งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ใบสำคัญรับรอง การจัดการป่าไม้อย่างยั่งยืน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ใบสำคัญรับรอง การจัดการป่าไม้อย่างยั่งยืน"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ใบสำคัญรับรอง การจัดการป่าไม้อย่างยั่งยืน
ใบสำคัญรับรอง การจัดการป่าไม้อย่างยั่งยืน กรมป่าไม้ 26 กันยายน รามาการ์เด้น กรุงเทพมหานคร

2 บทนำ

3

4

5 กรมป่าไม้ Royal Forest Department 17 July, 2017
มอก เล่ม TIS กรมป่าไม้ Royal Forest Department 17 July, 2017

6

7 7 criteria of TIS 4.1 การปฏิบัติตามข้อกำหนดกฎหมาย 4.2 การบำรุงรักษาสวนป่าอย่างเหมาะสม เพื่อเป็นแหล่งกักเก็บคาร์บอน 4.3 การรักษาความสมบูรณ์และระบบนิเวศของสวนป่า 4.4 การรักษาสภาพและการสนับสนุนการทำหน้าที่ด้านผลผลิตของสวนป่า (ผลผลิตเนื้อไม้และผลผลิตที่ไม่ใช่เนื้อไม้) 4.5 การรักษาสภาพ การอนุรักษ์และการส่งเสริมความหลากหลายทางชีวภาพของระบบนิเวศสวนป่า 4.6 การรักษาสภาพและการส่งเสริมการทำหน้าที่ด้านการป้องกันของการจัดการสวนป่า (เพื่อการอนุรักษ์ดินและน้ำ) 4.7 การรักษาสภาพการทำหน้าที่ด้านเศรษฐกิจสังคมของสวนป่า

8 การปฏิบัติตามข้อกำหนดกฎหมาย
1. การจัดการสวนป่าต้องปฏิบัติตามกฎหมายในระดับ ท้องถิ่น ระดับประเทศ และระดับระหว่างประเทศที่ ประเทศไทยลงนามในข้อตกลง ที่เป็นปัจจุบัน ซึ่ง เกี่ยวข้องกับการป้องกันธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม ชนิด พันธุ์สงวน และชนิดพันธุ์ใกล้สูญพันธุ์ สิทธิใน ทรัพย์สิน สิทธิถือครองที่ดิน และสิทธิการใช้ ประโยชน์ของชนพื้นเมือง สุขอนามัย แรงงาน และ ความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน และการจ่าย ค่าธรรมเนียม ค่าภาคหลวงและภาษีต่างๆ 2. การจัดการสวนป่า ต้องจัดให้มีมาตรการอย่างเพียงพอ ในการป้องกันสวนป่า จากกิจกรรมผิดกฎหมายต่างๆ เช่น การลักลอบตัดต้นไม้ การเผาป่า การใช้ที่ดิน อย่างผิดกฎหมาย และการกระทำที่ผิดกฎหมายอื่นๆ

9 กระบวนการผลิตไม้เศรษฐกิจ
ผลกระทบ ที่ดิน แรงงาน input ปัจจัยนำเข้า ปลูก ตัด แปรรูป ขนส่ง process กระบวนการ ไม้ท่อน ผลิตภัณฑ์ output ผลผลิต

10 Timber Production and legislation
Forestry Act A.D. 1941 sources process transport Trading Export permit Customs duty NRF Act A.D. 1964 Custom 2017 Import export 1979 Import export 1979 Land code 1955 Revenue code

