ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
อิเล็กทรอนิกส์
2
นักเรียนมองเข้าไปในภาพ บอกได้ไหมว่า อุปกรณ์นั้นมีชื่อว่าอะไร ทำหน้าที่ใดในวงจร
3
ตัวต้านทาน (resistor) ตัวเก็บประจุ (capacitor) ไดโอด (diod)
ทรานซิสเตอร์(transistor) วงจรรวม (integrated circuit ; IC)
4
ตัวต้านทาน (resistor)
ตัวต้านทาน หมายถึง เป็นอุปกรณ์ไฟฟ้าชนิดหนึ่งที่มีคุณสมบัติในการต้านการไหลผ่านของกระแสไฟฟ้า ทำด้วยลวดต้านทานหรือถ่านคาร์บอน(แกรไฟต์) เป็นต้น ความต้านทานมีหน่วยเป็น โอห์ม (ohm) สัญลักษณ์
5
ความต้านทานมีหน่วยเป็น โอห์ม (ohm) สัญลักษณ์
ตัวต้านทานแบบค่าคงที่ (Fixed Resistor) ตัวต้านทานแบบปรับค่าได้ (Adjustable Resistor) ตัวต้านทานแบบเปลี่ยนค่าได้ (Variable Resistor) ความต้านทานมีหน่วยเป็น โอห์ม (ohm) สัญลักษณ์
6
รูปร่างและสัญลักษณ์ของตัวต้านทานแบบคงที่
ตัวต้านทานแบบค่าคงที่ (Fixed Resistor) ตัวต้านทานชนิดคงที่เป็นตัวต้านทานที่มีค่าความต้านทานไม่เปลี่ยนแปลง รูปร่างและสัญลักษณ์ของตัวต้านทานแบบคงที่
7
การหาค่าความต้านทานแบบค่าคงที่ (Fixed Resistor)
8
ค่าแถบสีของตัวต้านทาน
ตัวเลขเทียบค่า ตัวคูณ ความคลาดเคลื่อน ดำ 100 = 1 - น้ำตาล 1 101 = 10 แดง 2 102 = 100 ส้ม 3 103 = 1,000 เหลือง 4 104 = 10,000 เขียว 5 105 = 100,000 น้ำเงิน 6 106 = 1,000,000 ม่วง 7 107 = 10,000,0000 เทา 8 108 = 100,000,000 ขาว 9 109 = 1,000,000,000 ทอง 0.1 ±5% เงิน 0.01 ±10% ไม่มีสี ±20%
9
ตัวอย่าง
10
การคำนวณหาค่าความต้านทานแบบค่าคงที่
1. แถบทั้งหมดมี 4 แถบ แต่ละสีมีค่าสีตามตาราง 2. แถบสีที่ 1 และแถบสีที่ 2 ให้เขียนลงได้เลย 3. แถบสีที่ 3 คือ เลขยกกำลังหรือเติมจำนวนเลข 0 4. แถบสีที่ 4 คือ ความคลาดเคลื่อนเป็นเปอร์เซนต์
11
ตัวอย่าง แถบที่ 1 แถบที่ 4 แถบที่ 2 แถบที่ 3
แถบที่ 1 สีแดง ดูในตารางเท่ากับ 2 แถบที่ 2 สีเหลือง เท่ากับ 4 แถบที่ 3 สีดำ เท่ากับ 0 แถบที่ 4 ไม่มีสี เท่ากับ 20%
12
ตัวอย่าง 2 4 100 20% X
13
ถ้า 20% เทียบเป็น 𝟐𝟎 𝐱 𝟐𝟒 𝟏𝟎𝟎 = 4.8 โอห์ม
วิธีทำ 24 X = 24 โอห์ม หาเป็นเปอร์เซ็นต์จาก 24 โอห์มโดยการเทียบบัญญัติไตรยางค์ 100 % เทียบเป็น 24 โอห์ม ถ้า 20% เทียบเป็น 𝟐𝟎 𝐱 𝟐𝟒 𝟏𝟎𝟎 = 4.8 โอห์ม ค่ามาก = โอห์ม ค่าน้อย = โอห์ม ความต้านทานมีค่าระหว่าง 19.2 – โอห์ม
14
สูตรการจำแถบสี แถบสี ตัวเลขเทียบค่า ตัวคูณ ความคลาดเคลื่อน ดำ 100 = 1
100 = 1 - น้ำตาล 1 101 = 10 แดง 2 102 = 100 ส้ม 3 103 = 1,000 เหลือง 4 104 = 10,000 เขียว 5 105 = 100,000 น้ำเงิน 6 106 = 1,000,000 ม่วง 7 107 = 10,000,0000 เทา 8 108 = 100,000,000 ขาว 9 109 = 1,000,000,000 ทอง 0.1 ±5% เงิน 0.01 ±10% ไม่มีสี ±20% ดิน น้อง แดง เสื้อ เหลีอง ขับ ฟีโน่ มา เที่ยว เขา
