ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
ระบบความเชื่อมโยงระหว่าง การแพทย์แผนปัจจุบัน
การแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก และการแพทย์ดั้งเดิมประเทศสมาชิกอาเซียน อาจารย์ ดร.ศุภะลักษณ์ ฟักคำ อาจารย์แสงสิทธิ์ กฤษฎี
2
นิยามศัพท์ที่ควรทราบ
การแพทย์แผนปัจจุบัน ( Modern Medicine , Western Medicine, Allopathic Medicine ) การแพทย์ดั้งเดิม ( Traditional Medicine ) การแพทย์แผนโบราณ ( Ancient Medicine) การแพทย์พื้นบ้าน (Indigenous Medicine ) การแพทย์ทางเลือก ( Alternative Medicine) การแพทย์ผสมผสาน (Integrated Medicine) การแพทย์เสริม ( Complementary Medicine)
3
National Center of Complementary and Alternative Medicine
( NCCAM) 1.Alternative Medical System(ใช้หลากหลายทั้งยาและเครื่องมือ) เช่น TCM, การแพทย์อายุรเวท, TTM 2.Mind and Body Intervention(ใช้กายและใจ) เช่นสมาธิบำบัด โยคะ ซี่กง 3.Biologically Therapies (ใช้สารชีวภาพ)เช่นสมุนไพร วิตามิน Chelation 4.Manipulative and Body –Based Methods(ใช้หัตถการ) เช่น การนวด การจัดกระดูก ( Chiropractic) 5.Energy Therapies(ใช้พลังงาน) เช่น การสวดมนต์บำบัด พลังกายทิพย์ พลังจักรวาล โยเร เรกิ
4
ศาสตร์การแพทย์ที่ได้รับความนิยมในปัจจุบัน
๑.การแพทย์แผนปัจจุบัน ๒.การแพทย์แผนจีน ๓.การแพทย์อายุรเวท ๔.การแพทย์โฮมีโอพาธี ๕.การแพทย์ยูนานิ ๖.การแพทย์แผนไทย ( การนวดไทย ) ???
5
วิวัฒนาการการแพทย์แผนไทย
6
อดีตที่ผ่านมา
7
Population: 65,068,149 Area: 514,000 sq km
8
HISTORY & BACKGROUD Rattanakosin period (from 1782) Sukhothai period
( ) Ayutthaya period ( ) HISTORY & BACKGROUD Rattanakosin period (from 1782)
9
การแพทย์แผนไทย - การแพทย์แบบองค์รวม
การแพทย์แผนไทยเป็นส่วนหนึ่งของวิถีชีวิตคนไทยมานับพันปีตั้งแต่ เกิด แก่ เจ็บ ตาย และเกี่ยวพันโดยตรงกับหลักพุทธศาสนา มี ทฤษฏีการแพทย์แผนไทย เชื่อว่า โรคและความเจ็บป่วยเกิดจากปัจจัยหลักพลัง ๓ ด้าน ๑. พลังจากสิ่งที่เหนือธรรมชาติ ๒. พลังจากสิ่งที่เป็นธรรมชาติ ๓. พลังของระบบสุริยะจักรวาล
10
๒๔๓๑ การก่อตั้งโรงพยาบาลศิริราช เป็นโรงพยาบาลและ
๒๔๓๑ การก่อตั้งโรงพยาบาลศิริราช เป็นโรงพยาบาลและ โรงเรียนแพทย์แผนตะวันตกแห่งแรกในประเทศไทย ๒๔๕๘ ยกเลิกการเรียนการสอนการแพทย์แผนไทย ในโรงพยาบาลศิริราช
11
การรื้อฟื้น ความสนใจในพืชสมุนไพรและยาสมุนไพร
๒๕๒๐ – กระประชุม WHO Conference ด้านการแพทย์พื้นบ้าน (Indigenous Medicine) ๒๕๒๑ – ประกาศ Alma Ata Declaration : การใช้การแพทย์ แผนดั้งเดิม (Traditional Medicine) ในงานสาธารณสุขมูลฐาน เพื่อสุขภาพดีถ้วนหน้า ปี ๒๐๐๐ (พ.ศ. ๒๕๔๓) ๒๕๒๐ - ๒๕๒๔ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๔ - การศึกษาวิจัยพืชสมุนไพร - ๖๑ ชนิด พืชสมุนไพรในงานสาธารณสุขมูลฐาน
