ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
01131491 ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางการเงิน
Basic Research Methods in Financial เติมศักดิ์ สุขวิบูลย์ สิทธิเดช บำรุงทรัพย์ คณะวิทยาการจัดการ 4-5 : 30/31 ส.ค. 60
2
ศาสตร์กับการวิจัย
3
เหตุผลการแสวงหาความรู้
Rational of Acquiring Knowledge มนุษย์ต้องการพัฒนาคุณภาพชีวิตและความเป็นอยู่ ความรู้และความจริงที่เกิดขึ้นมีการเปลี่ยนแปลงได้ มนุษย์มักมีปัญหาตลอดเวลา เพราะมีประสบการณ์ใหม่ๆ ไม่ตอบสนองความต้องการ ไม่สามารถอธิบายหรือบอกสิ่งที่ต้องการรู้ การสังเกตสภาพแวดล้อมหรือเหตุการณ์ต่างๆ รอบตัว มนุษย์มีความอยากรู้ อยากเห็นและต้องการใหม่เสมอ 3
4
ระดับความรู้ (Level of Knowledge) วิเคราะห์ / สังเคราะห์ / วิจัย
Wisdom ปัญญา ประมวลทฤษฎี & ประสบการณ์ กฎ/ทฤษฎี Law/Theory สรุป / สังเคราะห์ / วิจัย ความรู้ Knowledge วิเคราะห์ / สังเคราะห์ / วิจัย ข่าวสาร Information จัดระบบ / ประมวล ข้อมูล Raw Data ข้อมูลดิบ
5
การพัฒนาความรู้ 1. การพัฒนาด้านความรู้/ความคิด (Cognitive Domain/พุทธิพิสัย) - การพัฒนาความรอบรู้ทางสมอง ความคิดและองค์ความรู้ 2. การพัฒนาด้านทักษะ (Psychomotor Domain/ทักษะพิสัย) - การพัฒนาความคล่องแคล่ว ความชำนาญ ความสามารถในการทำงาน 3. การพัฒนาด้านความเข้าใจ ค่านิยมและทัศนคติ (Affective Domain/จิตพิสัย) - การพัฒนาความเข้าใจและการยึดถือค่านิยมที่ดี จริยศึกษาหรือการมองโลก
6
การพัฒนาความคิด 1. ระดับความจำ (Knowledge)
ระดับความเข้าใจ (Comprehension) ระดับการรู้จักประยุกต์ (Application) 4. ระดับการวิเคราะห์ (Analysis) 5. ระดับการสังเคราะห์ (Synthesis) 6. ระดับการรู้จักประเมิน (Evaluation)
7
Characteristics of the Scientific Method
The Essence of the Scientific Method : Characteristics of the Scientific Method : Objectivity : Systematic Analysis : Logical Interpretation of Results Elements of the Scientific Method Empirical Approach Observations Questions Hypotheses Experiments Analysis Conclusion Replication General Laws Basic Research Scientific Method Applied Research Information or Ideas for alternative Courses of action
8
ลักษณะของศาสตร์ (Science)
ศาสตร์ :“ วิธีการวิเคราะห์ที่เป็นระบบ เป็นเหตุเป็นผลและเป็นวัตถุวิสัย ” จุดประสงค์ศาสตร์ - บรรยาย (Descriptive) - อธิบาย (Explanatory) - ทำนาย (Predictive) ปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้น/สังเกต วิธีการวิเคราะห์ - เป็นระบบ (Systematic) - เป็นเหตุเป็นผล (Logical) - เป็นวัตถุวิสัย (Objective) เพื่อ ระบบวิชาความรู้/องค์ความรู้ เนื้อหาวิชา (Content) วิธีการ (Method)
9
ศาสตร์ที่ว่าด้วยสาระเกี่ยวกับธรรมชาติ สิ่งมีชีวิตและ
