งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ระบบป้องกันอัคคีภัย ระบบไฟฟ้าฉุกเฉิน และ ระบบความปลอดภัย.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ระบบป้องกันอัคคีภัย ระบบไฟฟ้าฉุกเฉิน และ ระบบความปลอดภัย."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ระบบป้องกันอัคคีภัย ระบบไฟฟ้าฉุกเฉิน และ ระบบความปลอดภัย

2 ระบบป้องกันอัคคีภัย

3 ระบบป้องกันอัคคีภัย อุปกรณ์สำหรับป้องกันอัคคีภัยประกอบด้วย
อุปกรณ์ตรวจจับควัน (Smoke Detector) 2. อุปกรณ์ตรวจจับความร้อน (Heat Detector) 3. อุปกรณ์ตรวจจับเปลวเพลิง (Flame Detector)

4 อุปกรณ์ตรวจจับควัน ตรวจจับเพลิงไหม้ ที่เกิดจากการคุตัวของเถ้าความร้อน

5 หลักการทำงานของอุปกรณ์ตรวจจับควัน (1)

6 หลักการทำงานของอุปกรณ์ตรวจจับควัน (2)

7 อุปกรณ์ตรวจจับความร้อน
ตรวจจับเพลิงไหม้ที่เกิดจากความร้อนสูงอย่างรวดเร็วและมีควันน้อย ตรวจจับอัตราการเพิ่มของอุณหภูมิ และ อุณหภูมิสูงสุด - อัตราเพิ่ม 15 oF / นาที - อุณหภูมิสูงสุด 135 oF

8 อุปกรณ์ตรวจจับความร้อน

9 อุปกรณ์ตรวจจับเปลวเพลิง
ใช้ตรวจจับเพลิงไหม้ที่เกิดจากการลุกไหม้ของเชื้อเพลิงเหลว ทำงานได้เร็วที่สุด ติดตั้งตามโรงงานที่มีส่วนผสมของน้ำมันเชื้อเพลิง และ เคมีภัณฑ์

10 อุปกรณ์ตรวจจับเปลวเพลิง

11 ระบบเวสด้า (Vesda) เป็นระบบตรวจจับควันไฟแบบสุ่มตัวอย่างอากาศ
ทำงานได้ว่ากว่าระบบตรวจจับควันแบบธรรมดา ใช้หลักการที่ว่า เมื่อเริ่มเกิดเพลิงไหม้ จะเกิดการสลายตัวของวัสดุเนื่องจากความร้อน ส่งผลให้เกิดอนุภาคเล็กๆ จำนวนมาก เล็กกว่า 1 ไมครอน ซึ่งระบบเวสด้าจะตรวจจับจากอนุภาคเล็กพวกนี้

12 Vesda System

13 ตำแหน่งการติดตั้งระบบป้องกันอัคคีภัย

14

15 รูปแบบการติดตั้งระบบป้องกันอัคคีภัย
ระบบธรรมดา หรือ ระบบฮาร์ดไวร์ (Hard Wire System) ระบบที่สามารถระบุตำแหน่งได้ (Addressible System)

16

17 ระบบดับเพลิงอัตโนมัติ
ระบบดับเพลิงอัตโนมัติแบบฉีดน้ำฝอย (Sprinkle System) 2. ระบบดับเพลิงอัตโนมัติแบบแก๊ส (Gas System)

18 ระบบดับเพลิงอัตโนมัติแบบฉีดน้ำฝอย
มีทั้งแบบ หัวห้อย (pendent) และ หัวตั้ง (up-light) มักใช้กับอาคารที่มีความเสี่ยงต่อการเกิดอัคคีภัย ดังนี้ - อัตราเสี่ยงต่ออันตรายแบบเบา เช่น ห้องทำงาน (light hazard) - อัตราเสี่ยงต่ออันตรายแบบธรรมดา เช่น บริเวณที่จอดรถ (ordinary hazard)