12
สถาบันการแพทย์แผนไทย
13
๒ เมษายน ๒๕๕๑
14
กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
กระทรวงสาธารณสุข
15
ปัจจุบัน
16
ศาสตร์การแพทย์ที่มีกฎหมายรองรับในประเทศไทย
การแพทย์แผนปัจจุบัน การแพทย์แผนไทย การแพทย์แผนจีน การแพทย์ไคโรแพคติก
17
สถานการณ์การบริการการแพทย์แผนไทย
18
ปี พศ.๒๕๕๔ ร้อยละของประชาชนที่มีหลักประกันสุขภาพได้รับการรักษาพยาบาลและฟื้นฟูสภาพ ด้านการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกใน สถานบริการสาธารณสุขของรัฐ ร้อยละ 9.03
19
ปี พศ.๒๕๕๔ ร้อยละของมูลค่าการใช้ยาสมุนไพรไทยในสถานบริการสาธารณสุขของรัฐ รพท./รพศ. ร้อยละ ๐.๒ รพช./รพ.สต ร้อยละ ๔.๒
20
เป้าหมาย สถานบริการสาธารณสุขของรัฐ เอกชน ชุมชนและประชาชนมีการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยอย่างเหมาะสม เพื่อการพัฒนาสุขภาพอย่างยั่งยืน และเพื่อการพึ่งพาตนเองของประชาชนและของประเทศ
21
ปัญหาอุปสรรคด้านการแพทย์แผนไทย
22
1.องค์ความรู้ที่ใช้ ขาดความน่าเชื่อถือ
ขาดการการศึกษาวิจัยพิสูจน์ทางวิทยาศาสตร์ 2.การบริการและผลิตภัณฑ์ที่ใช้ ขาดคุณภาพ ,มาตรฐาน 3.บุคลากรผู้ให้บริการ ขาดการยอมรับ ขาดแคลนบุคลากรแพทย์แผนไทยที่เชี่ยวชาญ(ทั้งแพทย์แผนไทยและเจ้าหน้าที่อื่นที่เกี่ยวข้อง) ขาดความเป็นเอกภาพด้านวิชาชีพ
23
ปัจจัยสู่ความสำเร็จ ๑.องค์ความรู้ ถูกต้อง น่าเชื่อถือ ๒.ผลิตภัณฑ์และบริการ ดี มีมาตรฐาน ๓.บุคลากร เก่งและมีคุณธรรม
24
กรอบและทิศทางการดำเนินงาน
พัฒนาการแพทย์แผนไทย
25
นโยบายการบริหารงานกระทรวงสาธารณสุข รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข (นพ
นโยบายการบริหารงานกระทรวงสาธารณสุข รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข (นพ.ประดิษฐ์ สินธวณรงค์) วิสัยทัศน์ - ภายในทศวรรษต่อไป คนไทยทุกคนจะมีสุขภาพแข็งแรงเพิ่มขึ้น เพื่อสร้างความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศทั้งทางตรงและทางอ้อมอย่างยั่งยืน กลยุทธ์ในการทำงาน ข้อ ๙ – สนับสนุนนโยบายการเสริมสร้างรายได้สุขภาพของประเทศ ทั้งด้านยาสมุนไพรไทย อาหาร สินค้าพื้นเมือง รวมถึงการเป็นศูนย์กลางสุขภาพ โดยไม่ให้เกิดผลกระทบทางลบต่อระบบบริการภาครัฐ เป้าหมายตัวชี้วัดระดับกระทรวง( KPI ) :ประชาชนใช้บริการการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกในสถานบริการสาธารณสุขไม่น้อยกว่าร้อยละ ๑๔
26
WHO Traditional Medicine
Strategy Policy: integrate TM/CAM with national health care systems 1 Safety, efficacy and quality: provide evaluation, guidance and support for effective regulation 2 Access: ensure availability and affordability of TM/CAM, including essential herbal medicines 3 Rational use: promote therapeutically-sound use of TM/CAM by providers and consumers 4
27
