ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับธุรกิจ
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับธุรกิจ
2
ธุรกิจ หมายถึง กิจกรรมใดๆก็ตามทำให้เกิดมีสินค้าหรือบริการขึ้น
ธุรกิจ หมายถึง กิจกรรมใดๆก็ตามทำให้เกิดมีสินค้าหรือบริการขึ้น แล้วมีการแลกเปลี่ยน ซื้อ-ขายกันและมีวัตถุประสงค์ ก็จะได้ประโยชน์จากการกระทำกิจกรรมนั้น - มีการผลิตสินค้าหรือบริการ - มีการซื้อขาย แลกเปลี่ยน จำหน่ายและกระจายสินค้า - มีประโยชน์จากกิจกรรม (กำไร)
3
วัตถุประสงค์ของธุรกิจ
1. ธุรกิจต้องการความอยู่รอด (Survival) 2. ธุรกิจต้องเจริญเติบโต (Growth) 3. ธุรกิจต้องการมีกำไร (Profit) 4. ธุรกิจรับผิดชอบต่อสังคม (Social Responsibilities)
4
ประโยชน์ของธุรกิจ 1. ธุรกิจผลิตสินค้าและบริการมีมากมาย 2. ธุรกิจช่วยกระจายสินค้าจากผู้ผลิตไปสู่ผู้บริโภค 3. ธุรกิจช่วยให้คนมีงานทำ 4. ธุรกิจช่วยเสียภาษีให้รัฐบาล 5. ธุรกิจช่วยพัฒนาบ้านเมือง 6. ธุรกิจช่วยพัฒนาเศรษฐกิจของชาติ
5
ประเภทของธุรกิจ 1. ธุรกิจการเกษตร (Agriculture)
ประเภทของธุรกิจ 1. ธุรกิจการเกษตร (Agriculture) 2. ธุรกิจเหมืองแร่ (Mineral) 3. ธุรกิจอุตสาหกรรม (Manufacturing) 4. ธุรกิจก่อสร้าง (Construction) 5. ธุรกิจการพาณิชย์ (Commercial) 6. ธุรกิจการเงิน (Finance) 7. ธุรกิจการให้บริการ (Service) 8. ธุรกิจอื่นๆ
6
กิจกรรมทางธุรกิจ 1. กิจกรรมด้านการผลิต 2. กิจกรรมด้านการตลาด
กิจกรรมทางธุรกิจ 1. กิจกรรมด้านการผลิต 2. กิจกรรมด้านการตลาด 3. กิจกรรมด้านการเงิน 4. กิจกรรมเสริม คุณสมบัติของนักธุรกิจ 1. ความสนใจและความชอบในธุรกิจ (Business Attitude) 2. ความตั้งใจที่จะลงทุนและเสี่ยงภัย (Willingness to take risk) 3. มีความรู้และความชำนาญ (Knowledge and skill)
7
4. เป็นนักวิเคราะห์และตัดสินใจได้ดี
(Analytical mind and decision making skill) 5. เป็นนักบริหาร (Executive) 6. มีภาวะผู้นำ (Leadership) 7. มีความยืดหยุ่น (Flexibility) 8. มีความทันสมัยอยู่เสมอ (Updatedness) 9. พัฒนาตนเองเสมอ (Dynamics)
8
รูปแบบแสดงความรับผิดชอบของธุรกิจต่อสังคม
สังคมภายใน สังคมภายนอก - เจ้าของ - สิ่งแวดล้อม - ผู้ร่วมทุน - ลูกค้า - ผู้ถือหุ้น - เจ้าหนี้ - ผู้บริหาร - คู่แข่งขัน - พนักงานและลูกจ้าง - รัฐบาล - สังคม
9
บทที่ 2 รูปแบบธุรกิจ
10
ในการประกอบธุรกิจ ผู้ประกอบธุระกิจ(entrepreneur)
ซึ่งเป็นผู้ก่อตั้งธุรกิจนั้นอาจพิจารณาเลือกรูปแบบของการดำเนินธุรกิจ ได้หลายรูปแบบโดยต้องสามารถตอบคำถามต่อไปนี้ จะเลือกรูปแบบธุรกิจรูปแบบใดที่เหมาะสมที่สุด แต่ละรูปแบบธุรกิจ มีลักษณะสำคัญอย่างไร มีข้อดี-ข้อเสียอย่างไร
11
รูปแบบของธุรกิจ รูปแบบของธุรกิจแบ่งเป็น 5 ประเภทใหญ่คือ
รูปแบบของธุรกิจ รูปแบบของธุรกิจแบ่งเป็น 5 ประเภทใหญ่คือ 1. กิจการเจ้าของคนเดียว 2. ห้างหุ้นส่วน (partnership) 3. บริษัทจำกัด (corporation) 4. สหกรณ์ (cooperative) 5. รัฐวิสาหกิจ (state enterprise)
12
ลักษณะและจุดมุ่งหมายของการจัดการ
บทที่ 3 ลักษณะและจุดมุ่งหมายของการจัดการ
13
การจัดการ (Management)
เป็นกระบวนการออกแบบและรักษาซึ่งสภาวะแวดล้อม ซึ่งบุคคลทำงานร่วมกัน ในกลุ่ม ให้บรรลุเป้าหมายที่กำหนดไว้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ หรือ หมายถึง กระบวนการเพื่อให้บรรลุจุดมุ่งหมายของ องค์การโดยอาศัย การวางแผน การจัดองค์การ การชักนำ และการควบคุม มนุษย์ สิ่งแวดล้อมทางกายภาพ การเงิน ทรัพยากรข้อมูลขององค์การได้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล
14
การบริหารเปรียบเทียบกับการจัดการ
การจัดการ เน้น การดำเนินงานให้เป็นไปตามนโยบายและแผน นิยมใช้ในเชิงปฏิบัติเกี่ยวกับการบริหารธุรกิจ(businessmanagement) การบริหาร เน้น การใช้ในการบริหารระดับสูง การกำหนดนโยบายที่สำคัญและแผน นิยมใช้ในการบริหารรัฐกิจ (public administration)
15
Management Resource Man (คน) Money (เงิน) Material (วัสดุอุปกรณ์) Machine (เครื่องจักร) 4 M Method (วิธีการ) Market (ตลาด) M
16
นิยามของคำว่าองค์การ
Max Weber : องค์การ คือ หน่วยสังคมหรือหน่วยงาน ซึ่งมีกลุ่มบุคคลหนึ่ง ร่วมกันดำเนินกิจกรรมต่าง ๆ ให้บรรลุเป้าหมาย Danial Katz & Robert Kahn : องค์การ คือ ระบบเปิดที่มีการเคลื่อนไหวเปลี่ยนแปลงอย่างมีกระบวนการต่อเนื่อง ระบบนี้ประกอบด้วยปัจจัยนำเข้า สรุป องค์การ คือ การจัดการของกลุ่มบุคคลโดยเจตนา ให้ประสบผลสำเร็จตามจดมุ่งหมาย
17
องค์การประกอบด้วย 3 ส่วนหลักคือ
องค์การประกอบด้วย 3 ส่วนหลักคือ 1. Distinet Purpose จุดมุ่งหมายชัดเจน 2. People มีตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป 3. Deliberate Structure โครงสร้างชัดเจน
18
การวางแผน : Planning การวางแผน คือ การตัดสินใจล่วงหน้าว่าจะทำอะไร ทำไม เมื่อไหร่ และใครเป็นคนทำ โดยกำหนดวัตถุประสงค์ นโยบาย โครงการและ วิธีการปฏิบัติ เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์
