้คะแนนด้านคุณภาพมากที่สุด (มาตรา 90) ระเบียบฯ พ.ศ. 2535 วิธีคัดเลือก - พิจารณาข้อกำหนดของผู้ให้บริการตามที่กำหนดไว้ในส่วนที่ 4 คุณวุฒิและประวัติการทำงาน จำนวนสถาปนิกและหรือวิศวกรที่ประจำและไม่ประจำ หลักฐานแสดงผลงานที่ได้เคยปฏิบัติมาแล้วของผู้ให้บริการ และควรเสนอจ้างผู้ที่มีข้อกำหนดเหมาะสมที่สุด (ข้อ 103) วิธีคัดเลือกแบบจำกัดข้อกำหนด - พิจารณาคัดเลือกผู้ให้บริการที่เป็นนิติบุคคล ตามข้อกำหนดของผู้ให้บริการตามที่กำหนดไว้ในส่วนที่ 4 โดยคำนึงถึงฐานะทางนิติบุคคล คุณวุฒิและประวัติการทำงาน จำนวนสถาปนิกและหรือวิศวกรที่ประจำและไม่ประจำ หลักฐานแสดงผลงานที่ได้เคยปฏิบัติมาแล้ว ตลอดจนแนวความคิดในการออกแบบ - คัดเลือกผู้ให้บริการที่มีข้อกำหนดเหมาะสมไว้เป็นจำนวนไม่น้อยกว่า 2 ราย และแจ้งวิธีดำเนินการเสนองานตามความประสงค์ของผู้ว่าจ้างแก่ผู้เสนองาน และอาจพิจารณากำหนดให้ผู้ให้บริการดังกล่าวยื่นเสนอแบบร่างของงานก็ได้ อนึ่งการพิจารณาคัดเลือกข้อเสนองานให้คำนึงถึงแผนปฏิบัติงาน ความเหมาะสมทางด้านประโยชน์ใช้สอย ตลอดจนสายงานและความเหมาะสมทางด้านสถาปัตยกรรม (ข้อ 106)

18 การประเมินผลการปฏิบัติงานของผู้ประกอบการ
14 การประเมินผลการปฏิบัติงานของผู้ประกอบการ พ.ร.บ. ระเบียบฯ พ.ศ. 2535 เพื่อใช้ประกอบการพิจารณาคุณสมบัติของผู้ที่จะเข้ายื่นข้อเสนอหรือเข้าทำสัญญากับหน่วยงานภาครัฐ ผู้ที่ไม่ผ่านเกณฑ์ที่กำหนดจะถูกพักการเสนอราคาหรือทำสัญญา กับหน่วยงานภาครัฐไว้ชั่วคราวจนกว่าจะมีผลการประเมินผ่านเกณฑ์ที่กำหนด (มาตรา ) ไม่มี ระเบียบฯ พ.ศ. 2549 ไม่มี e- market / e-bidding Grading

19 การพัฒนาบุคลากรด้านการพัสดุภาครัฐ
15 การพัฒนาบุคลากรด้านการพัสดุภาครัฐ พ.ร.บ. ระเบียบฯ พ.ศ. 2535 มีการฝึกอบรมเพื่อส่งเสริมและพัฒนาเจ้าหน้าที่ให้มีความรู้ และความเชี่ยวชาญเกี่ยวกับ การจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐตามหลักวิชาชีพและตามพระราชบัญญัตินี้ เจ้าหน้าที่ซึ่งผ่านการฝึกอบรมและได้รับแต่งตั้งให้ปฏิบัติงาน จะได้รับเงินเพิ่มหรือเงินอื่นทำนองเดียวกัน (มาตรา 49) ไม่มี ระเบียบฯ พ.ศ. 2549 ไม่มี e- market / e-bidding ไม่มี

20 การอุทธรณ์ ระเบียบฯ พ.ศ. 2535 พ.ร.บ. ระเบียบฯ พ.ศ. 2549
16 การอุทธรณ์ พ.ร.บ. ระเบียบฯ พ.ศ. 2535 ไม่มีข้อกำหนดโดยตรง หมวด 14 การอุทธรณ์ กำหนดหลักเกณฑ์การอุทธรณ์และพิจารณาพิจารณาอุทธรณ์ไว้เป็นการเฉพาะ (มาตรา ) ระเบียบฯ พ.ศ. 2549 การอุทธรณ์ผลการคัดเลือกเบื้องต้น (ข้อ 9 (3)) การอุทธรณ์ผลการพิจารณา (ข้อ 10 (5)) e- market / e-bidding ว 423 ลว. 29 ต.ค. 2558 ให้ปฏิบัติตาม พ.ร.บ.วิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539

21 บทกำหนดโทษ พ.ร.บ. ระเบียบฯ พ.ศ. 2535 หมวดที่ 1 ส่วนที่ 3 บทกำหนดโทษ
17 บทกำหนดโทษ พ.ร.บ. ระเบียบฯ พ.ศ. 2535 บทกำหนดโทษ เจ้าหน้าที่หรือผู้มีอำนาจ ปฏิบัติหรือละเว้นการปฏิบัติหน้าที่โดยมิชอบหรือ โดยทุจริตต้องระวางโทษจำคุก ตั้งแต่หนึ่งปีถึงสิบปี และปรับตั้งแต่สี่หมื่นบาท ถึงสี่แสนบาท ผู้ใช้หรือผู้สนับสนุนรับโทษตามที่กำหนดไว้ (มาตรา ) หมวดที่ 1 ส่วนที่ 3 บทกำหนดโทษ ผู้ดำเนินการรับโทษทางวินัย และไม่เป็นเหตุหลุดพ้นจากความรับผิดทางแพ่งและอาญา (ข้อ 10) ระเบียบฯ พ.ศ. 2549 e- market / e-bidding เช่นเดียวกับระเบียบฯ พ.ศ. 2535


ดาวน์โหลด ppt ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ และที่แก้ไขเพิ่มเติม

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google