WHO Congress on Traditional Medicine Beijing, China, 7-9 November 2008
Beijing Declaration (8 November 2008 ) WHO Congress on Traditional Medicine Beijing, China, 7-9 November 2008
28
WHO Congress on Traditional Medicine Beijing, China, 7-9 November 2008
Beijing Declaration (8 November 2008 ) WHO Congress on Traditional Medicine Beijing, China, 7-9 November 2008
29
๑ ด้วยการแพทย์ดั้งเดิม ควรได้รับความเคารพ อนุรักษ์ ส่งเสริม และสื่อสารกันอย่างกว้างขวางและเหมาะสมกับบริบทของแต่ละประเทศ รัฐบาลมีความรับผิดชอบต่อสุขภาพของประชาชนในประเทศ และควรจะจัดทำนโยบาย กฎ ระเบียบ และมาตรฐานต่าง ๆ ของการแพทย์ดั้งเดิม โดยเป็นส่วนหนึ่งระบบสาธารณสุขโดยรวมของประเทศ เพื่อสร้างความมั่นใจในการใช้การแพทย์ดั้งเดิมอย่างเหมาะสม ปลอดภัย และได้ผล ๒ ที่ประชุมตระหนักถึงความก้าวหน้าของรัฐบาลของหลายประเทศในปัจจุบันที่ได้บูรณาการการแพทย์ดั้งเดิมเข้าสู่ระบบสุขภาพของประเทศ และขอเรียกร้องให้ประเทศที่ยังไม่ได้ดำเนินการ ให้เริ่มต้นดำเนินการดังกล่าว ๓
30
ควรมีการพัฒนาการแพทย์ดั้งเดิมต่อไปบนพื้นฐานของการวิจัยและนวัตกรรมในแนวทางของ “Global Strategy and Plan of Action on Public Health, Innovation and Intellectual Property” ซึ่งรับรองในการประชุมสมัชชาสุขภาพโลกครั้งที่ ๖๑ เมื่อปี ค.ศ. ๒๐๐๘ ทั้งนี้ รัฐบาล องค์กรระหว่างประเทศ และผู้มีส่วนได้เสีย อื่น ๆ ควรจะร่วมมือกันในการนำยุทธศาสตร์โลกและแผนปฏิบัติการนี้ไปสู่การปฏิบัติ ๔ ๕ รัฐบาลควรจัดให้มีระบบสำหรับการสอบคุณสมบัติ, การรับรองคุณวุฒิ หรือการขึ้นทะเบียนผู้ประกอบโรคศิลปะแผนดั้งเดิม และผู้ประกอบโรคศิลปะแผนดั้งเดิมควรเพิ่มพูนความรู้และทักษะตามเกณฑ์ที่กำหนดของแต่ละประเทศ ๖ ควรมีการสื่อสารกันระหว่างผู้ให้บริการการแพทย์แผนปัจจุบันและแผนดั้งเดิมให้มากขึ้น และจัดให้มีโปรแกรมการฝึกอบรมด้านการแพทย์ดั้งเดิมที่เหมาะสมแก่บุคลากรสาธารณสุข นักศึกษาแพทย์ และนักวิจัยที่เกี่ยวข้อง
31
on Traditional Medicine in ASEAN Countries ครั้งที่ 1
Bangkok Declaration Conference on Traditional Medicine in ASEAN Countries ครั้งที่ 1 31 AUG-2 SEP 2009,BKK
32
๑ สร้างและแลกเปลี่ยนข้อมูลที่มีหลักฐานของการแพทย์ดั้งเดิมและเวชปฏิบัติในสมาชิกอาเซียนโดยการส่งเสริมและสื่อสารความรู้ อย่างกว้างขวาง และเหมาะสมทั่วภูมิภาครวมทั้งในประเทศพันธมิตร ๒ บรรสานข้อกำหนดทั้งทางวิชาการและกฎหมาย ระดับชาติ โดยถือเป็นส่วนหนึ่งของพันธกรณีของอาเซียน เพื่อสร้างความมั่นใจเรื่องความปลอดภัย ประสิทธิผล และคุณภาพของการแพทย์ดั้งเดิม
33
ส่งเสริมการบูรณาการการแพทย์ดั้งเดิม การแพทย์เสริมและการแพทย์ทางเลือก เข้าสู่การบริการในระบบสาธารณสุข โดยเป็นส่วนหนึ่งของระบบสุขภาพเบ็ดเสร็จของประเทศ รวมทั้งการใช้การแพทย์ดั้งเดิมในการสาธารณสุขมูลฐาน ๓ พัฒนากิจกรรมเฉพาะต่าง ๆ เพื่อส่งเสริมความร่วมมือด้านการแพทย์ดั้งเดิมโดยดำเนินการเกี่ยวข้องกับผู้ประกอบโรคศิลปะและผู้ให้บริการ, ภาคอุตสาหกรรม, องค์กรที่ไม่หวังผลกำไร และองค์กรวิชาชีพ, นักวิชาการ, ชุมชน รวมทั้งองค์กรภาคี ในฐานะภาคีหลัก ๔