19
Organizing : การจัดองค์การ
หมายถึง กระบวนการที่ก่อให้เกิดองค์การขึ้นมาหรือกล่าวอีกความหมายหนึ่งคือ การสร้างระบบความสัมพันธ์ระหว่างอำนาจบังคับบัญชากับความรับผิดชอบของงาน การจัดองค์การจะต้องประกอบด้วยอย่างน้อย 4 อย่างคือ - การแบ่งงานออกเป็นส่วนๆ - การมอบหมายให้แต่ละคนทำงานที่แบ่ง - การจัดสรรทรัพยากรให้แต่ละหน่วยงาน - และการประสานงานและหน้าที่ต่างๆเข้าด้วยกัน
20
วัตถุประสงค์ของการจัดองค์การ
- เพื่อแบ่งงานกันทำ - เพื่อมอบหมายงานและความรับผิดชอบ - เพื่อช่วยในการติดต่อประสานงาน - เพื่อกำหนดความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล กลุ่ม หน่วยงาน และแผนกงาน - เพื่อกำหนดการใช้ทรัพยากร - เพื่อกำหนดสายการบังคับบัญชา - เพื่อแบ่งกลุ่มงาน
21
การจัดโครงสร้างองค์การจะยึดหลักการแบ่งงาน
และแบ่งคนทำงานซึ่งแบ่งออกได้ 4 ประเภทคือ - Functional Structure โครงสร้างตามหน้าที่ - Divisional structure โครงสร้างองค์การตามหน่วยงาน - Hybrid structure โครงสร้างองค์การแบบผสม - Matrix structure โครงสร้างองค์การแบบแมททริกซ์
22
LEADERSHIP : ภาวะผู้นำ
เป็น ลักษณะของการมีอำนาจหรืออิทธิพลต่อบุคคลอื่น ซึ่งมีผลให้ บุคคลเหล่านั้นปฏิบัติตามโดยเต็มใจ และช่วยให้การดำเนินงานต่าง ๆ ประสบความสำเร็จตามที่ได้วางไว้ ดังนั้นความแตกต่างของผู้บริหารกับผู้นำ คือ ผู้นำ มุ่งให้งานสำเร็จโดยคำนึงถึงความพอใจของผู้ปฏิบัติงาน ผู้บริหาร มุ่งให้งานสำเร็จโดยไม่คำนึงถึงความพอใจของผู้ปฏิบัติงาน
23
บทที่ 4 หลักการบริหารงานบุคคล
24
มีอยู่ 12 หลักใหญ่ๆ ได้แก่
หลักความเสมอภาค 2. หลักความสามารถ 3. หลักความมั่นคง 4. หลักความเป็นกลางทางการเมือง 5. หลักการพัฒนา 6. หลักความเหมาะสม 7. หลักความยุติธรรม 8. หลักสวัสดิการ 9. หลักเสริมสร้าง 10. หลักมนุษย์สัมพันธ์ 11. หลักประสิทธิภาพ 12. หลักการศึกษาวิจัย
25
การวิเคราะห์ งาน ( Job Analysis )
- กระบวนการกำหนดลักษณะขอบเขตของงานต่าง ๆ โดยมีการสำรวจและการศึกษาเพื่อให้ได้มาซึ่งข้อมูลต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับงานที่ผู้ทำงานต้องมี วิธีวิเคราะห์งาน ได้แก่ 1. การสังเกตงาน 2. การสัมภาษณ์ 3. การใช้แบบสอบถาม 4. การบันทึกข้อมูลโดยผู้ปฏิบัติงานจดทะเบียนเอง จากการปฏิบัติงานประจำวัน 5. การประชุมของผู้เชี่ยวชาญงานเฉพาะด้าน 6. การเลือกรายการหรือหัวข้อที่ปรากฏอยู่ในการปฏิบัติงาน
26
ประโยชน์ของการวิเคราะห์งาน
1. การจัดองค์การและการวางแผนทางด้านทรัพยากร 2. การจัดหาการคัดเลือกและการบรรจุ 3. การก่อให้เกิดโอกาสในการจ้างงานที่เท่าเทียมกัน 4. การกำหนดอัตราค่าตอบแทนนี่เหมาะสม 5. การออกแบบงาน 6. การฝึกอบรมบุคคลากรและพัฒนาผู้บริหาร 7. การประเมินผลการปฏิบัติงาน 8. สุขภาพและความปลอดภัยในการทำงาน
27
การวางแผนบุคลากร ( Personnel planing )
- กระบวนการคาดการณ์ความต้องการบุคลากรขององค์การ ล่วงหน้าว่าต้องการบุคคลประเภทใด ระดับใด จำนวนเท่าใดและต้องการเมื่อใดและกำหนดวิธีการ ที่จะได้มาซึ่งบุคลากรที่ต้องการว่า จะได้มาจากไหน อย่างไร ตลอดจนการกำหนดนโยบาย และระเบียบปฏิบัติต่าง ๆ เพื่อที่จะใช้บุคลากรที่มีอยู่ให้ได้ประโยชน์สูงสุด
28
ความสำคัญของการวางแผนบุคลากร
1. ทำให้ได้ใช้คนที่มีประสิทธิภาพ 2. ก่อให้เกิดความพอใจในการทำงาน 3. ทำให้เกิดความเท่าเทียมกันในด้านการจ้างงาน
29
กระบวนการวางแผนบุคลากร
ขั้นที่ 1 พิจารณาวัตถุประสงค์ขององค์การที่ผู้บริหารระดับสูงสุดกำหนดขึ้น ขั้นที่ 2 เปรียบเทียบความต้องการกำลังคนและปริมาณกำลังคนในตลาดแรงงาน ขั้นที่ 3 พิจารณาแผนงานประจำปีขององค์การ ขั้นที่ 4 เปรียบเทียบความต้องการกำลังคนในปีต่อไปกับจำนวนพนักงาน ที่องค์การมีอยู่ในปัจจุบัน ขั้นที่ 5 ดำเนินการทางด้านการจ้างงาน
30
การสรรหาและการคัดเลือก ( Recruitment and Selection )
การสรรหา - กระบวนการค้นหาบุคคลและชักจูงให้ เขาสมัครเข้ามาทำงานในหน่วยงานซึ่งเป็นกระบวนการที่ จะต้องเริ่มขึ้นหลังจากหน่วยงานทราบแน่ชัดแล้วว่ามี ความต้องการบุคลากรทำงานในตำแหน่งอะไร
31
กระบวนการสรรหา ( recruitment )
เป็นกระบวนการในทางบวก ( positive ) เป็นกระบวนการที่ยึดหลักว่าจะต้อง ทำให้มีคนมาสมัครงานเป็นจำนวนมากเกินกว่าตำแหน่งที่มีอยู่ เพื่อจะได้มีการคัดเลือก ( selection ) ความจำเป็นของการสรรหาบุคลากร 1. ขยายกิจการหรือตั้งหน่วยงานใหม่ 2. มีการลาออก โอน ย้าย เกษียณอายุ หรืออื่น ๆ ทำให้ หน่วยงานนั้นขาดบุคลากรที่จะปฏิบัติหน้าที่ในบางตำแหน่ง 3. มีการเลื่อนตำแหน่งบุคลากรไปจากตำแหน่งเดิม
32
หลักการสรรหาบุคลากร แหล่งสรรหาบุคลากร