สาขาของศาสตร์ วิทยาศาสตร์ธรรมชาติ (Natural Sciences) ศาสตร์ที่ว่าด้วยสาระเกี่ยวกับธรรมชาติ สิ่งมีชีวิตและ สิ่งไม่มีชีวิต * วิทยาศาสตร์กายภาพ (Physical Sciences) เช่น เคมี ฟิสิกส์ ธรณีวิทยา วิศวกรรม ปฐพีวิทยา * วิทยาศาสตร์ชีวภาพ (Biological Sciences) เช่น การเกษตร ป่าไม้ สัตว์ป่า สัตววิทยา ชีววิทยา
10
สาขาของศาสตร์ ศาสตร์ที่ว่าด้วยเกี่ยวกับพฤติกรรมทางสังคมของมนุษย์หรือ
วิทยาศาสตร์สังคม (Social Sciences) ศาสตร์ที่ว่าด้วยเกี่ยวกับพฤติกรรมทางสังคมของมนุษย์หรือ ปรากฏการณ์ทางสังคม ซึ่งจะมีการเกิดขึ้นและการเปลี่ยนแปลงอยู่ ตลอดเวลา Encyclopedia of Social Sciences แบ่งเป็น * สังคมศาสตร์บริสุทธิ์ (Pure Social Sciences) * กึ่งสังคมศาสตร์ (Semi Social Sciences) * ศาสตร์เกี่ยวกับสังคมศาสตร์ (Sciences with Social Implication) มนุษยศาสตร์ (Humanities) ศาสตร์ที่ว่าด้วยเกี่ยวกับผลผลิต/ผลงานของมนุษย์ที่ค้นคิดประดิษฐ์ โดยเป็นสุนทรียภาพหรือความงดงาม เช่น ดนตรี ภาษา วรรณกรรม ต่างๆ เป็นต้น
11
วิธีการค้นหาความรู้ Methods of Acquiring Knowledge
การไต่ถามผู้รู้ (Authority) - ผู้เชี่ยวชาญ (Scholar) - ผู้ชำนาญการ (Expert) การใช้ประสบการณ์ (Experience) อาศัยประสบการณ์ที่ผ่านมาและรวบรวมมาใช้ใน การแก้ปัญหาหรือการลองผิด/ลองถูก (Trial and Error) สรุปเป็นข้อเท็จจริงขึ้นมาใหม่
12
วิธีการค้นหาความรู้ Methods of Acquiring Knowledge
การอนุมาน (Deductive Method/ Syllogism/ Deductive Logic/ Inside-out Method) Aristotle นำวิธีการมาค้นหาความรู้/ข้อเท็จจริง โดยใช้ เหตุผล ด้วยการอ้างข้อเท็จจริงที่พบแล้วมาสรุปเป็นข้อเท็จ จริงใหม่ /ความรู้ใหม่ ข้อบกพร่อง : - ข้อสรุป/ข้อเท็จจริงที่ได้อาจไม่เป็นความจริง/สรุปได้ไม่ ชัดเจน - ข้อสรุปหรือข้อเท็จจริงที่ได้ไม่ใช่ความรู้ใหม่
13
วิธีการค้นหาความรู้ Methods of Acquiring Knowledge
การอุปมาน (Inductive Method) Francis Bacon เสนอให้มีการค้นคว้าหาความรู้ใหม่ /ข้อเท็จจริงใหม่ในลักษณะเก็บรวบรวมข้อมูล/ข้อเท็จจริง ย่อยๆ จำแนกประเภทตามลักษณะ หาความสัมพันธ์ แปล ความหมายและสรุป : - การอุปมานแบบสมบูรณ์ (Perfect Inductive Method) เก็บรวมรวมข้อเท็จจริงย่อยครบทุกหน่วยประชากร - การอุปมานแบบไม่สมบูรณ์ (Imperfect Inductive Method)เก็บรวมรวมข้อเท็จจริงย่อยจากตัวอย่างบางส่วน ประชากร
14
วิธีการค้นหาความรู้ Methods of Acquiring Knowledge
วิธีการทางวิทยาศาสตร์ (Scientific Method) Charles Darwin เป็นผู้นำค้นคว้าวิธีการมาใช้ศึกษาหา ข้อเท็จจริงและความรู้ใหม่ โดยอาศัยใช้วิธีการ : - Deductive Method - Inductive Method
15
วิธีการทางวิทยาศาสตร์ (Scientific Method)
The Role of Reasoning
16
วิธีการค้นหาความรู้ Methods of Acquiring Knowledge
Sound Reasoning Types of Discourse การบรรยาย Exposition คำอธิบาย/คำจำกัดความ Argument การโต้แย้ง/พิสูจน์ Deduction Induction
17