34
กรอบความร่วมมือของอาเซียนด้านการแพทย์ดั้งเดิมภายใต้การปฏิบัติงาน ( Road Map) ของ Ad Hoc ASEAN Task Force on Traditional Medicine (ATFTM)
35
การแพทย์พื้นบ้านลุ่มน้ำโขง
แผนความร่วมมือ การแพทย์พื้นบ้านลุ่มน้ำโขง ( ๒๕๕๖-๕๙)
36
มติสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ ครั้งที่๒ (๑๘ ธันวาคม ๒๕๕๒)
มติ๗ การพัฒนาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้าน และการแพทย์ทางเลือก ให้เป็นระบบบริการสุขภาพหลักของประเทศคู่ขนานกับการแพทย์แผนปัจจุบัน
37
การแพทย์แผนไทยฯ-การแพทย์คู่ขนาน(๑๖พย.๕๒)
๑.คณะกรรมการภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านสุขภาพ กรมพัฒน์ฯดำเนินการ ๑.๑ส่งเสริม อปท.ร่วมกับภาคี ให้ดำเนินการ ๑.๑.๑รวมกลุ่มเครือข่ายหมอพื้นบ้านสภาการแพทย์พื้นบ้าน ๑.๑.๒ส่งเสริมจัดทำแผนพัฒนาและส่งเสริมภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านสุขภาพ ๑.๒ ส่งเสริมเครือข่ายแพทย์แผนไทย สภาวิชาชีพการแพทย์แผนไทย ๑.๓ สนับสนุนหน่วยงานดำเนินการ ๑.๓.๑ศึกษาการออกกฎหมาย ยาแผนไทยและยาสมุนไพร ๑.๓.๒พัฒนายาตำรับระดับชาติ ๑๐๐ตำรับภายใน๓ ปี ๑.๓.๓บรรจุยาแผนไทย ๒๐รายการ ใน๓ปี ๑.๓.๔ส่งเสริมการดำเนินการแพทย์แผนไทยใน รพ.สต. ๑.๓.๕พัฒนา รพ .แพทย์แผนไทย ภาคละ๑ แห่ง
38
การพัฒนาภูมิปัญญาไท สุขภาพวิถีไท ฉบับที่๒(๒๕๕๕-๕๙)
แผนยุทธศาสตร์ชาติ การพัฒนาภูมิปัญญาไท สุขภาพวิถีไท ฉบับที่๒(๒๕๕๕-๕๙) ( มติ ครม. ๒๑ มิถุนายน ๒๕๕๕) ► การสร้างและจัดการความรู้ ► การพัฒนาระบบสุขภาพชุมชนและระบบบริการสาธารณสุข ► การพัฒนากำลังคน ► การพัฒนาระบบยาและผลิตภัณฑ์จากสมุนไพร ► การพัฒนาด้านกฎหมายและคุ้มครองภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย ► การสื่อสารสาธารณะ
39
มติสมัชชาเฉพาะประเด็น (พ.ศ.๒๕๕๖-๕๙)
แผนยุทธศาสตร์การนวดไทย มรดกไทย-สู่มรดกโลก (เตรียมเสนอ ครม.)
40
ศักยภาพประเทศไทย ๑.ระบบการแพทย์และสาธารณสุขที่ดี
๒.ระบบวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่ดี ๓.ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย หมอพื้นบ้าน ๔.ทรัพยากรธรรมชาติ พืชสมุนไพร
41
ประเทศไทย ประเทศไทย การพร้อมเข้าสู่ประชาคมอาเซียน
และเป็นผู้นำด้านการแพทย์ดั้งเดิมในภูมิภาค ปี ๒๐๑๕
42
การแพทย์แผนไทยและสมุนไพรไทย ประชาคมอาเซียนและผลกระทบ
กับการเข้าสู่ ประชาคมอาเซียนและผลกระทบ
43
ประชาคมอาเซียน ปี ๒๕๕๘ (ASEAN COMMUNITY 2015)
กฎบัตรอาเซียน ► ประชาคมความมั่นคงอาเซียน ( ASC ) ► ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ( AEC ) ► ประชาคมสังคม-วัฒนธรรมอาเซียน ( ASCC ) “AEC Blueprint (พิมพ์เขียวAEC)”