11 กระบวนการออกใบสำคัญ

12 ใบสำคัญรับรองการจัดการป่าไม้อย่างยั่งยืน
หน่วยงานอออกหนังสือ

13 มอก มอก. 2861 ระบบดิจิทัล กรมป่าไม้

14 7 criteria of TIS 4.1 การปฏิบัติตามข้อกำหนดกฎหมาย 4.2 การบำรุงรักษาสวนป่าอย่างเหมาะสม เพื่อเป็นแหล่งกักเก็บคาร์บอน 4.3 การรักษาความสมบูรณ์และระบบนิเวศของสวนป่า 4.4 การรักษาสภาพและการสนับสนุนการทำหน้าที่ด้านผลผลิตของสวนป่า (ผลผลิตเนื้อไม้และผลผลิตที่ไม่ใช่เนื้อไม้) 4.5 การรักษาสภาพ การอนุรักษ์และการส่งเสริมความหลากหลายทางชีวภาพของระบบนิเวศสวนป่า 4.6 การรักษาสภาพและการส่งเสริมการทำหน้าที่ด้านการป้องกันของการจัดการสวนป่า (เพื่อการอนุรักษ์ดินและน้ำ) 4.7 การรักษาสภาพการทำหน้าที่ด้านเศรษฐกิจสังคมของสวนป่า

15 การปฏิบัติตามข้อกำหนดกฎหมาย
1. การจัดการสวนป่าต้องปฏิบัติตามกฎหมายในระดับ ท้องถิ่น ระดับประเทศ และระดับระหว่างประเทศที่ ประเทศไทยลงนามในข้อตกลง ที่เป็นปัจจุบัน ซึ่ง เกี่ยวข้องกับการป้องกันธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม ชนิด พันธุ์สงวน และชนิดพันธุ์ใกล้สูญพันธุ์ สิทธิใน ทรัพย์สิน สิทธิถือครองที่ดิน และสิทธิการใช้ ประโยชน์ของชนพื้นเมือง สุขอนามัย แรงงาน และ ความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน และการจ่าย ค่าธรรมเนียม ค่าภาคหลวงและภาษีต่างๆ 2. การจัดการสวนป่า ต้องจัดให้มีมาตรการอย่างเพียงพอ ในการป้องกันสวนป่า จากกิจกรรมผิดกฎหมายต่างๆ เช่น การลักลอบตัดต้นไม้ การเผาป่า การใช้ที่ดิน อย่างผิดกฎหมาย และการกระทำที่ผิดกฎหมายอื่นๆ

16 กฎหมายระดับท้องถิ่น ระดับชาติ ระดับระหว่างประเทศ
กฎหมายมหาชน หมายถึง กฎหมายที่กำหนด ความสัมพันธ์ระหว่างรัฐกับรัฐ รัฐกับองค์กรของ รัฐ หรือรัฐกับเอกชน ในฐานะที่รัฐมีฐานะเหนือ เอกชน กฎหมายบางฉบับใช้กับบุคคลโดยทั่วไป หรือบาง ฉบับใช้กับบุคคลบางประเภท จึงมีแนวคิดในการ แบ่งแยกกฎหมายเพื่อความสะดวกในการตีความและ การบังคับใช้ ซึ่งสามารถแบ่งกฎหมายได้ 2 ลักษณะใหญ่ คือ กฎหมายเอกชน และกฎหมาย มหาชน          

17 กฎหมายระดับท้องถิ่น ระดับชาติ ระดับระหว่างประเทศ
ความแตกต่างของกฎหมายเอกชน และกฎหมาย มหาชน ความหมายหรือลักษณะของกฎหมายมหาชนกับ กฎหมายเอกชนนั้น ได้มีนักคิดนักปรัชญา หรือ นักนิติศาสตร์หลายท่านได้ให้นิยามความหมายหรือ ลักษณะของกฎหมายมหาชน ได้แก่ Ulpien กล่าวไว้ว่า “กฎหมายมหาชนคือกฎหมายที่ กำหนดสถานะของรัฐ กฎหมายเอกชน คือ กฎหมายที่เกี่ยวกับการบังคับเอกชน เป็นเรื่อง เกี่ยวกับผลประโยชน์ของเอกชน”

