งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การดำเนินงาน TBCM นางสาวภัทรา ทองสุข นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การดำเนินงาน TBCM นางสาวภัทรา ทองสุข นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การดำเนินงาน TBCM นางสาวภัทรา ทองสุข นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ
กลุ่มเฝ้าระวังและพัฒนาข้อมูลวัณโรค สำนักวัณโรค

2 ระบบรายงานปัจจุบัน ระบบ TBCM (offline) ข้อมูลเป็น individual case
พัฒนาโดย รพ.สันกำแพง สคร 10 Microsoft Access มีปัญหาในการรวมข้อมูล ไม่ยืดหยุ่น ไม่สามารถทำเป็น version online ได้ มีผู้ใช้ประมาณ >50% Features ตอบโจทย์สำนักฯ ได้เกือบหมด การคีย์ข้อมูลดูเหมือน จะมีปัญหาไม่มากนัก Export ข้อมูล ให้ Smart TB /DataHUB Export ข้อมูล เป็นตารางสรุปให้นำไปคีย์ใน web-online สรุปของสำนักฯ ระบบ SMART TB / DataHUB (Offline/Online)ข้อมูลเป็น individual พัฒนาโดย NHSO ใช้คีย์ เพื่อ reimburse ค่าใช้จ่าย มีข้อมูลลักษณะ เดียวกับ ระบบ TBCM แต่น้อยกว่า ไม่แน่ใจว่า สำนักฯ เคย ขอข้อมูลทั้งหมด มาทำการ วิเคราะห์ เปรียบเทียบ อย่างไร ระบบ Web-based (ข้อมูล Aggregate) สำนักฯ ใช้ตัวเลขนี้อ้างอิง ในการสรุป cases ของประเทศ คีย์ จาก รพ ชุมชุน ระดับ อำเภอ ทั้งหมด แต่เป็นลักษณะ aggregate มีการแสดงผล สรุป ได้ ในรูปแบบตาราง และกราฟ และสามารถแยกย่อย ตาม ราย รพ ราย อำเภอ รายจังหวัด รายเขต ระบบ TUC มีการคีย์ข้อมูล คนไข้ และ ข้อมูล Lab เข้ามาทาง server กลาง ของสำนักฯวัณโรค ระบบ 21 แฟ้ม 43 แฟ้ม โดยคีย์จากโรงพยาบาลผ่าน HosXP, HosOS, JHCIS มีความพยายามแยกคนไข้ TB ออกจากระบบดังกล่าว เท่าที่ทราบ สนย สำนักวัณโรค และกรมควบคุมโรค กำลังร่วมมือกันเขียนคู่มือให้จังหวัดนำไปใช้ใน Health data centerของจังหวัดตัวเอง

3 เหตุผล เพื่อมุ่งสู่การกำจัดโรควัณโรค จำเป็นต้องมี ระบบ surveillance ที่มีข้อมูลครบทุกด้าน ครอบคลุมทุกพื้นที่ และมีความรวดเร็วในการรายงานผล ความครอบคลุมในการส่งรายงานวัณโรคยอดรวมผู้ป่วย ทั้งประเทศ อาจยังไม่ชัดเจน และยังไม่สามารถ รวบรวมข้อมูลจากหน่วยบริการนอกสังกัดกระทรวงสาธารณสุข มีความซ้ำซ้อน ในการรายงานโรค เพราะมีหลายระบบ ในระบบติดตามและประเมินผลการดำเนินงาน มีการประเมินจากองค์การอนามัยโลก ว่าควร สร้างระบบเฝ้าระวังโรคให้ชัดเจน เป็นรายบุคคล และสามารถตรวจสอบได้ (Unified Reporting System)

4 ความสามารถที่ระบบควรมี
รวมศูนย์ ใช้ควบคุมโรคได้อย่างมีประสิทธิภาพ บริหารงานคลินิคได้ ระบบรายงานวัณโรค ใช้งานง่าย มีเสถียรภาพ ข้อมูลเป็นรายบุคคล รายงานที่เหมาะสม ยืดหยุ่นได้ทุกระดับ เชื่อมต่อออนไลน์ ผู้ใช้งาน ผู้บริหาร ตัวชี้วัดระดับ ต่างๆ แชร์ข้อมูลได้ ไม่ทำงานซ้ำซ้อน NHSO, สำนักวัณโรค, สสจ, สสอ, โรงพยาบาล,ประเทศ, WHO

