ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
ดร.เกริกเกียรติ ศรีเสริมโภค 23-24 กุมภาพันธ์ 2554
การประชุมเชิงปฏิบัติการ การจัดทำเครื่องมือการประเมินสมรรถนะ (Designing Tools for Competency Gap Analysis) สำนักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย ดร.เกริกเกียรติ ศรีเสริมโภค 23-24 กุมภาพันธ์ 2554
2
ประเด็น 1 2 3 4 5 วัตถุประสงค์ (Objective) เครื่องมือ (Tool)
ตัวแบบสมรรถนะเฉพาะตามลักษณะงานที่ปฏิบัติ (Functional Competency Model) 3 เครื่องมือ (Tool) 4 วิธีการ (Approach) 5 Workshop ดร.เกริกเกียรติ ศรีเสริมโภค
3
วัตถุประสงค์ (Objective)
เพื่อจัดทำเครื่องมือสำหรับวิเคราะห์ Competency Gap วัตถุประสงค์ (Objective) เพื่อออกแบบดัชนีชี้วัดพฤติกรรมหลัก (Key Behavior Indicators) ดร.เกริกเกียรติ ศรีเสริมโภค
4
สมรรถนะลักษณะเฉพาะตามลักษณะงานที่ปฏิบัติ
การให้คำปรึกษาแนะนำ การคิดวิเคราะห์ การวางแผนเชิงกลยุทธ์ ศิลปะการสื่อสารจูงใจ การดำเนินการเชิงรุก ความยืดหยุ่นผ่อนปรน ความถูกต้องของงาน การมองภาพองค์รวม การสืบเสาะหาข้อมูล การคิดวิเคราะห์เชิงระบบ ความมั่นใจในตนเอง ดร.เกริกเกียรติ ศรีเสริมโภค
5
โครงสร้างการประเมินทรัพยากรบุคคล
Competency Assessment Performance Appraisal การประเมินบุคลากร ทักษะ/ความรู้ พฤติกรรมการปฏิบัติงาน ผลการปฏิบัติงาน Copyrights © 2009 by Global Concerns Co.,Ltd. ดร.เกริกเกียรติ ศรีเสริมโภค
6
เครื่องมือการประเมินสมรรถนะ (Tools)
ทักษะ/ความรู้ การทดสอบ การสัมภาษณ์ แบบจำลองงาน พฤติกรรมการปฏิบัติงาน มาตรวัดเชิงพฤติกรรม Copyrights © 2009 by Global Concerns Co.,Ltd. ดร.เกริกเกียรติ ศรีเสริมโภค
7
วิเคราะห์สมรรถนะเฉพาะตามลักษณะงานที่ปฏิบัติ
ชื่อสมรรถนะ ความรู้ ทักษะ สมรรถนะเฉพาะ การให้คำปรึกษาแนะนำ การคิดวิเคราะห์ การวางแผนเชิงกลยุทธ์ ศิลปะการสื่อสารจูงใจ การดำเนินการเชิงรุก ความยืดหยุ่นผ่อนปรน ความถูกต้องของงาน การมองภาพองค์รวม การสืบเสาะหาข้อมูล การคิดวิเคราะห์เชิงระบบ ความมั่นใจในตนเอง ดร.เกริกเกียรติ ศรีเสริมโภค
8
เครื่องมือการประเมินสมรรถนะประเภทพฤติกรรมการปฏิบัติงาน
ดร.เกริกเกียรติ ศรีเสริมโภค
9
แนวคิดเครื่องมือการประเมินสมรรถนะด้านพฤติกรรม
แนวคิดของ Likert Scale 5 หมายถึง เห็นด้วยอย่างมาก 4 หมายถึง เห็นด้วย 3 หมายถึง ปานกลาง 2 หมายถึง ไม่เห็นด้วย 1 หมายถึง ไม่เห็นด้วยอย่างมาก Copyrights © 2009 by Global Concerns Co.,Ltd. ดร.เกริกเกียรติ ศรีเสริมโภค
10
มาตรวัดเชิงความคิดเห็น (Opinion Scale) ขาดคำอธิบายมาตรฐานมาตรวัด