วิธีการทางวิทยาศาสตร์ (Scientific Method)
Direct observation Clearly defined variables Clearly defined methods Empirically testable Elimination of alternatives Statistical justification Self-correcting process
18
วิธีการทางวิทยาศาสตร์ (Scientific Method)
“The Analysis and Interpretation of Empirical Evidence (Facts from Observation or Experimentation) to Confirm or Disprove Prior Conceptions.” “การวิเคราะห์ และการแปลความหมายของหลักฐานเชิงประจักษ์ (ข้อเท็จจริงจากการสังเกตหรือการทดลอง) เพื่อยืนยันหรือหักล้างแนวคิดก่อน”
19
วิธีการทางวิทยาศาสตร์ (Scientific Method)
วิทยาศาสตร์ (Science) หมายถึง - ความรู้ที่ได้โดยการสังเกตและค้นคว้าจากการประจักษ์ทางธรรมชาติ แล้วจัดเข้าเป็นระเบียบ (ราชบัณฑิตยสถาน,2546 : 1075) - วิทยาศาสตร์มีความแตกต่างจากสามัญสานึก (Common Sense) (Kerlinger,1986 : 3-5) วิธีการทางวิทยาศาสตร์ (Scientific Method) เป็นวิธีการแสวงหาความรู้อย่างมีระเบียบ แบบแผน มีการเก็บรวบรวมข้อมูลที่เป็นระบบ มีการทดสอบข้อเท็จจริงใหญ่และข้อเท็จจริงย่อยมากกว่าการสมมุติให้เป็นความจริง
20
วิธีการทางวิทยาศาสตร์ (Scientific Method)
การตรวจสอบและนิยามปัญหา Identification and Definition of the Problem การตั้งสมมติฐาน Formulation of Hypothesis การรวบรวมข้อมูล จัดระเบียบและการวิเคราะห์ข้อมูล Collection Organization and Analysis of Data การสรุป Formulation of Conclusion การยืนยัน ปฏิเสธ หรือปรับสมมติฐาน Verification Rejection or Modification of Hypothesis
21
พื้นฐานการสำรวจและศึกษาวิจัย :
ความแตกต่างระหว่าง Social Sciences กับ Natural Sciences 1. หน่วยการศึกษาวิเคราะห์ (Unit of Analysis) - มุ่งที่ศึกษาความสัมพันธ์ของ มุ่งเน้นที่จะศึกษาหน่วยหรือ มนุษย์ในฐานะมนุษย์จะอยู่ ปรากฎการณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้น ร่วมกันเป็นกลุ่ม/เป็นสังคม เกิดขึ้น/มีอยู่โดยธรรมชาติ 2. กระบวนการศึกษา (Process of Study) - เน้นใช้การศึกษาเชิงคุณภาพ เน้นการศึกษาเชิงปริมาณ (Qualitative approach) มากกว่า (Quantitative approach) มากกว่า 3. ค่านิยมในการศึกษา (Values in Study) - โอกาสที่จะมีอคติในการศึกษา ความรู้สึกผูกพันกับหน่วย ได้ง่ายกว่า ในการศึกษาน้อยกว่า
22
ความแตกต่างระหว่าง วิทยาศาสตร์กับสามัญสำนึก
ลักษณะ วิทยาศาสตร์ สามัญสานึก การเป็นระบบ มีระเบียบแบบแผนตาม วิธีการทางวิทยาศาสตร์ ใช้ความรู้สึกนึกคิดของ ตนเอง การทดสอบทฤษฏีและ สมมุติฐาน ทดสอบอย่างเป็นระบบ และเชิงประจักษ์ ใช้ความนิยมเป็นเกณฑ์ การควบคุม มีการควบคุม ปรากฏการณ์หรือตัวแปร ใช้ความคิดของตนเอง การอธิบายปรากฏการณ์ อธิบายด้วย ความระมดระวังโดย ใช้หลักความเป็นจริง อ้างเหตุผลไม่ชัดเจน การศึกษาความสัมพันธ์ ของปรากฏการณ์ มีระบบที่ชัดเจน มีการ ควบคุมทั้งสาเหตุและผล ไม่มีระบบและการควบคุม ตามทฤษฏี