- หาคนดีมีความรู้ความสามารถและคุณลักษณะที่เหมาะสมกับตำแหน่งมากทีสุด โดยวิธีสะดวก รวดเร็ว ประหยัดได้มาตรฐานตามหลักการของการสรรหา โดยให้ความเสมอภาคในโอกาสและให้เป็นไปตามระบบคุณธรรม แหล่งสรรหาบุคลากร 1. การสรรหาบุคลากรจากแหล่งภายในองค์การ 2. การสรรหาบุคลากรจากภายนอกองค์การ
33
หลักการคัดเลือกบุคลากร
การคัดเลือก – การพิจารณาบุคลากรที่ได้ทำการสรรหามา ทั้งหมดและทำการคัดเลือกเอาบุคลากร ที่เหมาะสมที่สุดไว้ หลักการคัดเลือกบุคลากร - เลือกสรรคนที่ดีที่สุดเท่าที่จะมีในบรรดาผู้ที่มีความประสงค์ จะมาดำรงตำแหน่ง - put the rigth man to the right job คำนึงถึงความสะดวก รวดเร็ว ประหยัด มีมาตรฐานและ ใช้ระบบคุณธรรม
34
วัตถุประสงค์ของการประเมินผลการปฏิบัติงาน
1. เพื่อประเมินผลการทำงานของบุคลากร ( employee performance ) ช่วยให้ทราบถึงจุดเด่นและจุดอ่อนในการปฏิบัติงานของบุคลากร 2. เพื่อพัฒนาบุคลากรโดยตรง ( employee development ) 3. เพื่อเป็นแนวทางในการปรับปรุงหน้าที่ของบุคลากร ( gide to job change ) 4. เพื่อปรับปรุงค่าจ้างและเงินเดือน ( wage and salary treatment ) 5. เพื่อปรับปรุงโครงการต่าง ๆ เกี่ยวกับการบริหารงานบุคคล ( validate persnnel programs )
35
การประเมินผลงานอย่างเป็นทางการ
6. เพื่อทำความเข้าใจกับฝ่ายนิเทศงาน ( supervisory understandng) การประเมินผลงานอย่างเป็นทางการ เป็นครั้งคราวช่วยให้ฝ่ายนิเทศงานทราบพฤติกรรมของบุคลากรทุกระยะ 7. เป็นเครื่องจูงใจ ให้บุคลากรปฏิบัติหน้าที่ด้วยความเต็มใจ ตั้งใจเต็มความสามารถ 8. เพื่อใช้ในการให้คำแนะนำหรือแนวคิด ( counselling ) แก่ผู้ปฏิบัติงานว่าควรปฏิบัติอย่างไรเพื่อให้ผลงาน ดีขึ้นกว่าเดิมและมีโอกาสก้าวหน้า
36
วิธีการประเมินผลการปฏิบัติงาน
วิธีการบันทึกปริมาณงาน ( production records ) 2. วิธีจัดเรียงลำดับ ( rank order method ) 3. วิธีจับคู่เปรียบเทียบ ( paired comparison method ) 4. การให้คะแนนโดยตรง ( graping scale )
37
บทที่ 5 การผลิต
38
การผลิต คือ การเอาวัตถุดิบที่ มี อยู่ แล้วมาเปลี่ยนรูป เปลี่ยนที่
การผลิต คือ การเอาวัตถุดิบที่ มี อยู่ แล้วมาเปลี่ยนรูป เปลี่ยนที่ หรือ เปลี่ยนเวลา เช่น - มันสำปะหลังเป็นแป้งมัน - ย้ายแร่จากเหมืองไปโรงงาน - หมักข้าวเพื่อให้ได้เหล้า
39
- การแปรสภาพของทรัพยากรต่าง ๆ ให้เป็นสินค้าหรือบริการ
การผลิต ( production) และการปฏิบัติการ(operations ) - การแปรสภาพของทรัพยากรต่าง ๆ ให้เป็นสินค้าหรือบริการ หรือกระบวนการเปลี่ยนสภาพ ( process of transforming ) ปัจจัยนำเข้า ( input )ให้กลายเป็นผลผลิตที่เป็นประโยชน์ ( useful output ) ด้วยวิธีการเพิ่มมูลค่า( adding value ) ให้ปรากฎขึ้น
40
ระบบการผลิต ( production system )
- การเปลี่ยนสภาพ( transform ) ทรัพยากรที่เป็นปัจจัยนำเข้า( input resource ) ให้กลายเป็นผลผลิตที่มีมูลค่าสูงกว่า( higher - valued output ) การจัดการการปฏิบัติการ ( operations management ) - กิจกรรมทั้งหมดที่ผู้บริหารเกี่ยวข้องอยู่กับการผลิตสินค้าและบริการต่าง ๆ
41
หน่วยงานหรือบริษัทใหญ่ ๆ ที่ทำการผลิตอยู่ 2 ประเภท คือ
Processing Company เป็นบริษัทที่เปลี่ยน ทรัพยากรธรรมชาติให้เป็นวัตถุดิบ 2. Manufacturing Company เป็นบริษัทที่เปลี่ยน วัตถุดิบและส่วนประกอบให้เป็นสินค้าสำหรับผู้บริโภคและการอุตสาหกรรม
42
ผลผลิตอย่างหนึ่งจะใช้สำหรับทำผลผลิตชนิดอื่น ๆ
ผลผลิต ( Product ) ผลผลิตอย่างหนึ่งจะใช้สำหรับทำผลผลิตชนิดอื่น ๆ สินค้าสำเร็จรูปของบริษัทแห่งหนึ่งอาจเป็น สิ่งประกอบของการผลิตสินค้าสำเร็จรูปของอีกบริษัทหนึ่ง บริษัทต่าง ๆ จึงต้องพึ่งพากันในแง่ของผลผลิต ความพอใจของลูกค้าต่อสินค้า จะอยู่บนพื้นฐาน 4 ประการ Time utility คือ การผลิตสินค้าได้ทันเวลาที่ลูกค้าต้องการ Place utility คือ การที่สินค้าไปวางขายในจุดที่ลูกค้าต้องการ Ownership utility คือ สินค้าที่ผู้บริโภคมีความพอใจ Form utility คือ การที่นำวัตถุดิบมาผลิตเป็นสินค้าสำเร็จรูป
43
การเตรียมการผลิตให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุดควรหาคำตอบจากคำถามต่อไปนี้
1. ผลิตสินค้าหรือบริการอะไร ( what ) 2. วัตถุประสงค์ของการผลิตสินค้าหรือบริการผลิตขึ้นทำไม ( why ) 3. สถานที่ที่จะผลิตสินค้าหรือบริการ ( where ) 4. เวลาที่เหมาะสมในการผลิตสินค้าหรือบริการเมื่อไหร่ ( when ) 5. ต้องการบุคลากรแบบใด ( who ) 6. ใช้วิธีใดในการผลิต ( how )
44
ความสัมพันธ์ระหว่างการผลิตและการจัดการปฏิบัติการกับ
หน้าที่งานอื่น ๆ นวัตกรรม ( innovation ) การจัดซื้อ ( purchasing ) การตลาด ( marketing ) การเงินและการบัญชี ( finance and accounting ) การจัดการทรัพยากรมนุษย์ ( human resource management )
45
การออกแบบระบบการผลิตและการจัดการการปฏิบัติการ
1. การออกแบบผลิตภัณฑ์ ( product design ) 2. การพยากรณ์อุปสงค์และการวางแผนกำลังการผลิต ( forecasting demand and capacity planning ) 3. การออกแบบอุปกรณ์เครื่องจักร ( equipment design ) 4. การออกแบบงาน ( work design ) 5. การตัดสินใจด้านทำเลที่ตั้ง ( location decision ) 6. การวางผังสิ่งอำนวยความสะดวก ( facilities layout )
