งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

อาจารย์ ดร. นฤมล รักษาสุข

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "อาจารย์ ดร. นฤมล รักษาสุข"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 อาจารย์ ดร. นฤมล รักษาสุข
ผู้ใช้สารสนเทศ อาจารย์ ดร. นฤมล รักษาสุข

2 หน่วยที่ 5 5. ทักษะการรู้สารสนเทศและการรู้เท่าทันดิจิทัล
5.1 แนวคิดเรื่องการรู้สารสนเทศ 5.2 การสอนทักษะการรู้สารสนเทศ 5.3 บทบาทขององค์กรด้านสารสนเทศต่อ การรู้สารสนเทศ 5.4 การรู้เท่าทันดิจิทัล

3 5.1 แนวคิดเรื่องการรู้สารสนเทศ
การรู้สารสนเทศ (Information Literacy)หมายถึง ความสามารถของบุคคลในการระบุความต้องการสารสนเทศของตนเอง รู้จักใช้เครื่องมือและกระบวนการค้นหาเพื่อระบุแหล่งสารสนเทศ สามารถประเมิน วิเคราะห์ สังเคราะห์และใช้สารสนเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ

4 การรู้สารสนเทศครอบคลุมทักษะการใช้ห้องสมุด (Library Skill) ทักษะการใช้สารสนเทศ (Information Skill) ทักษะการใช้คอมพิวเตอร์ (Computer Skill) ทักษะการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ICT Skill)

5 การรู้สารสนเทศถือเป็นทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการดำรงชีวิตอย่างปกติสุขของประชาชน และเป็นกลไกสำคัญในการขับเคลื่อนสังคมโลกให้ดำรงอยู่ได้

6 ระดับการรู้สารสนเทศของผู้ใช้
1) ตระหนักรู้ว่าสารสนเทศที่ถูกต้องสมบูรณ์สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ 2) รู้ว่าตนเองมีความต้องการสารสนเทศใด 3) สามารถตั้งคำถามหรือระบุความต้องการสารสนเทศของตนเองได้

7 4) สามารถระบุหรือชี้แหล่งสารสนเทศที่จะค้นหาได้
5) สามารถพัฒนากลวิธีการค้นคืนสารสนเทศได้ 6) สามารถเข้าถึงแหล่งสารสนเทศทั้งที่จัดเก็บอยู่ในสื่อคอมพิวเตอร์และสื่อรูปแบบอื่นๆ ได้ 7) สามารถประเมินคุณค่าสารสนเทศได้

8 8) สามารถจัดกลุ่มหรือหมวดหมู่สารสนเทศเพื่อนำไปใช้ประโยชน์ได้
9) สามารถบูรณาการสารสนเทศใหม่ๆ เข้ากับองค์ความรู้ที่มีอยู่เดิมได้ 10) สามารถใช้สารสนเทศในการคิดเชิงวิเคราะห์ และใช้สารสนเทศในการแก้ปัญหาได้

9 ผู้รู้สารสนเทศ คือผู้ที่ได้เรียนรู้วิธีเรียน กล่าวคือ รู้ว่าความรู้จัดระบบอย่างไร จะหาสารสนเทศได้อย่างไรและจะใช้สารสนเทศอย่างไรเพื่อเผยแพร่ความรู้ไปสู่บุคคลอื่น

10 พอล ซูร์คาวสกี้ (Paul Zurkowsky) เป็นผู้คิดค้นคำว่า Information Literacy ขึ้นใช้เมื่อ ค.ศ เพื่อให้ตระหนักถึงความจำเป็นของทักษะการรู้สารสนเทศในสภาพแวดล้อมทางเทคโนโลยีที่เพิ่งเริ่มก่อตัวขึ้นในช่วงเวลานั้น

11 นับแต่ปลายศตวรรษที่ 20 เป็นต้นมา สมาคมห้องสมุดอเมริกัน (American Library Association) ได้เผยแพร่แนวคิดนี้ไปทั่วโลกและแนวคิดนี้ได้สอดรับกับแนวคิดเรื่องการเรียนรู้ตลอดชีวิต (Lifelong Learning) การสร้างสังคมสารสนเทศ (Information Society) และสังคมความรู้ (Knowledge Society)

12 5.2 การสอนทักษะการรู้สารสนเทศ
แนวคิดการรู้สารสนเทศมีกำเนิดมาจากการสอนทักษะการใช้ห้องสมุด รูปแบบการสอนทักษะการรู้สารสนเทศได้แก่ การนำชมสถาบันบริการสารสนเทศ แนะนำบริการต่างๆ ของสถาบันบริการสารสนเทศ