23
หลักวิทยาศาสตร์กับการวิจัย
1. ความเป็นระบบ (Systematic) การวิจัยเป็นการศึกษาอย่างเป็นขั้นตอนตามลำดับของเหตุและผล โดยจัดเป็นระบบที่ ถูกต้องและสอดคล้องตามหลักของตรรกศาสตร์ ไม่ควรจะ เป็นเพียงการเก็บรวบรวมขอเท็จ จริงบางอย่างเท่านั้น 2. การศึกษาปฏิสัมพันธ์ (Interaction) การพิจารณาปฏิสัมพันธ์ที่เกิดขึ้นระหว่างพฤติกรรมหรือปรากฏการณ์นั้น ๆ โดยใช้ เครื่องมือหลากหลายที่จะใช้เก็บรวบรวมข้อมูลมาวิเคราะห์เพื่อให้ได้รับผลลัพธ์ที่แสดงได้ อย่างชัดเจนในปฏิสัมพันธ์เชิงเหตุและผลที่เป็นไปได้และมีความน่าเชื่อถือ 3. ลักษณะความเป็นพลวัตร (Dynamic) สภาวะพฤติกรรมหรือปรากฏการณ์ย่อมจะเกิดขึ้นเสมอ ๆ ตามเวลาที่มีการเปลี่ยนแปลง และจะต้องแสวงหาวิธีการที่จะใช้อธิบายพฤติกรรมหรือปรากฏการณ์ในเชิงเหตุและผลที่มี ความเป็นไปได้ตลอดเวลา
24
ความแตกต่างระหว่าง การวิจัยเชิงปริมาณ กับ การวิจัยเชิงคุณภาพ
25
ความแตกต่างระหว่าง การวิจัยเชิงปริมาณ กับ การวิจัยเชิงคุณภาพ
26
การดำเนินการเก็บรวบรวมข้อมูล
1. วิธีการทดลอง (Experimental Design) การเก็บรวบรวมข้อมูลโดยจะต้องอาศัยการวางแผนการทดลองมาช่วย ในการวิจัยทางสังคมใช้วิธีนี้ไม่ได้ โดยมากจะใช้กับการทดลองทางด้านวิทยาศาสตร์ การแพทย์และวิศวกรรมศาสตร์ 2. วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลจากรายงาน (Reporting System) การเก็บรวบรวมข้อมูลโดยการเก็บข้อมูลจากรายงาน เอกสาร ผลงานวิจัยหรือผลงานอื่นๆ ที่มีการทำไว้ก่อนหน้า ซึ่งเป็นข้อมูลพื้นฐาน 3. วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลจากทะเบียน (Registration) การเก็บรวบรวมข้อมูลโดยข้อมูลสถิติจากระบบทะเบียนจากแหล่งเบื้องต้นของข้อมูลเป็นเอกสารการทะเบียน ซึ่งมีลักษณะต่อเนื่องมีการปรับแก้หรือเปลี่ยนแปลงให้ถูกต้องทันสมัยทำให้ได้สถิติที่ต่อเนื่องเป็นอนุกรมเวลา
27
การดำเนินการเก็บรวบรวมข้อมูล
4. วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลโดยวิธีสำมะโน (Census) การเก็บรวบรวมข้อมูลโดยเก็บข้อมูลสถิติของทุกๆ หน่วยของประชากรที่สนใจศึกษาภายในพื้นที่ที่กำหนด และระยะเวลาที่กำหนดการเก็บรวบรวม ข้อมูลสถิติด้วยวิธีนี้จะทำให้ได้ข้อมูลในระดับพื้นที่ย่อย เช่น หมู่บ้าน ตำบล อำเภอ และทำให้ได้ข้อมูลที่เป็นค่าจริง 5. วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลโดยวิธีสำรวจ (Sample Survey) การเก็บรวบรวมข้อมูลสถิติจากบางหน่วยของประชากรด้วยวิธีการสุ่มตัวอย่าง/การสำรวจด้วยตัวอย่าง (Sample Survey) ด้วยการเก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสังเกต/โดยการวัดค่าต่างๆ จากบางหน่วยของประชากร จะทำให้ได้ข้อมูลในระดับรวม เช่น จังหวัด ภาค เขตการปกครองและรวมทั่วประเทศ และข้อมูลที่ได้จะเป็นค่าโดยประมาณการสำรวจเป็นวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลที่ใช้งบประมาณ เวลาและกำลังคนไม่มากนัก