18 กฎหมายระดับท้องถิ่น ระดับชาติ ระดับระหว่างประเทศ
Maurice Duverger กล่าวไว้ว่า “กฎหมายมหาชน คือกฎหมายที่กล่าวถึงกฎเกณฑ์ทั้งหลายที่เกี่ยวกับ สถานะและอำนาจของผู้ปกครอง รวมทั้ง ความสัมพันธ์ระหว่างรัฐต่อรัฐ รัฐต่อองค์กรของ รัฐ รัฐต่อเอกชน หรืออาจกล่าวได้ว่าเป็น ความสัมพันธ์ระหว่างผู้ปกครองกับผู้อยู่ใต้ปกครอง ในฐานะที่รัฐมีเหนือราษฎร” ศาสตราจารย์ ดร.หยุด แสงอุทัย ได้กล่าวไว้ ว่า “กฎหมายมหาชนได้แก่กฎหมายที่บัญญัติถึง ความสัมพันธ์ระหว่างรัฐ หรือหน่วยงานของรัฐ กับราษฎร ในฐานะที่รัฐเป็นฝ่ายปกครองในฐานะ ที่รัฐมีฐานะเหนือราษฎร”

19 กฎหมายระดับท้องถิ่น ระดับชาติ ระดับระหว่างประเทศ
ดังนั้น สามารถสรุปลักษณะของความแตกต่าง โดยทั่วไประหว่างกฎหมายเอกชน และกฎหมาย มหาชนได้ว่า ลักษณะสำคัญของกฎหมายมหาชน คือ รัฐสามารถมีอำนาจกระทำการใดๆ ได้เท่าที่ กฎหมายให้อำนาจไว้เท่านั้น และลักษณะของ กฎหมายเอกชน คือ เป็นสิ่งที่เอกชนนั้นสามารถ ทำได้ตามสิทธิและเสรีภาพของตน เว้นแต่จะมี กฎหมายกำหนดห้ามไว้

20 กฎหมาย กฎหมาย เป็นระบบของกฎและแนวทางปฏิบัติซึ่งบังคับใช้ ผ่านสถาบันทางสังคมเพื่อควบคุมพฤติกรรม และใช้เป็น สื่อกลางความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลในทางสังคม กฎหมายสัญญา วางระเบียบทุกอย่างตั้งแต่การซื้อตั๋วรถ โดยสารประจำทางถึงการซื้อขายบนตลาด ตราสาร อนุพันธ์ กฎหมายว่าด้วยทรัพย์สิน นิยามสิทธิและ หนี้ ซึ่ง เกี่ยวข้องกับการโอนและกรรมสิทธิ์ของ สังหาริมทรัพย์ ส่วนตัว และ อสังหาริมทรัพย์ กฎหมายทรัสต์ (Trust law) ใช้กับสินทรัพย์ที่ถือไว้เพื่อการลงทุน และความมั่นคงทางการเงิน ขณะที่กฎหมายละเมิด (tort) อนุญาตให้เรียกร้องให้มีการจ่ายค่าสินไหมทดแทนหากสิทธิ หรือทรัพย์สินของบุคคลได้รับความเสียหาย หากความ เสียหายนั้นถูกประกาศว่า มิชอบด้วยกฎหมายในบทบัญญัติ แห่งกฎหมาย

21 กฎหมาย กฎหมายอาญา ให้วิธีการซึ่งรัฐสามารถดำเนินคดีกับ ผู้กระทำผิดได้ กฎหมายรัฐธรรมนูญ กำหนดกรอบสำหรับการบัญญัติ กฎหมาย การคุ้มครอง สิทธิมนุษยชน และการเลือกตั้ง ผู้แทนทางการเมือง กฎหมายปกครอง ใช้เพื่อทบทวนการวินิจฉัยของ หน่วยงานภาครัฐ ขณะที่ กฎหมายระหว่างประเทศ ควบคุมกิจการระหว่างรัฐเอกราช ในกิจกรรมตั้งแต่การค้าไปจนถึงระเบียบทางสิ่งแวดล้อม หรือการปฏิบัติทางทหาร