46
ปัจจัยการผลิต ( factors of production )
1. ทรัพยากรธรรมชาติ ( natural resources ) -ที่ดิน , ป่าไม้ - แร่ธาติต่าง ๆ , น้ำและอากาศ 2. แรงงาน - แรงงานที่มีความชำนาญ ( skilled labor ) - แรงงานทั่วไป ( unskilled labor ) 3. เงินทุน ( capital ) 4. ผู้ประกอบการ ( entrepreneurs )
47
องค์ประกอบที่สำคัญของการบริหารการผลิต
โรงงาน การเลือกทำเลที่ตั้งของโรงงานต้องคำนึงถึง 1.1 Proximity factors ( ความใกล้ ) 1.2 People factors ( ปัจจัยเกี่ยวกับคน ) 1.3 Physical factors ( ปัจจัยทางกายภาพและพลังงาน ) 2. การควบคุมวัสดุในการผลิต 2.1 การจัดซื้อ 2.1.1 การจัดซื้อมาเพื่อขายต่อ ( purchasing for resale ) 2.1.2 การซื้อมาเพื่อใช้หรือเปลี่ยนสภาพ ( purchasing for consumption )
48
2.2 การกำหนดปริมาณสินค้าคงเหลือ
2.2.1 การกำหนดระดับสินค้าคงเหลือไว้เพื่อความปลอดภัย ( safety stock ) Safety stock คือ ระดับสินค้าคงเหลือที่มีไว้เพื่อความปลอดภัย เพื่อป้องกันไม่ให้สินค้าหรือวัสดุขาดมือ ซึ่งอาจจะเกิดจากความไม่แน่นอน ในการคาดคะเนเกี่ยวกับอัตราการขายหรือการใช้ ระยะเวลาในการสั่งซื้อ และระยะเวลาในการทำการผลิต
49
2.2.2 ระดับที่กำหนดจุดที่ต้องการสั่งซื้อ ( reorder level )
เมื่อสินค้าและพัสดุที่เก็บรักษาได้ลดระดับมาถึงจุดนี้แล้วจะเป็นเครื่องมือ ที่ช่วยบอกให้ผู้บริหารพัสดุทราบว่าเขาจำเป็นต้องเริ่มทำการสั่งซื้อพัสดุนั้น ๆ เพิ่มเติมได้แล้วมิฉะนั้นพัสดุจะขาดมือ การคำนวณหาจุดที่ต้องการสั่งซื้อโดยใช้สูตร ( Reorder level ) Reorder level = ( อัตราการใช้ * ระยะเวลาในการสั่งซื้อ ) + safety stock
50
2.2.3 Economic order quantity
เป็นการกำหนดปริมาณการสั่งซื้อโดยคำนึงถึงว่าปริมาณของ สินค้าในการสั่งซื้อแต่ละครั้งที่จะทำให้เสียค่าใช้จ่ายรวมกัน แล้วต่ำสุดหรือคือปริมาณสั่งซื้อที่จะทำต้นทุนสินค้าต่อหน่วยต่ำสุด 2.2.4 ระยะเวลาในการสั่งซื้อ ( lead time ) ระยะเวลาทั้งหมดที่ต้องใช้เพื่อการสั่งซื้อจะกระทั่งได้สินค้ามา โดยจะเริ่มนับตั้งแต่ผู้ใช้หรือผู้เก็บวัสดุทำใบขอซื้อมาให้แผนกจัดซื้อ จนกระทั่งผู้ขอซื้อได้รับสินค้าเข้าคลัง
51
3. การเก็บรักษาวัสดุ - สินค้าและวัสดุที่ได้มา กิจการต้องจัดการเก็บรักษาให้อยู่ในสภาพ และปริมาณที่เหมาะสม ไม่ให้เสียหายและสูญหาย ซึ่งจะเป็นหน้าที่ของแผนกเก็บรักษา 3.1 การ์ดวัตถุ ( stock card ) ใช้ควบคุมสินค้าและวัสดุ 3.2 ใบกำกับรายการสินค้า ( bin card ) เอกสารกำกับสินค้าและวัสดุ โดยอยู่ในที่จัดเก็บสินค้านั้น ๆ และสามารถทราบยอดรับเข้า – จ่ายออก และยอดคงเหลือของสินค้าในขณะนั้น ๆ ได้ โดยไม่ต้อง รอตรวจสอบกับการ์ดวัตถุ ( stock card )
52
3.1 วิธีการผลิต ( production methods )
3.1.1 analytic process เป็นการนำวัตถุดิบมาแยกส่วนต่าง ๆ ออกเพื่อให้ได้ผลิตภัณฑ์ใหม่ synthetic process เป็นวิธีการที่ตรงข้ามจากวิธี analytic process คือวัสดุ วัตถุดิบต่าง ๆ จะถูกรวมเข้าด้วยกันเพื่อให้ได้ผลิตภัณฑ์ที่ต้องการ 3.1.3 fabrication process เป็นวิธีการที่ผลิตภัณฑ์ใหม่ ได้มาจากการนำสินค้าสำเร็จรูปจากอุตสาหกรรมอื่น มาประกอบกันโดยวิธีเปลี่ยนรูปร่างของสินค้าสำเร็จรูป
53
3.1.4 assembly process เป็นการเปลี่ยนรูปของสินค้า
ที่ได้มาจากวิธีการsynthetic โดยเอาวัสดุสำเร็จรูปที่ได้จากอุตสาหกรรม อื่น ๆ มารวมหรือต่อเชื่อมเข้าด้วยกันโดยไม่ต้องมีการเปลี่ยนแปลงรูปร่างลักษณะอีก 3.1.5 continuous and intermittent process continuous process เป็นวิธีการผลิตที่ใช้เครื่องจักร และวิธีการผลิตทำการผลิตวัสดุซ้ำ ๆ อย่างเดิมเป็นเวลานาน intermittent process เป็นวิธีการผลิต ที่มีการหยุดเครื่องจักรเป็นระยะ ๆ และปรับปรุงแก้ไขเครื่องจักรใหม่ เพื่อให้ได้ผลผลิตที่มีความแตกต่างกันเล็กน้อย
54
4.การควบคุมการผลิต ( production control )
- เป็นขั้นตอนที่สำคัญที่สุดในการทำสินค้าสำเร็จรูปออกมาเป็นการประสาน คน วัสดุ เครื่องจักร เพื่อให้ได้ผลผลิตในจำนวนที่ต้องการในเวลาที่ต้องการตามสั่ง 4.1 การวางแผน ( planning ) 4.2 การจัดสายการผลิต ( routing ) 4.3 การกำหนดระยะเวลาการผลิต ( schedualing ) 4.4 การแจกจ่ายงาน ( dispatching ) 4.5 การติดตามงาน ( follow - up ) 4.6 การควบคุมคุณภาพ ( quality assurance )
55
บทที่ 6 การตลาด Marketing
56
แนวความคิดทางการตลาด ( Marketing Concept )
1. ความสำคัญของลูกค้า ( customer orientation ) 2. ความสำคัญของกำไร ( profit orientation ) 3. การร่วมกันของงานทางการตลาด ( intregration of marketing activities )
57
แผนภูมิแนวความคิดทางการตลาดสมัยดั้งเดิม