28
รูปแบบการสร้างทฤษฎีแห่งวิทยาศาสตร์
Deductive Theory Building Functional Theory Building ทฤษฎี (Theories) INDUCTIVE LOGIC EMPIRICAL BASED DEDUCTIVE LOGIC THEORY BASED การสรุปจากข้อเท็จจริง (Empirical generalization) สมมติฐาน (Hypothesis) Inductive Theory building Model based Theory Building การสังเกต/ เก็บข้อมูล (Observation)
29
วงล้อการวิจัย (The Research Wheel) แบบที่ 1
การกลั่นกรองและคำถามใหม่ (Refinement and new question) ความคิด (idea) เอกสาร (Literature) การเผยแพร่ (Dissemination) ทฤษฎี (theory) การอนุมาน (Deduction) ผลและข้อค้นพบ (Results and findings) สมมติฐาน (Hypothesis) นิยามและการวัด (Operational definition and measurement) การวิเคราะห์ (Analysis) การจัดการข้อมูล (Data organization) แบบแผนการวิจัย (Research design) การเก็บข้อมูล (Data collection)
30
วงล้อการวิจัย (The Research Wheel) แบบที่ 2
กรอบแนวคิด (ทฤษฎี,เอกสารที่เกี่ยวข้อง) สิ่งที่เป็นข้อเสนอ คำถามในการวิจัย สมมุติฐาน การสังเกตข้อเท็จจริง การวิเคราะห์ข้อมูล การเก็บรวบรวมข้อมูล Deduction (อนุมาน) Induction (อุปมาน)
31
ขั้นตอนและกระบวนการวิจัย
32
ขั้นตอนในกระบวนการทำวิจัย (Steps of Research Process)
เลือกหัวข้อ (Choose Topic) ตั้งคำถามในการวิจัย (Focus Research Question) บอกกล่าวผู้อื่น (Inform Others) ตีความข้อมูล (Interpret Data) ออกแบบการวิจัย (Research Design) วิเคราะห์ข้อมูล (Analyze Data) เก็บรวบรวมข้อมูล (Collect Data)
33
กระบวนการวิจัย 1.กำหนดประเด็นปัญหา 9.เสนอผลงานวิจัยและเขียนรายงาน
2.สำรวจและทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง 8.ดำเนินการกับข้อมูลและ วิเคราะห์ข้อมูล 3.กำหนดสมมติฐานเพื่อทดสอบ 7.สร้างเครื่องมือเก็บข้อมูลและดำเนินการเก็บข้อมูล 4.เลือกแบบวิจัย 6.นิยามปฏิบัติการและสร้างตัวชี้วัด 5.กำหนด ประชากรเป้าหมายและสุ่มตัวอย่าง
34
ลำดับขั้นตอนการวิจัย
(The Research Sequence) ระบุสาขาหัวข้อกว้างๆ (Identify Boardarea) เลือกหัวเรื่องที่จะทำ (Select Topic) ตัดสินใจเลือกวิธีการที่จะใช้ (Decide Approach) กำหนดแผนการวิจัย (Formulate Plan) เก็บรวบรวมข้อมูล (Collect Information) วิเคราะห์ข้อมูล (Analyze Data) เสนอผลการวิจัยที่ค้นพบ (Present Findings)
35
การออกแบบการวิจัยในระดับทฤษฎีและระดับปฏิบัติ เปลี่ยนจากหัวข้อวิจัย
เลือกหัวข้อวิจัย เปลี่ยนจากหัวข้อวิจัย เป็นคำถามในการวิจัย ระดับทฤษฎี บ่งชี้ตัวแปรที่ใช้ในการศึกษา กำหนดเงื่อนไขในการตั้ง สมมุติฐาน ตัดสินใจในหน่วยวิเคราะห์, ประชากร พัฒนาเครื่องมือในการวัด ออกแบบ การวิจัย ระดับปฏิบัติ การเก็บรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล การตีความข้อมูล การนำเสนอผลวิจัย
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.