13 ให้ความรู้เกี่ยวกับแหล่งสารสนเทศประเภทต่างๆ สอนเทคนิคการค้นคืนสารสนเทศ (Information Retrieval) จากฐานข้อมูลออนไลน์ (Online Databases) วิธีการสอนอาจสอนเป็นรายบุคคล รายกลุ่ม หรือเป็นชั้นเรียน

14 5.2 บทบาทขององค์กรด้านสารสนเทศต่อ การรู้สารสนเทศ
5.2 บทบาทขององค์กรด้านสารสนเทศต่อ การรู้สารสนเทศ วัตถุประสงค์สำคัญคือการเผยแพร่แนวคิดและส่งเสริมการจัดกิจกรรมการรู้สารสนเทศ สมาคมห้องสมุดอเมริกันก่อตั้งที่ประชุมอภิปรายแห่งชาติว่าด้วยการรู้สารสนเทศ (National Forum of Information Literacy

15 สมาคมห้องสมุดวิทยาลัยและห้องสมุดทางการวิจัย (Association of College and Research Libraries – ACRL) ได้จัดตั้งสถาบันการรู้สารสนเทศ (Institute for Information Literacy) ซึ่งในเดือนกุมภาพันธ์ ค.ศ ACRLได้จัดทำ Framework for Information Literacy for Higher Education โดยกำหนด

16 ความหมายของ Information Literacy ว่า
ความหมายของ Information Literacy ว่า Information literacy is the set of integrated abilities encompassing the reflective discovery of information, the understanding of how information is produced and valued, and the use of information in creating new knowledge and participating ethically in communities of learning.

17 Framework for Information Literacy for Higher Education (ACRL)
1. Authority is Constructed and Contextual 2. Information Creation as a Process 3. Information has Value 4. Research as Inquiry

18 5. Scholarship as Conversation
6. Searching as Strategic Exploration โดยแต่ละกรอบจะยกตัวอย่างว่าผู้เรียนที่กำลังพัฒนาความสามารถในการรู้สารสนเทศจะเข้าใจหลักการและมีแนวโน้มที่จะปฏิบัติตนอย่างไร

19 1. Authority is Constructed and Contextual
Information Resources reflect their creators’ expertise and credibility, and are evaluated based on the information need and the context in which the information will be used. Authority is constructed in that various communities

20 may recognize different types of authority
may recognize different types of authority. It is contextual in that the information need may help to determine the level of authority required.

21 2. Information Creation as a Process
Information in any format is produced to convey a message and is shared via a selected delivery method. The iterative processes of researching, creating, revising, and disseminating information vary, and the resulting product reflects these differences.

22 3. Information has Value Information possesses several dimensions of value, including as a commodity, as a means of education, as a means to influence, and as a means of negotiating and understanding the world. Legal and socioeconomic interests influence information production and dissemination.

23 4. Research as Inquiry Research is iterative and depends upon asking increasingly complex or new questions whose answers in turn develop additional questions or lines of inquiry in any field.

24 5. Scholarship as Conversation
Communities of scholars, researchers, or professionals engage in sustained discourse with new insights and discoveries occurring over time as a result of varied perspectives and interpretations.

25 6. Searching as Strategic Exploration
Searching for information is often nonlinear and iterative, requiring the evaluation of a range of information sources and the mental flexibility to pursue alternative avenues as new understanding develops.

26 สหพันธ์สมาคมและสถาบันห้องสมุดนานาชาติ (International Federation of Library Association and Institutions – IFLA) จัดให้มีหน่วยงานย่อยเรียกว่า Information Literacy Section ซึ่งร่วมมือกับ UNESCO จัดทำฐานข้อมูลการรู้สารสนเทศเพื่อให้เป็นแหล่งสารสนเทศด้านนี้

27 การรู้เท่าทันดิจิทัล
การรู้เท่าทันดิจิทัล (Digital Literacy) หมายถึงสมรรถนะของบุคคลในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการค้นหา ประเมิน สร้าง และสื่อสารสารสนเทศในรูปแบบดิจิทัล โดยต้องอาศัยทั้งทักษะด้าน

28 การรับรู้ (Cognitive Skill) และทักษะทางเทคนิค (Technical Skill)*
* ALA Digital Literacy Task Force, 2011

29 กรอบมาตรฐานการรู้เท่าทันดิจิทัล (Standards for Digital Literacy)
1. ทักษะสารสนเทศ (Information Skills) 2. ทักษะการผลิตซ้ำ (Reproduction Skills) 3. ทักษะสื่อหลายมิติ (Hypermedia Skills) 4. ทักษะการสื่อสาร (Communication Skills)

30 5. ทักษะสังคมและอารมณ์ (Socio – Emotional Skills)


ดาวน์โหลด ppt อาจารย์ ดร. นฤมล รักษาสุข

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google