19 ระบบดับเพลิงอัตโนมัติแบบฉีดน้ำฝอย

20

21 2. ระบบดับเพลิงอัตโนมัติแบบแก๊ส
2. ระบบดับเพลิงอัตโนมัติแบบแก๊ส แก๊สที่ใช้ เป็น น้ำยาดับเพลิงชนิดสะอาด หลังจากใช้งานแล้ว ไม่มีสิ่งใดหลงเหลืออยู่เป็นภาระให้ทำความสะอาด นิยมใช้กับพื้นที่ซึ่งต้องการดับเพลิงเป็นพิเศษ และไม่ต้องการให้วัสดุหรืออุปกรณ์ในห้องนั้นเกิดความเสียหายจากน้ำยาเคมีที่ใช้ดับเพลิง ตัวอย่างห้อง เช่น ห้องคอมพิวเตอร์ ห้องสมุด ห้องเก็บเอกสารสำคัญ พิพิธภัณฑ์

22 Nitrogen (N2), Argon (Ar) and Carbon Dioxide (CO2) mixes the extinguishant in a certain proportion, which is a kind of pure and natural clean gas extinguishant.

23 ระบบไฟฟ้าฉุกเฉิน

24 รูปแบบการจ่ายโหลดฉุกเฉิน
ต้องระวังไม่ให้แหล่งกำเนิดไฟฟ้าฉุกเฉินจ่ายไฟย้อนกลับเข้าไปในระบบ Transfer Switch

25

26 แบตเตอรี่สำรองไฟฟ้า

27 แบตเตอรี่สำรองไฟฟ้า ต้องมีพิกัดและขนาดกำลังที่เหมาะสมในการจ่ายไฟฟ้าให้กับโหลดทั้งหมดไม่น้อยกว่า 1.5 ชั่วโมง แรงดันไฟฟ้าที่จ่ายโหลด ต้องลดลงเหลือไม่น้อยกว่า 87 % ของปกติ ไม่ควรใช้แบตเตอรี่สำหรับรถยนต์มาทำไฟสำรอง แบตเตอรี่แบบหุ้มปิดสนิท เปลือกหุ้มไม่จำเป็นต้องเป็นแบบใส แบตเตอรี่ตะกั่ว-กรด ชนิดเติมน้ำกลั่น เปลือกหุ้มต้องเป็นแบบใส ต้องมีชุดประจุไฟอัตโนมัติ (Charge Controller) ด้วย

28 Battery Charger / Charge Controller

29 แบตเตอรี่สำรองไฟฟ้า ข้อดี ข้อเสีย
สามารถใช้เป็นศูนย์กลางระบบไฟฉุกเฉินและจ่ายไปยังส่วนต่างๆของอาคาร ติดตั้งเป็นชุดจ่ายเล็กๆ ตามส่วนต่างๆของอาคาร ป้อนให้กับการส่องสว่างฉุกเฉินที่ไม่เป็นฟลูออเรสเซนต์ ข้อเสีย เวลาในการจ่ายกำลังไฟฟ้ามีจำกัด ใช้ได้เฉพาะระบบ DC

30 ชุดเครื่องกำเนิดไฟฟ้า (Generator Set)

31 โครงสร้างชุดเครื่องกำเนิดไฟฟ้า

32 ชุดเครื่องกำเนิดไฟฟ้าที่ใช้แก๊สธรรมชาติและน้ำมัน

33 รูปแบบการติดตั้งชุดเครื่องกำเนิดไฟฟ้า Gen Set
Switchgear Transformer

34 ชุดเครื่องกำเนิดไฟฟ้า (Generator Set)
ต้องอุปกรณ์ในการสตาร์ตชุดต้นกำลังโดยอัตโนมัติเมื่อแหล่งจ่ายไฟปกติล้มเหลว และต้องทำการโอนย้ายอัตโนมัติไปยังโหลดที่กำหนด กรณีใช้เครื่องยนต์เป็นอุปกรณ์ต้นกำลัง จะต้องสามารถจ่ายน้ำมันที่หน้างานได้ไม่น้อยกว่า 2 ชั่วโมงให้กับโหลดเต็มพิกัด ชุดต้นกำลังต้องไม่ขึ้นกับระบบแก๊สสาธารณะอย่างเดียว (มีระบบจ่ายน้ำมันของตัวเอง และ ระบบน้ำหล่อเย็นของอุปกรณ์ ต้องจ่ายกำลังไฟฟ้าให้ระบบภายใน 10 วินาทีโดยอัตโนมัติ