22 กฎหมาย รัฐธรรมนูญ พระราชบัญญัติธรรมนูญการปกครองแผ่นดิน ธรรมนูญการปกครองราชอาณาจักร กฎหมายเลือกตั้ง สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กฎหมายพรรคการเมือง กฎหมาย เกี่ยวกับการออกเสียงแสดงประชามติ กฎหมายเกี่ยวกับวิธีพิจารณา ของคณะตุลาการรัฐธรรมนูญ ประกาศของคณะปฏิวัติ กฎหมายภาษีอากร กฎหมายแรงงาน กฎหมายเกี่ยวกับการจดทะเบียนสิทธิและนิติ กฎหมายงบประมาณ กฎหมายรัฐธรรมนูญ กฎหมายปกครอง กฎหมายการคลัง กฎหมายอาญา ประมวลกฎหมายอาญา ประมวลกฎหมายอาญาทหาร กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา วิธีพิจารณาความในศาลคดีเด็ก และเยาวชน กฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง กฎหมายล้มละลาย กฎหมายว่าด้วยธรรมนูญศาลยุติธรรม กฎหมายเศรษฐกิจ

23 กฎหมาย อสังหาริมทรัพย์ ในทางกฎหมาย ได้แก่ ที่ดิน และทรัพย์สินอื่นที่ ติดอยู่กับที่ดินมีลักษณะเป็นการถาวรหรือประกอบเป็นอันเดียวกับ ที่ดินนั้น เช่น อาคาร บ้านเรือน ถ้าจะมีการกระทำการซื้อขาย อสังหาริมทรัพย์ ไม่ว่าจะเป็นที่ดิน อาคาร บ้านเรือน ในทาง กฎหมายกำหนดให้ต้องทำสัญญาหนังสือ ให้เป็นลายลักษณ์อักษร เช่นโฉนด หรือทะเบียนที่ดินเป็นเอกสารที่แสดงความเป็นเจ้าของ ที่ดินแปลงนั้นๆ ทั้งนี้ก็เพราะว่าอสังหาริมทรัพย์ เป็นทรัพย์สินทีมี มูลค่าสูงจึงต้องมีกฎหมายควบคุมเพื่อไม่ให้เกิดปัญหา อสังหาริมทรัพย์ หมายถึง ที่ดิน ทรัพย์อันติดกับที่ดิน หรือ ประกอบเป็นอันเดียวกับที่ดิน รวมทั้งสิทธิทั้งหลายอันเกี่ยวกับ กรรมสิทธิ์ที่ดินด้วย จากนิยามดังกล่าว อาจแบ่งอสังหาริมทรัพย์ ออกได้ดังนี้

24 กฎหมาย 1. ที่ดิน หมายถึง พื้นดินทั่วไป รวมทั้งภูเขา ห้วย หนอง คลอง บึง บาง ลำน้ำ ทะเลสาบ เกาะและ ที่ชายทะเลด้วย 2. ทรัพย์อันติดกับที่ดิน ได้แก่ ไม้ยืนต้น อาคาร โรงเรือน หรือ สิ่งก่อสร้างบนที่ดิน เช่น บ้าน, ทาวน์เฮาส์ 3. ทรัพย์ซึ่งประกอบเป็นอันเดียวกับที่ดิน ได้แก่ แม่น้ำ ลำคลอง แร่ธาตุ กรวด ทราย ที่มีอยู่ตาม ธรรมชาติ หรือซึ่งมนุษย์นำมารวมไว้กับที่ดินจน กลายเป็นส่วนหนึ่งของพื้นดินตามธรรมชาติ 4. สิทธิทั้งหลายอันเกี่ยวกับกรรมสิทธิ์ในที่ดิน ได้แก่ กรรมสิทธิ์ในที่ดินที่มีโฉนด สิทธิครอบครองในที่ดิน ที่ไม่มีโฉนด ภาระจำยอม สิทธิอาศัย สิทธิเหนือ พื้นดิน

25 กฎหมาย กฎหมายระหว่างประเทศ (อังกฤษ: international law) หมายถึง กฎ กฎเกณฑ์ และข้อตกลงที่เกิดขึ้นจากความ ตกลงหรือการแสดงเจตนาเข้าผูกพันของรัฐตั้งแต่สองรัฐขึ้น ไป และมักใช้เป็นหลักในการพิจารณาข้อพิพาทระหว่าง ประเทศ

26 ข้อตกลง สัญญา Sanitary and Phytosanitary (SPS) will have to comply with WTO-SPS agreement under the respective authority. Formaldehyde emission for plywood products. average value of 5.0 mg/l and maximum value of 7.0 mg/l