44
ตารางดำเนินการ Strategic Schedule
ประชาคมอาเซียน ปี 2558 ASEAN COMMUNITY 2015 กฎบัตรอาเซียน AEC Blueprint (พิมพ์เขียว AEC) ประชาคม ความมั่นคง อาเซียน (ASC) ประชาคม เศรษฐกิจ อาเซียน (AEC) ตารางดำเนินการ Strategic Schedule ประชาคม สังคม-วัฒนธรรม อาเซียน (ASCC) 44
45
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
ความเป็นมาของ ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ปี 2540 ปี 2542 ปี 2538 สมาชิกใหม่ CLMV ปี 2510 ปี 2527 อาเซียน 6 45 45 45
46
ตลาดส่งออกหลักของไทย ปี 2535 กับปี 2553
ASEAN 22.7% ส่งออกรวม 32,609.1 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ส่งออกรวม 195,311.6 ล้านเหรียญสหรัฐฯ Note AFTA เริ่มเจรจาปี 2535 และเริ่มลดภาษีปี 2536 (1993) ASEAN 6 ภาษีเป็นร้อยละ 0 ตั้งแต่ 1 ม.ค.2553 (2010) 46
47
แหล่งนำเข้าหลักของไทย ปี 2535 กับปี 2553
ASEAN 16.6% นำเข้ารวม 40,615.8 ล้านเหรียญสหรัฐฯ นำเข้ารวม 182, ล้านเหรียญสหรัฐฯ Note AFTA เริ่มเจรจาปี 2535 และเริ่มลดภาษีปี 2536 (1993) ASEAN 6 ภาษีเป็นร้อยละ 0 ตั้งแต่ 1 ม.ค.2553 (2010) 47
48
การเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC:Asean Economic Community )
ปี ๒๕๕๘ (AEC:Asean Economic Community ) เป้าหมาย ๑.เป็นตลาดและฐานการผลิตร่วม ๒.เสริมสร้างขีดความสามารถในการแข่งขัน ๓.การพัฒนาเศรษฐกิจอย่างเสมอภาค ๔.การบูรณาการเข้ากับเศรษฐกิจโลก
49
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ( ASEAN Economic Community: AEC )
1. เป็นตลาดและฐานการผลิตร่วม 2. สร้างเสริมขีดความสามารถแข่งขัน เคลื่อนย้ายสินค้าเสรี e-ASEAN AEC นโยบายภาษี เคลื่อนย้ายบริการอย่างเสรี นโยบายการแข่งขัน เคลื่อนย้ายการลงทุนอย่างเสรี สิทธิทรัพย์สินทางปัญญา เคลื่อนย้ายแรงงานมีฝีมืออย่างเสรี การคุ้มครองผู้บริโภค เคลื่อนย้ายเงินทุนอย่างเสรีมากขึ้น ปี 2015 พัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน 3. การพัฒนาเศรษฐกิจอย่างเสมอภาค 4. การบูรณาการเข้ากับเศรษฐกิจโลก ลดช่องว่างการพัฒนา ระหว่างสมาชิกเก่า-ใหม่ ปรับประสานนโยบายเศรษฐกิจ สร้างเครือข่ายการผลิต จำหน่าย สนับสนุนการพัฒนา SMEs จัดทำ FTA กับประเทศนอกภูมิภาค 49
50
ความร่วมมือทางเศรษฐกิจที่สำคัญของอาเซียน
AEC Blueprint ความร่วมมือทางเศรษฐกิจที่สำคัญของอาเซียน ASEAN Free Trade Area: AFTA ความตกลงการค้าสินค้า ASEAN Framework Agreement on Services: AFAS กรอบความตกลงด้านบริการอาเซียน ASEAN Comprehensive Investment Agreement: ACIA ความตกลง ว่าด้วยการลงทุนอาเซียน ASEAN Economic Community: AEC 50 50
51
ACE Blueprint ความร่วมมือทางเศรษฐกิจที่สำคัญของอาเซียน
๑ ความตกลงการค้าสินค้า : AFTA ๒ กรอบความตกลงด้านบริการอาเซียน : AFAS ๓ ความตกลงว่าด้วยการลงทุนอาเซียน :ACIA