5 TBCM ONLINE ระบบบริหารจัดการผู้ป่วย TB ออนไลน์ สามารถส่งออกข้อมูล ให้ NHSO สามารถรายงานผลให้สำนักวัณโรคได้ทันที โดยไม่ต้องทำการส่งรายงานอีกต่อไป สามารถ ส่งต่อผู้ป่วยวัณโรค ข้ามโรงพยาบาลได้อัตโนมัติ สามารถ ส่ง lab ตรวจให้ สคร รายงานผล ได้อัตโนมัติ มีระบบรายงานผล แบบ Business intelligence ที่สามารถดูรายงานได้หลายมิติ

6 Workflow TBCM Online Point of Laboratory Point of TB-Clinic
Point of Health Care Data Entry for Identify - Result AFB - Result/Request Culture - Result/Request DST - Result/Request Molecular Data Entry for Management - Register Patient - Manage/Follow up - Drug issues Management - Analyst/Report - Upload Data set to NHSO/BTB - Data Entry for DOT - Data Entry for Visit House

7 56 จังหวัด (633 รพ) + จ. กทม (68 ศบส + 30 สังกัดอื่น)
Timeline การขยายงานโปรแกรม TBCM online ทั่วประเทศ 56 จังหวัด (633 รพ) + จ. กทม (68 ศบส + 30 สังกัดอื่น) สคร จังหวัด จำนวน รพ สังกัด สธ วันที่อบรม วันที่บันทึกข้อมูล 1 แม่ฮ่องสอน ลำปาง น่าน แพร่ เชียงราย พะเยา ลำพูน 7 13 15 8 18 2-3 พ.ย. 60 14-15 พ.ย. 60 16-17 พ.ย. 60 21-22 พ.ย. 60 23-24 พ.ย. 60 28-29 พ.ย. 60 30 พ.ย. – 1 ธ.ค 60 2 พิษณุโลก สุโขทัย ตาก อุตรดิตถ์ 9 17-18 ต.ค. 60 19-20 ต.ค. 60 7-8 พ.ย. 60 9-10 พ.ย. 60 3 พิจิตร กำแพงเพชร อุทัยธานี ชัยนาท 12 11-12 ต.ค. 60 16-17 ต.ค. 60 30-31 ต.ค. 60

8 56 จังหวัด (633 รพ) + จ. กทม (68 ศบส + 30 สังกัดอื่น)
Timeline การขยายงานโปรแกรม TBCM online ทั่วประเทศ 56 จังหวัด (633 รพ) + จ. กทม (68 ศบส + 30 สังกัดอื่น) สคร จังหวัด จำนวน รพ สังกัด สธ วันที่อบรม วันที่บันทึกข้อมูล 4 สระบุรี นนทบุรี ปทุมธานี นครนายก สิงห์บุรี อ่างทอง พระนครศรีอยุธยา 12 7 8 6 16 30-31 ต.ค. 60 5 ครบ 8 จังหวัด 67 23-24 พ.ค. 60 1 มิ.ย. 60 ระยอง จันทบุรี ชลบุรี ตราด ฉะเชิงเทรา ปราจีนบุรี สระแก้ว 9 13 11 7-8 พ.ย. 60 9-10 พ.ย. 60 14-15 พ.ย. 60