35 ชุดเครื่องกำเนิดไฟฟ้า (Generator Set)
ข้อดี มีขนาดกำลังไฟฟ้าสูงได้ตามต้องการ ช่วงเวลาการจ่ายไฟฟ้าขึ้นกับขนาดถังน้ำมัน สามารถใช้ในการต้องการความประหยัดจากการลดค่าความต้องการไฟฟ้าสูงสุดลง ข้อเสีย มีการสั่นสะเทือน + เสียงรบกวน และ มีมลภาวะจากไอเสีย ต้องการการดูแลรักษาอย่างต่อเนื่อง และ อาจยุ่งยากในการจัดเติมเชื้อเพลิง

36 ระบบจ่ายกำลังไฟฟ้าต่อเนื่อง (ยูพีเอส)

37 โครงสร้างการทำงานของ UPS

38 ระบบจ่ายกำลังไฟฟ้าต่อเนื่อง (ยูพีเอส)
UPS ย่อมาจาก Uninterruptible Power Supplies ใช้จ่ายและรักษากำลังไฟฟ้าให้กับอุปกรณ์วิกฤติ - อุปกรณ์สารสนเทศ - อุปกรณ์ในกระบวนการทางอุตสาหกรรมที่ห้ามหยุด ไม่นำมาใช้กับโหลดที่มีขนาดใหญ่เป็นเวลานานมากๆ เนื่องจากมีขนาดพิกัดและเวลาจากแบตเตอรี่ที่จำกัด

39 อุปกรณ์ส่องสว่างฉุกเฉิน

40 อุปกรณ์ส่องสว่างฉุกเฉิน

41 อุปกรณ์ส่งสว่างฉุกเฉิน
ส่วนประกอบ แบตเตอรี่ที่ประจุซ้ำได้ อุปกรณ์ประจุไฟ หลอดไฟ อุปกรณ์หน่วงเวลา

42 ระบบไฟฟ้าพลังงานลม มีการใช้งานคู่ขนานกับระบบไฟฟ้าปกติและสามารถจ่ายพลังงานเข้าสู่ระบบจ่ายไฟฟ้าของแหล่งกำเนิดไฟฟ้าหลักได้ จุดต่อเชื่อมของระบบจะมีอุปกรณ์ปลดวงจรประธานของอาคาร ที่อุปกรณ์ใช้งานแต่ละตัวและที่แหล่งผลิตกำลังไฟฟ้าภายในทั้งหมด จะต้องติดตั้งแผ่นป้ายรายละเอียดไว้ อุปกรณ์ปลดวงจรต้องทำการปลดวงจรสายไฟที่ไม่ต่อลงดินทั้งหมดของแต่ละแหล่งผลิตกำลังไฟฟ้าภายในจากสายไฟฟ้าอื่นทั้งหมด

43 รูปแบบการเชื่อมต่อระบบไฟฟ้าพลังงานลม

44 ระบบไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์
รูปแบบของระบบไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ แบ่งเป็น ระบบอินเตอร์แอกทีฟ 2. ระบบไฮบริด 3. ระบบเอกเทศ

45 แผงเซลล์พลังงานแสงอาทิตย์

46 ระบบอินเตอร์แอกทีฟ

47 ระบบไฮบริด

48 ระบบเอกเทศ (Isolate)

49 ขนาดกระแสที่ออกจากอินเวอร์เตอร์ต้องต่ำกว่าพิกัดกระแสของอุปกรณ์ปลดวงจรประธานของอาคาร

50 ระบบความปลอดภัย

51 ระบบป้องกันผู้บุกรุก (Intrusion System)
ใช้ตรวจจับผู้บุกรุกซึ่งจะเข้ามาในอาคาร อุปกรณ์ที่สำคัญประกอบด้วย ชุดควบคุมชุดตรวจจับความเคลื่อนไหวโดยใช้แสง 2. ชุดตรวจจับการเคลื่อนไหวโดยใช้รังสีอินฟราเรด 3. ชุดตรวจจับการแตกของกระจก (Glass Break Detector) 4. ชุดตรวจจับการปิด - เปิดของประตู อุปกรณ์จะถูกติดตั้งไปยังชุดควบคุมสวิตช์และลำโพงต่อไป

52

53

54

55

56

57

58

59

60


ดาวน์โหลด ppt ระบบป้องกันอัคคีภัย ระบบไฟฟ้าฉุกเฉิน และ ระบบความปลอดภัย.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google