27 Thai Legislation. Forest Act, 1941:
Section 7 Teak, Yang, Rose wood, Ked-Daeng wood (Dalbergia Oliveri Gamble), E-Meng wood (Dalbergia Oliveri Gamble), e.g.. Wherever in the Kingdom that it grew up, it is type A restricted plants, other woods in the forest are which types of restricted plants will be identify by Royal decree. Section 11 Whoever desires to do logging, drilling, chopping, burning or injuring by any manner whatsoever to restricted timber shall have license granted by competence officer Section 14 A licensee shall pay a royalty

28 Thai Legislation. Forest Act, 1941:
Section 39 Any person who transports timber or forest product shall have and bring a transportation certificate given by a competence officer Section 48 Within transformed timber control area, no person shall transform timber, establish transformed timber factory, establish transformed timber trading place, possess transformed teak, or possess other transformed timber more than 0.20 cubic meter, except by license of a competence officer

29 Thai Legislation. Ministerial Regulation No. 25 (1976) issued under Forest Act, 1941 on transformation of timber and possession of transformed timber Ministerial Regulation No. 26 (1985) issued under the Forest Act, 1941 on transportation of timber or forestry product. Ministerial Regulation No. 27 (1987) issued under Forest Act, 1941 on trading or possession for trading of timber products, equipment or anything derive from Restricted Species. Rule of Royal Forest Department laying down for checking, sealing, collection the royalty of timber, firewood or charcoal, 1967 Circular Notice of RFD No. Gor Sor /540 issuing on 23 January 2003

30 Thai Legislation. 1 Economic 1.1 Forest Act, 1941
1.2 National Reserved Forest Act, 1964 1.3 Forest Plantation Act, 1992 1.4 Agricultural Land Reform Act, 1975 1.5 Land for the Livelihood Act, 1968

31 Thai Legislation. 1.6 State Land Act, 1975 1.7 Land Code
1.8 Civil and Commercial Code 1.9 Export and Import of Goods Act, 1979 1.10 Customs Act, 1926 1.11 The Customs Tariff Decree, 1987

32 Thai Legislation. 2. Social
2.1 State Enterprise Labour Relations Act, 2000 2.2 Labour Protection Act, 1998 2.3 Occupational Safety, Health and Environment Act, 2011 2.4 The Establishment of Labour Court and Procedure Act, 1979 2.5 Alien Working Act, 2008 2.6 Land Transportation Act, 1979

33 Thai Legislation. 3. Environment 3.1 Chainsaw Act, 2002
3.2 National Reserved Forest Act, 1964 3.3 Hazardous Substance Act, 1992 3.4 Factory Act, 1992 3.5 The Enhancement and Conservation of National Environmental Quality Act, 1992

34 การตรวจประเมินสวนป่าเพื่อออกใบสำคัญรับรอง

35 Criteria and Indicators for AMS

36 The ASEAN’s six elements of Legality
(1) Compliance with all relevant forest laws and regulations (2) Payment of all statutory charges (3) CITES compliance (4) Implementation of a system that allows for the tracking of logs to the forest of origin

37 The ASEAN’s six elements of Legality
(5) The timber must be harvested by parties who have the legal rights to carry out the logging at the designated forest area based on an approved cut (6) The party which harvests the timber shall comply with the laws governing social and environmental aspects, i.e. workers’ safety and health, as well as environmental impact assessment

38 ASEAN Timber Legality Standard
• ASEAN Guidelines on Phased-approaches to Forest Certification (PACt), Version April 2008 • Strategic Schedule for ASEAN Economic Community (FOOD, AGRICULTURE AND FORESTRY), Version August 2008 • ASEAN Criteria and Indicators for Sustainable Management of Tropical Forests • Framework for ASEAN Regional Criteria and Indicators for Sustainable Management of Natural Tropical Forests (ASEAN Forestry Publication Series No.1)

39 ASEAN Timber Legality Standard
• Malaysian Timber Legality Assurance System (draft developed within the EU Malaysian VPA negotiations) • Indonesian System of Timber Legality Verification (draft) • Recommendations given at the ASEAN Training Workshop on Timber Verification of Legality Systems in Brunei on