แผนภูมิแนวความคิดทางการตลาดสมัยดั้งเดิม ผู้ผลิต ขายและส่งเสริมการขาย จัดประเภท แผนภูมิแนวความคิดทางการตลาดสมัยใหม่ ความต้องการ ของลูกค้า ขายสินค้าหลายชนิด ในที่เดียวกัน กำไรเกิดจากความพอใจของลูกค้า
58
ความสำคัญของการตลาดต่อองค์กรธุรกิจ
ความสำคัญของการตลาดต่อองค์กรธุรกิจ ยกระดับมาตรฐานความเป็นอยู่ของมนุษย์ให้ดีขึ้น 2. การตลาดเป็นทั้งต้นเหตุและปลายเหตุของความเป็นไปขององค์การ 3. การตลาดเป็นหน้าที่หลักที่เป็นตัวกำกับหรือสร้างงานให้กับหน้าที่งานอื่น 4. การตลาดเป็นกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับระบบภายนอกและเป็นตัวเริ่มต้นของกิจกรรมภายใน 5. ช่วยตอบสนองความพอใจให้กับมนุษย์และเอื้ออำนวยให้ระบบเศรษฐกิจดำเนินไปด้วยดี
59
หน้าที่ทางการตลาด ( Marketing Functions )
ขนาดของตลาด ตลาดจะมีอาณาเขตกว้างขวางเพียงใดขึ้นอยู่กับปัจจัยต่าง ๆ คือ 1. การคมนาคมและการสื่อสาร 2. ลักษณะสินค้า 3. นโยบายของรัฐบาล หน้าที่ทางการตลาด ( Marketing Functions ) หน้าที่ที่จะทำให้มีการโอนภรรมสิทธิ์ของสินค้าจากผู้ขายไปสู่ผู้ซื้อ (exchange functions ) หน้าที่เกี่ยวกับการจัดส่งสินค้า ( physical distribution ) หน้าที่อำนวยความสะดวกต่าง ๆ ( facilitating functions )
60
ประเภทของตลาด ตลาดผู้บริโภค ( consumer market ) 1.1 สินค้าสะดวกซื้อ ( convenience goods ) 1.2 สินค้าเลือกซื้อ ( shopping goods ) 1.3 สินค้าชนิดพิเศษ ( specialty goods ) 2. ตลาดอุตสาหกรรม ( industrial market ) ประเภทของสินค้าทางอุตสาหกรรม 1. วัตถุดิบ ( raw materials ) 2. เครื่องมือและเครื่องจักรทางอุตสาหกรรม ( industrial equipment and machinery ) 3. วัสดุของใช้ทางอุตสาหกรรม ( industrial supplies ) 4. เครื่องมือและอุปกรณ์อื่น ๆ ( tools and other equipment ) 5. วัตถุเครื่องใช้ที่เข้ากระบวนการ ( process materials ) 6. ชิ้นส่วนและส่วนประกอบย่อย ( parts and subassemblies )
61
ผู้เกี่ยวข้องในการตลาด
กระบวนการทางการตลาด การวิจัยตลาด การวางแผน และการผลิต การส่งเสริม การขาย การจัดจำหน่าย รวบรวมข้อมูลการตลาด ผู้เกี่ยวข้องในการตลาด ผู้ผลิต ผู้ค้าส่ง ตัวแทนจำหน่าย นายหน้า ตัวแทนที่ได้รับมอบอำนาจจากผู้ผลิตในการจำหน่าย ผู้ค้าปลีก
62
การแบ่งส่วนตลาด ( market segmentation )
ลำดับขั้นตอนในการแบ่งส่วนตลาด 1. กำหนดเกณฑ์พิจารณาในการแบ่งส่วนตลาด 2. รวบรวมคุณลักษณะต่าง ๆ ของผู้บริโภคแต่ละกลุ่มที่จะประกอบกันเป็นส่วนตลาด 3. คาดคะเนขนาดของตลาดที่จะเป็นไปได้แต่ละส่วนของตลาด 4. พิจารณาสภาพการแข่งขันภายในแต่ละส่วนตลาด 5. คาดคะเนอัตราส่วนครองตลาดหรือส่วนแบ่งตลาด ( market share ) ภายในแต่ละส่วนตลาด 6. พิจารณากลยุทธ์การตลาดที่จำเป็นซึ่งจะต้องสอดคล้องในแต่ละส่วนตลาด 7. ประมาณการค่าใช้จ่ายที่จะต้องบริการในแต่ละส่วนตลาด 8. วิเคราะห์เป้าหมายของธุรกิจที่จะเป็นไปได้ในแต่ละส่วนตลาด 9. เลือกส่วนตลาดเป็นกลุ่มผู้บริโภคในเป้าหมาย
63
การแบ่งส่วนตลาดอาจอาศัยหลักเกณฑ์หรือฐานดังต่อไปนี้
1. ฐานทางสังคมและเศรษฐกิจ 2. ฐานลักษณะทางภูมิศาสตร์ 3. ฐานทางด้านบุคลิกภาพ 4. ฐานทางด้านพฤติกรรมของผู้ซื้อ กลยุทธ์แบ่งส่วนตลาด การตลาดที่ไม่แตกต่าง ( Undifferentiated Marketing ) การตลาดแตกต่าง ( Differentiated marketing ) . ตลาดมุ่งเฉพาะส่วน ( Conentrated marketing )
64
ส่วนผสมทางการตลาด Marketing Mix 4P’s Product Price Place Promotion
65
การแบ่งประเภทของสินค้าอุปโภคบริโภคและสินค้าอุตสาหกรรม
สินค้าบริโภคอุปโภค ( consumer goods ) 1.1 สินค้าสะดวกซื้อ ( convenience goods ) 1.2 สินค้าเปรียบเทียบซื้อ ( shopping goods ) สินค้าเจาะจงซื้อ ( speciallty goods ) 1.4 สินค้าไม่แสวงซื้อ ( unsought goods )
66
2. สินค้าอุตสาหกรรม ( industrial goods )
2.1 ถาวรวัตถุที่ต้องการติดตั้ง ( installations ) 2.2 เครื่องมือประกอบ ( accessory equipments ) 2.3 วัตถุดิบ ( raw materials ) 2.4 วัสดุที่ใช้เป็นชิ้นส่วนประกอบหรือชิ้นส่วน ( fabricating materials and parts ) 2.5 วัสดุใช้สอย ( supplies ) 2.6 บริการ ( service )
67
วงจรชีวิตของผลิตภัณฑ์
( The product life cycle ) ขั้นแนะนำหรือขั้นเริ่มต้น ( Introduction stage ) ขั้นการเจริญเติบโต ( growth stage ) ขั้นอิ่มตัว ( maturity stage ) ขั้นตกต่ำ ( decline stage )
68
การส่งเสริมการขาย ( Promotion )
เหตุผลในการวางกลยุทธ์วิธีการส่งเสริมการขาย 1. การแข่งขันทวีความรุนแรง 2. การโฆษณาและการส่งเสริมการขายจำเป็นต้องใช้มากขึ้น เมื่อนำสินค้าใหม่ออกสู่ตลาด 3. เมื่อผู้ขายต้องการเพิ่มยอดขาย 4. เพื่อสร้างความต้องการ ( ที่เกินความจำเป็น ) แก่ผู้ซื้อ เพื่อผลทางด้านการขายที่สูงขึ้น
69
วิธีการส่งเสริมการขาย
วิธีการส่งเสริมการขาย 1. โฆษณาและแสดงสินค้า ณ จุดซื้อ 2. ช่วยเหลือร้านค้า 3. วิธีกระตุ้นผู้บริโภคโดยตรง 4. วิธีแจกตัวอย่างให้ลองใช้ 5. การสาธิตสินค้า 6. การเปิดโรงเรียนหรือสถาบันฝึกอบรม 7. การใช้รางวัลจูงใจพนักงานขาย
