งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การสนับสนุนการทำวิจัย & เผยแพร่งานวิจัยระดับชาติและนานาชาติ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การสนับสนุนการทำวิจัย & เผยแพร่งานวิจัยระดับชาติและนานาชาติ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การสนับสนุนการทำวิจัย & เผยแพร่งานวิจัยระดับชาติและนานาชาติ
งานส่งเสริมการวิจัย คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี

2 เป้าหมายของคณะศิลปศาสตร์ด้านการวิจัย พ.ศ. 2560-2564
เป็นที่ยอมรับในระดับชาติ ด้านศาสตร์แบบกว้าง (Board Field) เช่น Applied Linguistics ด้านนวัตกรรมการเรียนรู้โดยใช้วิจัยเป็นฐาน เช่น Outcome-based Education and GenEd ด้านผู้นำการขับเคลื่อนทางสังคม (Social Activist) เป็นยอมรับในระดับนานาชาติในด้านศาสตร์เฉพาะทาง (Specific Field) เช่น Text Linguistics ส่งเสริมให้บุคลากรจำนวน 4 ท่านเป็นผู้เขียนเดี่ยวในวารสารที่มีมาตรฐานคุณภาพวิชาการระดับ Q1 มีผลงานวิจัยที่ตอบสนองความต้องการของประเทศ มีระบบการบริหารงานวิจัยเพื่อสร้างผลงานวิจัยที่มีคุณภาพ

3 กลไกลสนับสนุนงานวิจัยและการเผยแพร่งานวิจัยของคณะศิลปศาสตร์

4 คิดจะทำวิจัย ทุนอบรมด้านวิจัยสำหรับบุคลากรคณะศิลปศาสตร์ ทำวิจัย ทุนวิจัยสำหรับบุคลากรคณะศิลปศาสตร์ 5, ,000 บาท ทุนวิจัยย่อย (งบประมาณไม่เกิน 5,000 บาท) ทุนเพื่อการสมัครเป็นสมาชิกขององค์กรทางวิชาการสำหรับบุคลากร เขียนงานวิจัย ทุนเข้าร่วมประชุมวิชาการสำหรับบุคลากรคณะศิลปศาสตร์ เผยแพร่งานวิจัย ทุนสำหรับการตรวจภาษาและไวยากรณ์ในบทความ (เฉพาะได้รับการตอบรับให้ตีพิมพ์แล้วเท่านั้น)

5 กลไกลสนับงานวิจัยและการเผยแพร่งานวิจัยของคณะศิลปศาสตร์และมหาวิทยาลัย

6 ทุนอบรมด้านวิจัยสำหรับบุคลากรคณะศิลปศาสตร์
คิดจะทำวิจัย ทุนอบรมด้านวิจัยสำหรับบุคลากรคณะศิลปศาสตร์ ทุนวิจัยสำหรับบุคลากรคณะศิลปศาสตร์ 5, ,000 บาท ทำวิจัย ทุนวิจัยย่อย (งบประมาณไม่เกิน 5,000 บาท) ทุนวิจัยสำหรับอาจารย์ใหม่ (ไม่เกิน 150,000 บาท/ปี) ทุนเพื่อการสมัครเป็นสมาชิกขององค์กรทางวิชาการสำหรับบุคลากร เขียนงานวิจัย ทุนตรวจภาษาอังกฤษ (ครั้งละไม่เกิน 5,000 บาท 2 ครั้ง/ปีงบประมาณ) ทุนตีพิมพ์วารสารระดับนานาชาติ (ไม่เกิน 40,000 บาท/ปีงบประมาณ) ทุนเข้าร่วมประชุมวิชาการในต่างประเทศ เผยแพร่งานวิจัย ทุนเข้าร่วมประชุมวิชาการสำหรับบุคลากรคณะศิลปศาสตร์ ทุนสำหรับการตรวจภาษาและไวยากรณ์ในบทความ (เฉพาะได้รับการตอบรับให้ตีพิมพ์แล้วเท่านั้น)

7 แหล่งทุนวิจัยภายนอก ทุน วช. ทุน สกว. ทุนวิจัยสนับสนุนโดยหน่วยงานของรัฐ
ทุนวิจัยสนับสนุนโดยหน่วยงานของเอกชน

8 การขอทุนเข้าร่วมประชุมวิชาการต่างประเทศ
ทวีปยุโรป ทวีปอเมริกาเหนือและใต้ ทวีปออสเตรเลียหรือประเทศนิวซีแลนด์ 50,000 คน/ปี ทวีปเอเชีย 30,000 คน/ปี ขอรับการสนับสนุนจาก สวนพ. ไม่พอ ไม่ได้รับการสนับสนุน ไม่สามารถขอรับการสนับสนุนได้แล้ว ขอค่าลงทะเบียนที่ฝ่ายวิจัย ขอค่าเดินทาง + ค่าที่พักที่หน่วยงานต้นสังกัด ขอค่าลงทะเบียนที่ฝ่ายวิจัย