52
เขตการค้าเสรีอาเซียน ( AFTA: ASEAN Free Trade Area )
53
ผลกระทบที่เกี่ยวข้องจาก AFTA
๑.การลดต้นทุนการนำเข้าวัตถุดิบหรือสารสกัดสมุนไพร(ลดภาษี) ๒.การเปิดโอกาสการร่วมลงทุน/ความร่วมมือทางการค้าไทยกับตปท. ๓.การแลกเปลี่ยนเทคโนโลยีการผลิตและองค์ความรู้ ๔.การปรับกฎระเบียบและมาตรฐานเดียวกันทั้งภูมิภาค ( Asean Harmonization) เช่น ๔.๑ข้อกำหนดด้านมาตรฐานการขึ้นทะเบียนตำรับยา (ACTD) ๔.๒ข้อกำหนดด้านคุณภาพมาตรฐานของยา(ACTR) ๔.๓มาตรฐานการผลิตยาที่ดี(GMP)ตามหลักเกณฑ์ PIC/S ( Pharmaceutical Inspection Co-operation Scheme )
54
ผลกระทบAFTA ต่ออุตสาหกรรมสมุนไพรไทย
๑.อุสาหกรรมสมุนไพร๘ สาขา ประกอบ ๑.๑สาขาผู้ผลิตและค้าส่งสมุนไพรวัตถุดิบ(ประเทศป่าสมบูรณ์ ลาว พม่า อินโดนีเซีย) ๑.๒สาขาสารสกัดสมุนไพร(ประเทศเทคโนโลยีการผลิตสูง มาเลเซีย อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์) ๑.๓สาขายาสมุนไพร ( พัฒนาคุณภาพมาตรฐานสนองความต้องการภายในประเทศ) ๑.๔สาขาสมุนไพรเพื่อการผลิตสัตว์( พัฒนาคุณภาพมาตรฐานสนองความต้องการภายในประเทศ) ๑.๕สาขาสมุนไพรเพื่อการเกษตร( พัฒนาคุณภาพมาตรฐานสนองความต้องการภายในประเทศ) ๑.๖สาขาอาหารและผลิตภัณฑ์เสริมอาหารจากสมุนไพร (ไทยสู่ตลาดอาเซียน) ) ๑.๗สาขาเครื่องสำอางสมุนไพร(ไทยสู่ตลาดอาเซียน) ) ๑.๘สาขาผลิตภัณฑ์สปาและอุปกรณ์สมุนไพรเพื่อการแพทย์ทางเลือก(ไทยสู่ตลาดอาเซียน)
55
สถานการณ์อุตสาหกรรมยาสมุนไพร
๑.สถานการณ์ปัจจุบัน โรงงานผลิตยาสมุนไพร ๑๐๑๗ (มาเลเซีย ๕๐ แห่ง สิงคโปร์๒๐ แห่ง อินโดเนเซีย ๑๘๐๐ แห่ง)ASEAN GMP ๑๙ แห่ง Thai GMP ๒๔ แห่ง ๒..ACCSQ ( Asean Consultative Committee for Standards and Quality) of Traditional Medicine and Health Supplement กำหนด Asean GMP - PIC/S ( คาดการณ์เหลือประมาณ ๒๐๐ แห่ง) ๓.กำลังซื้อในประเทศ ๒๐๐๐ ล้านบาท/ปี ขณะที่ยาแผนปัจจุบันราว๑๐๐,๐๐๐ ล้านบาท/ปี (มาเลย์ ๔๐๐๐๐ล้านบาท/ปี) ทำให้ไม่คุ้มลงทุน ( สร้างใหม่๒๐ ล้านต่อแห่ง ปรับปรุง ๒ ล้านต่อแห่ง) ๓.เป้าหมายการใช้ยาสมุนไพรในสถานบริการ (ร้อยละ๑ใน รพศ/ร้อยละ๓ในรพท/ร้อยละ๕ในรพช./ร้อยละ๑๐ใน รพ.สต) ๔.มูลค่าการใช้ยาสมุนไพรแลผลิตภัณฑ์สมุนไพร ร้อยละ๒๕ เปรียบเทียบกับยาแผนปัจจุบัน( ๖๐,๐๐๐ ล้านบาทต่อปี)
56
ผลกระทบต่ออุตสาหกรรมยาสมุนไพรไทย
ถ้าไม่สามารถเข้าสู่มาตรฐานที่กำหนด ๑. หยุดดำเนินกิจการ ๒. การผลิตลดลง ต้องนำเข้ายาสมุนไพรมากขึ้น ๓. ลดการพึ่งพาตนเอง การดูแลสุขภาพในชุมชนอ่อนแอลง ๔. ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและสมุนไพรถูกทอดทิ้งไม่ได้รับการสานต่อใช้ประโยชน์ ๕. เกษตรในชนบทผู้ประกอบอาชีพปลูกสมุนไพรจะสูญหาย ถ้าสามารถเข้าสู่มาตรฐานที่กำหนดได้ “การเพิ่มศักยภาพการแข่งขันทั้งในและต่างประเทศ”
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.