15
2. ตัวต้านทานแบบแปรค่าได้ (Adjustable Resistor)
ตัวต้านทานที่แปรค่าได้ เป็นตัวต้านทานอีกชนิดหนึ่งที่ผู้ใช้สามารถเปลี่ยนค่าความต้านทานได้ด้วยการหมุนหรือเลื่อนปุ่มปรับค่าเพื่อเพิ่มหรือลดค่าความต้านทานที่ต้องการ หรือเปลี่ยนแปลงค่าความต้านทานตามปริมาณแสงที่ตกกระทบ เรียกตัวต้านทานชนิดนี้ว่า แอล ดี อาร์(LDR)
16
LDR ย่อมาจาก Light Dependent Resistor
เป็นตัวต้านทานอีกชนิดหนึ่งที่เปลี่ยนแปลงค่าความต้านทานตามปริมาณแสงที่ตกกระทบ ถ้าไม่มีแสงหรือมีแสงน้อยตกกระทบที่ LDR น้อย LDR จะมีความต้านทานสูง แต่ถ้าปริมาณแสงตกกระทบ LDR มาก ค่าความต้านทานของ LDR จะต่ำ สัญลักษณ์ของ LDR คือ
17
3. ตัวต้านทานแบบเปลี่ยนค่าได้ (Variable Resistor)
18
สัญลักษณ์ของตัวเก็บประจุ
ตัวเก็บประจุ (capacitor) ตัวเก็บประจุ หมายถึง เป็นอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์อย่างหนึ่ง ทำหน้าที่เก็บพลังงานในสนามไฟฟ้า ที่สร้างขึ้นระหว่างคู่ฉนวน โดยมีค่าประจุไฟฟ้าเท่ากัน แต่มีชนิดของประจุตรงข้ามกัน บางครั้งเรียกตัวเก็บประจุนี้ว่า คอนเดนเซอร์ (condenser) มีหน่วยเป็น ฟารัด(farad) ใช้สัญลักษณ์ F สัญลักษณ์ของตัวเก็บประจุ
19
ไดโอด (diod) ไดโอด หมายถึง เป็นอุปกรณ์ที่ทำจากสารกึ่งตัวนำ p-n สามารถควบคุมให้กระแสไฟฟ้าจากภายนอกไหลผ่านตัวมันได้ทิศทางเดียว ไดโอดประกอบด้วยขั้ว 2 ขั้ว คือ แอโนด (Anode ; A) ซึ่งต่ออยู่กับสารกึ่งตัวนำชนิด p และ แคโทด (Cathode ; K) ซึ่งต่ออยู่กับสารกึ่งตัวนำชนิด n
20
ไดโอด (diode) ไดโอด มี 2 ประเภท คือ 1. ไดโอดธรรมดา (normal diode)
2. ไดโอดเปล่งแสง (light emitting diode : LED) ขาที่ยาวกว่าเป็นขั้วบวก ขาที่สั้นเป็นขั้วลบ สัญลักษณ์ ดังภาพ
21
ทรานซิสเตอร์(transistor)
ทรานซิสเตอร์ (อังกฤษ: transistor) เป็นอุปกรณ์สารกึ่งตัวนำมีหลายชนิด แต่ละชนิดจะมีรูปร่างลักษณะแตกต่างกัน แต่จะมีส่วนที่เหมือนกันคือ มี 3 ขา เมื่อมีกระแสไฟฟ้าเพียงเล็กน้อยเคลื่อนที่ผ่านขาหนึ่ง ทรานซิสเตอร์จะสามารถควบคุมกระแสไฟฟ้าที่มีปริมาณมากที่เคลื่อนที่ผ่านอีกสองขาได้ จึงทำหน้าที่เป็นสวิตช์ปิดหรือเปิดวงจรไฟฟ้าได้สามารถควบคุมการไหลของอิเล็กตรอนได้ ใช้ทำหน้าที่ ขยายสัญญาณไฟฟ้า, เปิด/ปิดสัญญาณไฟฟ้า, ควบคุมแรงดันไฟฟ้าให้คงที่ (อังกฤษ: modulate) ขาของทรานซิสเตอร์มี 3 ขา คือ ขาเบส (base หรือ B) ขาอีมิตเตอร์ (emitter หรือ E) ขาคอลเล็กเตอร์ (collector หรือ C) แบ่งเป็น 2 ชนิด 1. ทรานซิสเตอร์ชนิด NPN 2. ทรานซิสเตอร์ชนิด PNP
22
วงจรรวม (integrated circuit ; IC)
23
วงจรอิเล็กทรอนิกส์
24
วงจรอิเล็กทรอนิกส์
25
วงจรอิเล็กทรอนิกส์
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.