9 การเข้าร่วมประชุมวิชาการในประเทศ
ในประเทศ (ต่างจังหวัด) และในกรุงเทพ ฯ (ขึ้นอยู่กับดุลยพินิจของหัวหน้าหน่วยงานต้นสังกัด) ต่างจังหวัด ในกรุงเทพ ฯ ขอค่าเดินทาง + ค่าที่พักหน่วยงานต้นสังกัด และค่าลงทะเบียนที่ฝ่ายวิจัย ขอค่าลงทะเบียนที่หน่วยงานต้นสังกัด หรือ ฝ่ายวิจัย

10 ประเภทงานวิจัยที่ฝ่ายวิจัยสนับสนุน
งานวิจัยที่เน้นเนื้อหาวิชาการ (Publishable academic research) งานวิจัยพัฒนา (Developmental research) งานวิจัยด้านสังคม (Socially active research) งานวิจัยที่ได้ผลผลิต (Product research) )

11 การเขียนทุนวิจัยสำหรับบุคลากรคณะศิลปศาสตร์ งบประมาณ 5,001-500,000 บาท
ชื่อโครงการวิจัย ชื่อนักวิจัย / ผู้ร่วมโครงการวิจัย ความสำคัญและที่มาของโครงการวิจัย (Justification for research) ขั้นตอนการดำเนินการวิจัย ผลที่คาดว่าจะได้รับ งบประมาณ

12 ทุนวิจัยย่อย (งบไม่เกิน 5,000 บาท)
ตัวอย่างการเขียนขอทุนวิจัยย่อย (ไม่เกิน 5,000 บาท)

13 ตัวอย่างการเขียนขอทุนวิจัยย่อย (ไม่เกิน 5,000 บาท)

14 ทุนวิจัยสนับสนุนโดยคณะศิลปศาสตร์
ทุนวิจัยสำหรับบุคลากรคณะศิลปศาสตร์ 5, ,000 บาท ทุนวิจัยย่อย (งบประมาณไม่เกิน 5,000 บาท) ทุนวิจัยสำหรับนักศึกษาปริญญาโท-เอก ไม่เกิน 20,000 บาท ทุนเข้าร่วมประชุมวิชาการสำหรับบุคลากร ทุนเข้าร่วมประชุมวิชาการสำหรับนักศึกษา ทุนอบรมด้านวิจัยสำหรับบุคลากรคณะศิลปศาสตร์ ทุนเพื่อการสมัครเป็นสมาชิกขององค์กรทางวิชาการสำหรับบุคลากร ทุนสำหรับการตรวจภาษาและไวยากรณ์ในบทความ

15 การเผยแพร่งานวิจัย การประชุมวิชาการ (Conference)
ระดับชาติ ระดับนานาชาติ การตีพิมพ์ในวารสาร (Journal Publication)

16 การพิจารณาคุณภาพวารสารเพื่อตีพิมพ์

17 ฐานข้อมูลที่เป็นที่ยอมรับในระดับนานาชาติ
ฐานข้อมูลระดับนานาชาติ Academic Search Premier ( (select ebscohost and then academic search premier) Agricola ( BIOSIS ( CINAHL ( EiCOMPENDEX ( ERIC ( H.W.Wilson ( (select ebscohost and then H.W.Wilson) Infotrieve ( Ingenta Connect ( INSPEC ( MathSciNet ( MEDLINE/Pubmed ( PsycINFO ( Pubmed ( ScienceDirect ( SciFinder ( Scopus ( Social Science Research Network ( Web of Knowledge (

18 ฐานข้อมูลนานาชาติที่สำคัญ
Web of Science (WOS) : เป็นฐานข้อมูลในกลุ่ม ISI Web of Knowledge ของบริษัท Thomson Reuters เป็นฐานข้อมูลทางการค้าที่ต้อง บอกรับเป็นสมาชิก Journal Citation Reports (JCR) : เป็นฐานข้อมูลในกลุ่ม ISI Web of Knowledge ของบริษัท Thomson Reuters ต้องบอกรับเป็นสมาชิก Scopus : ของบริษัท Elsevier เป็นฐานข้อมูลทางการค้าที่ต้องบอกรับเป็นสมาชิก ครอบคลุมวารสาร 18,000 ชื่อ ตั้งแต่ปี 1960-ปัจจุบัน Scimago Journal & Country Rank : ของ Scimago Lab เป็นฐานข้อมูลให้บริการฟรีที่ Source:

19 Source: http://stang.sc.mahidol.ac.th/text/pdf/pubmetrics.pdf

20 Source: http://stang.sc.mahidol.ac.th/text/pdf/pubmetrics.pdf

21 Source: http://stang.sc.mahidol.ac.th/text/pdf/pubmetrics.pdf

22 Source: http://stang.sc.mahidol.ac.th/text/pdf/pubmetrics.pdf

23

24

25

26

27

28 ฐานข้อมูลที่เป็นที่ยอมรับในระดับชาติ
ฐานข้อมูลระดับชาติ ได้แก่ ศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย (Thai Journal Citation Index -- TCI) เฉพาะวารสารที่มีชื่ออยู่ในกลุ่มที่ ๑ และกลุ่มที่ ๒ ( ตรวจสอบค่า IF ได้ที่ (

29 คุณภาพวารสารตามเกณฑ์ของ TCI

30 ค่าตอบแทนสำหรับการเผยแพร่งานวิจัย
แบบที่ 1 พิจารณาการจ่ายค่าตอบแทนจากผลงานวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์ที่สอดคล้องกับตัวบ่งชี้ในการวัดผลการดำเนินงานหลัก (KPI) ด้านการเผยแพร่ผลงานวิจัยของคณะฯ 4 ข้อ ประกอบด้วยตัวบ่งชี้ 3 ข้อเกี่ยวเนื่องกับบทความที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารระดับนานาชาติ และตัวชี้วัดอีกหนึ่งข้อเป็นบทความที่ได้รับการตีพิมพ์ใน proceedings ของการประชุมนานาชาติและในวารสารระดับชาติ การจ่ายค่าตอบแทนแบบที่ 1 คิดตามน้ำหนักที่ได้และสัดส่วนในการทำงานของบุคลากรในผลงานแต่ละเรื่อง โดยใช้เงิน 60% ของจำนวนเงิน FTERO 40% ที่คณะศิลปศาสตร์ได้รับ

31 ค่าตอบแทนสำหรับเผยแพร่งานวิจัย
แบบที่ 2 พิจารณาจากการพัฒนาผลงานวิจัยเพื่อตีพิมพ์ของบุคลากร โดยบุคลากรคณะศิลปศาสตร์ทุกคนจะได้รับเกรดตามผลงาน ดังนี้ 0 ไม่เคยได้รับการตีพิมพ์ 1 บทความได้รับการตีพิมพ์ใน proceedings ของการประชุมระดับชาติหรือในสิ่งพิมพ์ระดับชาติที่ไม่มี คณะกรรมการพิจารณาบทความ 2 บทความได้รับการตีพิมพ์ในสิ่งพิมพ์ระดับนานาชาติที่ไม่มีคณะกรรมการพิจารณาบทความ

32 ค่าตอบแทนสำหรับการเผยแพร่งานวิจัย
3 บทความได้รับการตีพิมพ์ใน proceedings ของการประชุมระดับนานาชาติหรือในวารสารระดับชาติที่ มีคณะกรรมการพิจารณาบทความ 4 บทความได้รับการตีพิมพ์ในสิ่งพิมพ์ระดับนานาชาติที่มีคณะกรรมการพิจารณาบทความ 5 บทความได้รับการตีพิมพ์ในวารสารระดับนานาชาติที่มีคณะกรรมการพิจารณาบทความที่ได้รับการอ้างอิง การจ่ายค่าตอบแทนแบบที่ 2 คิดตามจำนวนบุคลากรที่มีการพัฒนาผลงานเพื่อตีพิมพ์จากปีก่อนๆ โดยใช้เงิน 20% ของจำนวนเงิน FTERO 40% ที่คณะศิลปศาสตร์ได้รับ

33 ค่าตอบแทนสำหรับการเผยแพร่งานวิจัย
แบบที่ 3 การจ่ายค่าตอบแทนแบบที่ 3 คิดตามจำนวนผลงานวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์ทั้งหมดของบุคลากรในแต่ละปี ตามสัดส่วนการทำงานของบุคลากรในแต่ละผลงาน โดยใช้เงิน 20% ของจำนวนเงิน FTERO 40% ที่คณะ ศิลปศาสตร์ได้รับ

34 แหล่งค้นหา Conference

35 แหล่งค้นหา Conference
Insight SoLA


ดาวน์โหลด ppt การสนับสนุนการทำวิจัย & เผยแพร่งานวิจัยระดับชาติและนานาชาติ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google