70
บทที่7 การขนส่ง
71
ผู้ประกอบการขนส่ง 1. ผู้ขนส่งสาธารณะ ( common carrier) 2. ผู้ขนส่งตามสัญญา (contract carrier ) 3. บริษัทขนส่งเอกชน ( private carrier ) วิธีการในการขนส่ง 1. การขนส่งทางบก - การขนส่งทางรถไฟ - การขนส่งทางรถยนต์
72
2. การขนส่งทางเรือ - การขนส่งทางแม่น้ำ ลำคลองภายในประเทศ - การขนส่งเลียบชายฝั่งทะเล - การขนส่งระหว่างประเทศ 3. การขนส่งทางอากาศ คุณลักษณะสำคัญของการขนส่งสินค้าทางอากาศ 1. สะดวกรวดเร็ว 2. มีความแน่นอน 3. ลดระยะเวลา 4. ประหยัดค่าใช้จ่าย 5. ส่งได้บ่อย
73
ประเภทของสินค้าที่ขนส่งโดยทางอากาศ
ประเภทของสินค้าที่ขนส่งโดยทางอากาศ 1. สินค้าทั่วไป 2. สินค้าพิเศษ - สัตว์มีชีวิต , สินค้ามีค่า , ศพมนุษย์ - ของเน่าเปื่อยได้ , สินค้าที่มีน้ำหนัก 3. สินค้าอันตราย - วัตถุระเบิด , ก๊าซไม่ติดไฟ ,ก๊าซติดไฟ,วัตถุกัดกร่อน - สินค้าอันตรายเมื่อเปียก,วัตถุกัมมันตรังษี,วัตถุมีพิษ ฯลฯ
74
วิธีอื่น ๆ ในการขนส่งสินค้า
1. การขนส่งทางไปรษณีย์ 2. การขนส่งด้วยระบบตู้คอนเทนเนอร์ - ตู้แห้งทั่วไป - ตู้รักษาอุณหภูมิ - ตุ้บรรจุของเหลวหรือก๊าซ - ตู้คอนเทนเนอร์ที่ใช้สำหรับสินค้าเฉพาะอย่างอื่น ๆ - ตู้คอนเทนเนอร์ที่ใช้ในการขนส่งสินค้าทางอากาศ 3. การขนส่งลักษณะ Piggy - back and Fishy-back - Piggy - back - Fishy – back 4. การขนส่งทางท่อ
75
ข้อควรพิจารณาในการเลือกวิธีการขนส่งสินค้า
1. ความต้องการของลูกค้า 2. การประหยัดค่าใช้จ่ายในการขนส่ง 3. ลักษณะและคุณสมบัติของวิธีการขนส่งแต่ละวิธี - ความเร็วในการขนส่ง - ความถี่ของการให้บริการขนส่ง - ความน่าเชื่อถือ 4. ระดับของการบรรจุหีบห่อและค่าใช้จ่ายในการบรรจุหีบห่อสินค้า 5. ปริมาณและลักษณะของสินค้า
76
วิธีอื่น ๆ ในการขนส่งสินค้า
การบรรจุหีบห่อสินค้า 1. หีบห่อต้องมีความเหมาะสมกับสินค้า ป้องกันสินค้าไม่ให้กระทบกระเทือน 2. ให้ความสวยงาม ดึงดูดใจของผู้ซื้อ 3. ปัจจัยที่ช่วยในการกำหนดราคา 4. ป้องกันความเสียหายที่อาจเกิดขึ้น 5. การออกแบบที่เหมาะสมช่วยลดปริมาณขยะลงได้
77
ลักษณะของการบรรจุหีบห่อสินค้า
Primary Packing - การบรรจุหีบห่อชั้นใน 2. Secondary Packing - การบรรจุหีบห่อที่อยู่ถัดออกมา 3. Tertiary Packing หรือ Shipping Packing - การบรรจุหีบห่อชั้นนอก เครื่องหมายการขนส่งสินค้า ( Mark )
78
วิธีเก็บค่าระวางสินค้า
1. เก็บค่าระวางต้นทาง ( freight prepaid ) 2. เก็บค่าระวางปลายทาง ( freight to collect ) เอกสารการขนส่ง 1. ใบตราส่ง 2. ใบรับพัสดุภัณฑ์ 3. Shipping particular 4. ใบเสร็จค่าขนส่ง 5. กรมธรรม์ประกันภัยการขนส่งสินค้า
79
6. ใบอนุญาติให้บรรทุกสินค้า
7. ใบรับที่ท่าเรือ 8. ใบสั่งปล่อยสินค้า 9. ใบรับรองถิ่นกำเนิด 10. ใบรายการบรรจุหีบห่อสินค้า 11. ใบกำกับสินค้า 12. ใบรับรองน้ำหนักของสินค้า
80
บทที่8 สถาบันการเงิน
81
หน้าที่ของสถาบันการเงิน
1. เป็นศูนย์กลางทางการเงินที่ผู้กู้และผู้ให้กู้ สามารถตอบสนองความต้องการซึ่งกันและกัน 2. ให้ความปลอดภัยและมั่นใจแก่เงินของผู้ออม 3. ช่วยให้อัตราดอกเบี้ยในท้องถิ่นต่าง ๆ ไม่แตกต่างกันมากนัก 4. จัดให้มีการกู้เงินประเภทต่าง ๆ 5. ช่วยให้การซื้อขายหรือแลกเปลี่ยนหลักทรัพย์มีสภาพคล่องตัว
82
ประโยชน์ของสถาบันการเงินในทางเศรษฐกิจ
สถาบันการเงินนำเงินที่ประชาชนออมไปลงทุนหรือให้กู้ยืมเพื่อลงทุนเพิ่มผลผลิต เพิ่มรายได้ และก่อให้เกิดการจ้างงาน สถาบันการเงินช่วยให้เงินออมถูกนำไปใช้ลงทุนอย่างมีประสิทธิภาพ 3. สถานบันการเงินจะช่วยให้ตลาดการเงินมีการแข่งขันมากขึ้น ทำให้อัตราดอกเบี้ยของสถาบันการเงินต่าง ๆ ใกล้เคียงกัน ลดโอกาสที่ผู้กู้จะถูกผู้ให้กู้เอารัดเอาเปรียบ โดยเรียกดอกเบี้ยสูงเกินความจำเป็น
83
ประเภทของสถาบันการเงิน
1. สถาบันการเงินระหว่างประเทศ - ธนาคาร Export-Import ( Exim Bank ) - ธนาคารโลกหรือธนาคารเพื่อการบูรณะและพัฒนา ( World Bank or International Bank for Reconstruction and Development ) - ธนาคารพัฒนาเอเชีย - ธนาคารเพื่อการชำระเงินระหว่างประเทศ
84
สถาบันการเงินระหว่างประเทศที่มิใช่ธนาคาร
1. กองทุนการเงินระหว่างประเทศ ( International Monetary Fund : I.M.F. ) 2. สถาบันการเงินยูโร - ดอลลาร์ ( Euro dallar Market ) 3. สถาบันการค้ำประกันการกู้ยืมเงินต่างประเทศ ( The Foreign credit insurance Association = FCIA ) 2. สถาบันการเงินภายในประเทศ 2.1 สถาบันการเงินในรูปของธนาคาร 2.1.2 สถาบันการเงินในรูปของธนาคาร 2.1.2 ธนาคารพาณิชย์ 2.1.3 ธนาคารเฉพาะ ได้แก่ - ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร - ธนาคารอาคารสงเคราะห์ , ธนาคารออมสิน
85
2.2 สถาบันการเงินเพื่อประโยชน์เฉพาะที่มิใช่ในรูปของธนาคาร
2.2.1 บรรษัทเงินทุนอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย 2.2.2 บริษัทเงินทุนหลักทรัพย์ 2.2.3 บริษัทเครดิตฟองซิเอร์ 2.3 สถาบันการเงินประเภทอื่น ๆ 2.3.1 สำนักงานธนกิจอุตสาหกรรมขนาดย่อม 2.3.2 กองทุนรวม 2.3.3 กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ 2.3.4 โรงรับจำนำ 2.3.5 ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 2.3.6 กิจการประกันภัย,ประกันชีวิต 2.3.7 สหกรณ์การเกษตรและสหกรณ์ออมทรัพย์ 2.3.8 การเคหะแห่งชาติ 2.3.9 เอกชนผู้ให้กู้ ตลาดซื้อขายสินค้าล่วงหน้า การให้กู้แบบหมุนเวียน(แชร์)
86
วิวัฒนาการของเงินและสถาบันการเงินในระบบเศรษฐกิจไทย
สถาบันการเงินในไทยที่มีการจัดตั้งครั้งแรก - ธนาคารพาณิชย์ของต่างชาติในปี พ.ศ. 2437 - ธนาคารพาณิชย์ไทยแห่งแรก (ธนาคารไทยพาณิชย์ ) พ.ศ. 2449 สถาบันการเงินในระบบ สถาบันการเงินนอกระบบ
87
บทที่9 การเงินและการบัญชี
88
ขอบเขตความรับผิดชอบในการบริหารการเงินของธุรกิจ
ขอบเขตความรับผิดชอบในการบริหารการเงินของธุรกิจ The three A’s of financial management ( 3 A’s ) การวางแผนหรือคาดการณ์ถึงความต้องการของเงินทุน ( Anticipation ) 2. การจัดหาเงินทุน ( Acquistion ) 3. การจัดสรรเงินทุนไปใช้ในธุรกิจ ( Allocation
89
ประเภทเงินทุน 1. เงินทุนระยะยาว ( Long - term Financing ) - เงินทุนที่มีกำหนดจ่ายคืนเกินกว่า 5 ปี เป็นเงินทุนเพื่อนำมาใช้ในการซื้อสินทรัพย์ถาวร ( Fixed Assets ) แหล่งเงินทุน 1.1 จากเจ้าของทุน 1.2 การกู้ยืม 1.3 จากกำไรสะสมของกิจการ
90
2. เงินทุนระยะสั้น ( Short - term Financing )
- เงินทุนที่มีกำหนดจ่ายคืนภายใน 1 ปี จัดหามาเพื่อซื้อวัตถุดิบในการผลิต หรือจ่ายค่าแรงการจัดหาและแก้ไขการขาดเงินทุนระยะสั้น - เร่งรัดทวงถามลูกหนี้ที่ครบกำหนด - ควบคุมสินค้าและวัตถุดิบคงเหลือ - ขอผ่อนผันยืดเวลาชำระหนี้ - กู้ยืม,ใช้เอกสารเครดิตในการซื้อสินค้า
91
การบัญชี(Accounting)
การจดบันทึกรายการค้าของกิจกรรมการจัดจำแนกรายการค้าออกเป็นหมวดหมู่ รวมทั้งสรุปผลการดำเนินงานและฐานะการเงินของกิจการโดยใช้หน่วยเงินตรา รวมถึงการวิเคราะห์และแปลความหมายจากข้อมูลทาง การบัญชีได้จากการจดบันทึก คนที่ปฏิบัติงานเกี่ยวกับการบัญชีเรียกว่า “นักบัญชี” ( Accountant ) - การจดบันทึกรายการค้า สมุดรายวัน - การจำแนกรายการค้าออกเป็นหมวดหมู่ สมุดบัญชีแยกประเภท - การสรุปผลงบกำไรขาดทุน , งบดุล - การวิเคราะห์และแปลความหมาย Book - Keeping (การทำบัญชี) Book - Keeper (ผู้ทำบัญชี)
92
ธุรกิจที่ต้องจัดทำบัญชี
ประโยชน์ของการบัญชี บุคคลที่ได้รับประโยชน์จากการทำบัญชี งวดบัญชีหรือรอบระยะเวลาบัญชี ปีการเงินหรือบัญชี ธุรกิจที่ต้องจัดทำบัญชี - การขายสินค้าทุกชนิดนอกจากสินค้าเกษตรกรรมที่เกษตรกรผลิตและจำหน่ายเอง - ซื้อขายที่ดิน - ขายทอดตลาด - โรงแรม ภัตตาคาร - นายหน้าหรือตัวแทน - รับขนส่งโดยใช้พาหนะซึ่งเดินด้วยกำลังเครื่องจักรหรือรับขนส่งทางทะเล - ธนาคารพาณิชย์ รับแลกเปลี่ยนเงินตรา ซื้อขายตั๋วเงินเครดิตฟองซิเอร์ โพยก๊วน โรงรับจำนำ หรือให้กู้ยืมเงินโดยจัดหาทุนจากประชาชน - ประกันภัย - เก็บของในคลังสินค้า
93
งบการเงิน งบหรือรายงานที่จัดทำขึ้นเพื่อแสดงฐานะทางการเงินและผลการดำเนินงาน ในรอบระยะบัญชีที่ผ่านมา ประกอบด้วย 1. งบกำไรขาดทุน ( Income Statement ) 2. งบดุล ( Balance Sheet ) 3. งบกำไรสะสม ( Statement of Retained Earning ) 4. งบแสดงการเปลี่ยนแปลงฐานะการเงิน ( Statement of Change in Financial position )
94
สินทรัพย์ ( Asset ) สิ่งที่มีมูลค่าเป็นตัวเงิน ซึ่งบุคคลหรือกิจการเป็นเจ้าของอาจเป็นสิ่งที่ มีตัวตนและไม่มีตัวตน รวมทั้งสังหาริมทรัพย์และอสังหาริมทรัพย์ก็ได้ 1. สินทรัพย์หมุนเวียน ( Current Assets ) 2. เงินทุนระยะยาว ( Long - term Investment ) 3. สินทรัพย์ถาวร ( Fixed Assets ) 4. สินทรัพย์อื่น ๆ
95
หนี้สิน ( Liabilities )
จำนวนเงินที่บุคคลหรือกิจการเป็นหนี้บุคคลภายนอก หรือสิทธิเรียกร้องที่บุคคลภายนอกมีต่อบุคคลหรือกิจการ เจ้าหนี้การค้า ( Accounts payable ) เจ้าหนี้เงินกู้ 1. หนี้สินหมุนเวียน ( Current Liabilities ) 2. หนี้สินระยะยาว ( Long - term Liabilities )
96
ทุน/ส่วนของเจ้าของ ( Capital or Ower’s Equity )
ส่วนที่เป็นเจ้าของกิจการเป็นสินทรัยพ์ที่เป็นสิทธิของเจ้าของกิจการซึ่งอาจเป็น เจ้าของคนเดียวหรือส่วนของหุ้นส่วนหรือส่วนของผู้ถือหุ้น ภายหลังจากหักหนี้สินของกิจการแล้วก็คือส่วนของสินทรัพย์ที่สูงกว่าหนี้สิน. ทุนเรือนหุ้น ( Share Capital ) - ทุนที่ผู้ถือหุ้นลงไว้ในกิจการมีมูลค่าตามที่จดทะเบียนไว้ ส่วนเกินมูลค่าหุ้น ( Permium on Share Capital ) - เงินค่าหุ้นที่สูงกว่ามูลค่าที่ตราไว้ กำไรสะสม ( Retained Earning ) - กำไรที่ยังมิได้แบ่งปันและยังสะสมไว้ในกิจการ
97
สินทรัพย์ = ส่วนของเจ้าของ
หรือ สินทรัพย์ - หนี้สิน = ส่วนของเจ้าของ สินทรัพย์ = หนี้สิน + ส่วนของเจ้าของงบกำไรขาดทุน ( Income Statement on Profit and Loss Statement )