9 56 จังหวัด (633 รพ) + จ. กทม (68 ศบส + 30 สังกัดอื่น)
Timeline การขยายงานโปรแกรม TBCM online ทั่วประเทศ 56 จังหวัด (633 รพ) + จ. กทม (68 ศบส + 30 สังกัดอื่น) สคร จังหวัด จำนวน รพ สังกัด สธ วันที่อบรม วันที่บันทึกข้อมูล 7 ร้อยเอ็ด มหาสารคาม ขอนแก่น 20 11 22 10-11 ต.ค. 60 16-17 ต.ค. 60 18-19 ต.ค. 60 16 ต.ค. 60 8 อุดรธานี นครพนม เลย บึงกาฬ หนองบัวลำภู สกลนคร 21 12 13 6 18  24-25 ต.ค. 60 30-31 ต.ค. 60 2-3 พ.ย. 60 6-7 พ.ย. 60  9-10 พ.ย. 60  20-21 พ.ย. 60 9 นครราชสีมา สุรินทร์ บุรีรัมย์ 33 23 9 ต.ค. 60 17 ต.ค. 60 18 ต.ค. 60 10 ยโสธร มุกดาหาร อำนาจเจริญ 15 พ.ย. 60 16 พ.ย. 60 17 พ.ย. 60

10 56 จังหวัด (633 รพ) + จ. กทม (68 ศบส + 30 สังกัดอื่น)
Timeline การขยายงานโปรแกรม TBCM online ทั่วประเทศ 56 จังหวัด (633 รพ) + จ. กทม (68 ศบส + 30 สังกัดอื่น) สคร จังหวัด จำนวน รพ สังกัด สธ วันที่อบรม วันที่บันทึกข้อมูล 11 ชุมพร ระนอง พังงา กระบี่ ภูเก็ต สุราษฎร์ธานี 5 9 3 20 17-18 ต.ค. 60 19-20 ต.ค. 60 7-8 พ.ย. 60 9-10 พ.ย. 60  14-15 พ.ย. 60 16-17 พ.ย. 60 12 พัทลุง ตรัง สตูล นราธิวาส ยะลา สงขลา 10 7 13 8 17  7-8 พ.ย. 60  13-14 พ.ย. 60 20-21 พ.ย. 60 28-29 พ.ย. 60 สปคม รุ่น 1 ศูนย์บริการสาธารณสุข กทม รุ่น 2 รพ สังกัด เอกชน/กรมการแพทย์/กลาโหม/กรมราชทัณฑ์/ทบวงมหาวิทยาลัย 68 30  2-3 พ.ย. 60

11 BTB.TIDSS

12 ทุกสิ้นเดือน (ธันวาคม 2560 - พฤษภาคม 2561)
Timeline การดำเนินงานเชื่อมข้อมูล TBCM กับ 43 แฟ้ม (HDC) ลำดับที่ กิจกรรม หน่วยงาน ระยะเวลา 1 ประชุมศึกษาแนวทางในการเชื่อมข้อมูล TBCM และ 43 แฟ้ม (HDC) 1.สำนักวัณโรค 2.สำนักระบาดวิทยา 3.สำนักเอดส์ วัณโรค และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ 4.TUC 5.ศูนย์สารสนเทศ กรมควบคุมโรค 3 กุมภาพันธ์ 2560 2 ประชุมเตรียมแนวทางในการดำเนินงานเขื่อมข้อมูล TBCM และ 43 แฟ้ม (HDC) 1.ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข 2.สำนักวัณโรค 3.สำนักงานบริหารโครงการกองทุนโลก 4.BIOPHICS 15 พฤศจิกายน 2560 3 ประชุมชี้แจงการดำเนินงาน และประโยชน์ในการใช้งาน TBCM ในระดับพื้นที่ (VDO conference) 1.สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข 2.ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข 3.สำนักวัณโรค 4.สำนักงานบริหารโครงการกองทุนโลก 5.ศูนย์สารสนเทศ กรมควบคุมโรค 6.BIOPHICS 7.สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด 24 พฤศจิกายน 2560 4 ประชุมการดำเนินงานเชื่อมข้อมูล TBCM และ 43 แฟ้ม (HDC) จำนวน 6 ครั้ง 1.สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข 2.ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข 3.สำนักวัณโรค 4.สำนักงานบริหารโครงการกองทุนโลก 5.ศูนย์สารสนเทศ กรมควบคุมโรค 6.BIOPHICS ทุกสิ้นเดือน (ธันวาคม พฤษภาคม 2561)


ดาวน์โหลด ppt การดำเนินงาน TBCM นางสาวภัทรา ทองสุข นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google