40 Publicly available standards of timber legality verification
• Generic standard for verification of legal origin developed by SmartWood (SW VL-01, November 2007) • Generic standard for verification of legal compliance developed by SmartWood (SW VL-02, November 2007) • Timber Legality & Traceability Verification (TLTV) developed by SGS (ADTLTV-33_S-02, January 2008)

41 Publicly available standards of timber legality verification
• Principles, Criteria and Indicators of Legality for Forestry Operations and Timber Processing developed by the Global Forest Trade Network • FLEGT Briefing Note No. 2 (Legality) • Revised ITTO criteria and indicators for the sustainable management of tropical forests including reporting format. ITTO Policy Development Series No. 15, 2005 • UK Government Timber Procurement Policy: Criteria for Evaluating Certification Schemes: Category A Evidence (CPET, May 2006)

42 6 Criteria and 13 Indicators
ASEAN Timber Legality Standard

43 Criterion 1: The Forest Management Enterprise holds the legal right to operate and to harvest timber at the designated forest area. Indicator 1.1: The FME has legal authorization to conduct forestry-related business in accordance with the requirements of the country where it operates. Indicator 1.2: The FME has legal authorization to harvest in the FMU under verification, as proven by a valid permit or license issued pursuant to the laws and regulations governing the management of forest resources, including customary laws where legally recognized. Indicator 1.3: The FMU is unambiguously delineated and dedicated to forest utilization.

44 Criterion 2: The Forest Management Enterprise holds approved authorization for its harvesting operations, based on an approved cut Indicator 2.1: The FME can demonstrate that it has received a valid approval by the relevant authorities for its current harvesting operations and other related activities, based on a proper planning process.

45 Criterion 3: The Forest Management Enterprise fulfils CITES compliance and the requirements of relevant environmental laws and regulations. Indicator 3.1: The FME conducts environmental impact assessments where and when appropriate. Indicator 3.2: The FME implements mitigation measures to minimize negative environmental impacts in accordance with its own assessments and relevant laws and regulations. Indicator 3.3: The FME complies with the applicable provisions and requirements of the Convention on International Trade in Endangered Species of Wild Fauna and Flora (CITES).

46 Criterion 3: The Forest Management Enterprise fulfils CITES compliance and the requirements of relevant environmental laws and regulations. Indicator 3.4: The FME fulfils required procedures for protected tree species within the FMU in accordance with the relevant laws and regulations. Indicator 3.5: The FME cooperates with relevant agencies in implementing adequate measures to prevent any unauthorised activities by third parties within the FMU.

47 Criterion 4: The Forest Management Enterprise fulfils the requirements of relevant social laws and regulations. Indicator 4.1: The FME fully observes the use rights of local communities in accordance with relevant laws and regulations. Indicator 4.2: The FME complies with the relevant laws and regulations on employees’ and workers’ occupational health and safety requirements.

48 Criterion 5: The Forest Management Enterprise has paid all statutory charges directly related to timber harvesting and timber trade. Indicator 5.1: The FME has paid all applicable and legally prescribed fees, royalties, taxes and other charges to the appropriate authority in a timely manner, as documented through clear evidence.

49 Criterion 6: The Forest Management Enterprise implements a traceability system that allows for the tracking of all logs from the forest gate to the relevant harvesting sites. Indicator 6.1: The FME applies a traceability system which properly controls and documents all timber flows from the harvesting area to the forest gate. Indicator 6.2: The traceability system effectively controls the risk of mixing verified legal and non-verified forest products within the remit of the FME. Indicator 6.3: Forest products verified as legal can be properly identified at the forest gate through a clear system of documentation and marking.

50 นักปรัชญากรีก อริสโตเติล เขียนไว้เมื่อ 350 ปีก่อนคริสตกาลว่า "นิติธรรมดีกว่าการปกครองของปัจเจกบุคคลใด ๆ"

51 ขอบคุณครับ


ดาวน์โหลด ppt ใบสำคัญรับรอง การจัดการป่าไม้อย่างยั่งยืน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google