98
จัดทำขึ้นเพื่อทำการสรุปผลการดำเนินงานของกิจการในช่วง 1 เดือน 3 เดือน
6 เดือน หรือ 1 ปี แต่โดยทั่วไปจะจัดทำเมื่อครบรอบระยะเวลา บัญชี 1 ปี หรือ 12 เดือน 1. แบบบัญชี ( Account Form ) 2. แบบรายงาน ( Report Form ) - ส่วนของงบกำไรขาดทุน 1. รายได้ ( Income of Revenue ) 2. ค่าใช้จ่าย ( Expenses ) 3. กำไรสุทธิหรือขาดทุนสุทธิ ( Net Profit or Net Loss )
99
จัดทำเพื่อเป็นการสรุปถึงฐานะการเงินของกิจการ ณวันใดวันหนึ่ง กิจการ ณ
งบดุล ( Balance Sheet ) จัดทำเพื่อเป็นการสรุปถึงฐานะการเงินของกิจการ ณวันใดวันหนึ่ง กิจการ ณ วันนั้นมีสินทรัพย์ประเภทใดบ้าง และจำนวนเท่าใดรวมถึงหนี้สินหรือ ภาระผูกพันอะไรบ้างตลอดจนจำนวนเงินส่วนที่เป็นของเจ้าของกิจการด้วย งบกำไรสะสม ( Retained Earning ) - รายงานการเงินซึ่งแสดงถึงการเปลี่ยนแปลงของกำไรสะสมในระหว่างงวด
100
การวิเคราะห์งบการเงินโดยวัดความมั่นคงทางการเงิน
1. อัตราส่วนหมุนเวียน( current ratio ) อัตราส่วนหมุนเวียน = สินทรัพย์หมุนเวียน หนี้สินหมุนเวียน 2. เงินทุนหมุนเวียน ( working capital ) เงินทุนหมุนเวียน = สินทรัพย์หมุนเวียน - หนี้สินหมุนเวียน 3. อัตราส่วนสภาพคล่อง ( liquidity ratio ) อัตราส่วนสภาพคล่อง = สินทรัพย์หมุนเวียน - สินค้าคงเหลือ หนี้สินหมุนเวียน
101
4. อัตราส่วนหนี้สินต่อทุน ( debt - to - equity ratio )
อัตราส่วนหนี้สินต่อทุน = หนี้สินรวม สินทรัพย์รวม หรืออัตราส่วนหนี้สินต่อทุน = หนี้สินรวม ส่วนของผู้ถือหุ้น
102
การวิเคราะห์งบการเงินโดยวัดผลการปฏิบัติงาน
การวิเคราะห์งบการเงินโดยวัดผลการปฏิบัติงาน 1. อัตราส่วนหมุนเวียนของสินค้าคงเหลือ ( inventory turnover) สินค้าคงเหลือถัวเฉลี่ย = สินค้าคงเหลือต้นงวด + สินค้าคงเหลือปลายงวด 2. อัตราส่วนหมุนเวียนของสินค้าคงเหลือ = ต้นทุนสินค้าที่ขาย สินค้าคงเหลือถัวเฉลี่ย 2. การประเมินมูลค่าสินค้าคงเหลือ ( inventory evaluation ) - วิธีเข้าหลังออกก่อน (last-in,first-out - LIFO) - วิธีเข้าก่อนออกก่อน (first-in,first-out - FIFO )
103
3.อัตราส่วนผลตอบแทนจากการลงทุน ( return on investment )
ผลตอบแทนจากการลงทุน = กำไรสุทธิ เงินทุน 4. อัตราส่วนผลตอบแทนจากการขาย ( return on sales ) ผลตอบแทนจากการขาย = กำไรสุทธิ ยอดขาย
104
บทที่10 การภาษีอากร
105
ลักษณะของภาษีอากรที่ดี
ความเป็นธรรม 2. ความแน่นอนและชัดเจน 3. ความสะดวก 4. ความมีประสิทธิภาพ 5. ความเป็นกลางทางเศรษฐกิจ 6. อำนวยรายได้ 7. มีความยืดหยุ่น อัตราภาษีอากร แบบคงที่ แบบก้าวหน้า 3. แบบถอยหลัง
106
ประเภทของภาษีอากร ภาษีทางตรง ภาษีทางอ้อม หน่วยงานที่รับผิดชอบในการจัดเก็บภาษีอากร ภาษีอากรที่กรมสรรพากรจัดเก็บ ภาษีอากรที่กรมสรรสามิตจัดเก็บ 3. ภาษีอากรที่กรมศุลกากรจัดเก็บ 4. ภาษีอากรและค่าธรรมเนียมที่ท้องถิ่นจัดเก็บ
107
เอกสารที่ใช้ในการประกอบธุรกิจ
บทที่11-12 เอกสารที่ใช้ในการประกอบธุรกิจ
108
เอกสาร(Records) = หมายรวมถึงกระดาษ ใบแจ้งทางการเงิน
หนังสือ รายงานต่าง ๆ เทปแม่เหล็ก รูปภาพ ไมโครฟอร์ม คู่มือ ผลงานและอื่น ๆ การบริหารงานสำนักงาน 1. งานหนังสือ เข้า - ออก 2. งานจัดเก็บเอกสาร 3. การทำรายงาน 4. การทำบัญชี ทำงบประมาณ 5. กำหนดตารางการทำงาน 6. กำหนดมาตรฐานของงาน 7. วิธีการควบคุม 8. การใช้เครื่องจักรเครื่องมือและวัสดุต่าง ๆ
109
ลักษณะของงานสำนักงาน
( The nature of office management ) 1.การให้ความสะดวก 2. งานให้บริการ 3. ปริมาณของงานสำนักงานขึ้นอยู่กับองค์ประกอบภายนอกของสำนักงาน 4. งานสำนักงานมีส่วนก่อให้เกิดผลกำไรแก่ธุรกิจทางอ้อม 5. ลักษณะส่วนใหญ่ของงานสำนักงาน 6. งานสำนักงานมีลักษณะเป็นงานเอกสาร 7. งานสำนักงานเป็นงานที่ใช้คุณภาพส่วนบุคคล ในการปฏิบัติงาน
110
หน้าที่ของผู้บริหารสำนักงาน
การวางแผน(Planing) 2. การจัดองค์กร(Organizing) 3. การจัดหาบุคคลเข้าทำงาน(Stafing) 4. การอำนวยการ(Directing) 5. การควบคุม(Cotrolling) คุณสมบัติของผู้บริหารงานสำนักงาน คุณสมบัติที่เหมาะสำหรับพนักงาน 1. บุคลิกในการแสดงตน 2. บุคลิกลักษณะของตัวบุคคล 3. คุณลักษณะประจำตัวบุคคล 4. ความไว้เนื้อเชื่อใจ 5. ความสามารถในการทำงาน
111
งานสารบรรณ เริ่มตั้งแต่การคิด อ่าน ร่าง เขียน แต่ง พิมพ์ จด จำ ทำสำเนา ส่งหนังสือข้อความ รับบันทึก จดรายงานการประชุม สรุป จัดเรียง เสนอ สั่งการ ทำรหัส เก็บเข้าที่ ค้นหา ติดตามและทำลาย ความสำคัญของงานสารบรรณ 1. ใช้เป็นเครื่องมือในการบริหารงาน 2. ใช้เป็นสื่อในการติดต่อทำความเข้าใจระหว่างหน่วยงานและระหว่างบุคคล 3. ใช้เป็นเครื่องเตือนความจำของหน่วยงาน 4. ใช้เป็นหลักฐานอ้างอิง การติดต่อหรือทำความตกลง 5. ใช้เป็นสิ่งที่มีคุณค่าเพื่อการศึกษาค้นคว้าต่อไปในอนาคต
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.