ปัญหาของ Likert Scale มาตรวัดเชิงความคิดเห็น (Opinion Scale) ขาดคำอธิบายมาตรฐานมาตรวัด Copyrights © 2009 by Global Concerns Co.,Ltd. ดร.เกริกเกียรติ ศรีเสริมโภค
11
การพัฒนามาตรวัดเชิงพฤติกรรมการปฏิบัติงาน
มาตรวัดเชิงพฤติกรรมการปฏิบัติงาน หมายถึง เครื่องมือในการประเมินข้อเท็จจริง (Fact) ด้านพฤติกรรมการปฏิบัติงานโดยไม่ใช้ข้อคิดเห็นแบบ Likert Scale Copyrights © 2009 by Global Concerns Co.,Ltd. ดร.เกริกเกียรติ ศรีเสริมโภค
12
วิเคราะห์เปรียบเทียบ
ประเด็น Likert Scale Behavior Rating Scale ลักษณะของเครื่องมือ ใช้ข้อคิดเห็นของผู้ตอบแบบสอบถาม ใช้พฤติกรรมที่แสดงออกในการประเมิน ความแม่นยำ และความน่าเชื่อถือ ต้องทดสอบค่า Reliability จัดทำเกณฑ์การประเมินประเมินพฤติกรรมหลักและดัชนีชี้วัดพฤติกรรมหลัก จัดทำแบบบันทึกพฤติกรรมเพื่อรวบรวมข้อมูลก่อนการประเมิน Copyrights © 2009 by Global Concerns Co.,Ltd. ดร.เกริกเกียรติ ศรีเสริมโภค
13
มาตรวัดเชิงพฤติกรรม 4 หมายถึง ยอดเยี่ยม 3 หมายถึง ดี 2 หมายถึง พอใช้
1 หมายถึง ควรปรับปรุง Copyrights © 2009 by Global Concerns Co.,Ltd. ดร.เกริกเกียรติ ศรีเสริมโภค
14
คุณภาพเครื่องมือการประเมินสมรรถนะ
มีความตรง : ทำหน้าที่ได้ตามกำหนด ตามเนื้อหา ตามโครงสร้าง/ทฤษฎี ตามเกณฑ์สัมพันธ์.. ร่วมสมัย.. เชิงพยากรณ์ มีความเที่ยง (Reliability) : ความคงเส้นคงวาของผลการวัด มีอำนาจจำแนกดี ความเป็นปรนัย (objectivity) : เข้าใจตรงกันในประเด็นของข้อมูลที่ต้องการ ความสะดวกในการใช้ (practical) มีประสิทธิภาพ (efficiency) มีความยาก-ง่ายพอเหมาะ ความยุติธรรม (fairness) Copyrights © 2009 by Global Concerns Co.,Ltd. ดร.เกริกเกียรติ ศรีเสริมโภค
15
ปัญหาของการประเมินสมรรถนะประเภทพฤติกรรมการปฏิบัติงาน
ความเป็นปรนัย ความน่าเชื่อถือของเครื่องมือ Copyrights © 2009 by Global Concerns Co.,Ltd. ดร.เกริกเกียรติ ศรีเสริมโภค
16
การแก้ปัญหาของเครื่องมือการประเมินพฤติกรรม
ประเด็น ระดับความน่าเชื่อถือ ระดับ 1 การใช้รายการพฤติกรรมตามสมรรถนะที่กำหนด (Behavior Lists) 40 % ระดับ 2 การพัฒนารายการพฤติกรรมหลัก (Key Behavior Lists) 60 % ระดับ 3 การพัฒนาดัชนีชี้วัดพฤติกรรมหลัก (Key Behavior Indicators) 70 % ระดับ 4 การพัฒนาแบบบันทึกพฤติกรรม (Critical Incident Lists) 80 % Copyrights © 2009 by Global Concerns Co.,Ltd. ดร.เกริกเกียรติ ศรีเสริมโภค
17
ตัวอย่างคำอธิบายดัชนีชี้วัดพฤติกรรมหลัก มาตรวัดการประเมินพฤติกรรมการปฏิบัติงานการมุ่งผลสัมฤทธิ์
รายการพฤติกรรม 4 3 2 1 สามารถทำงานในหน้าที่ได้ดี และถูกต้อง ไม่มีความผิดพลาดในการปฏิบัติงาน (Zero Defect) งานไม่มีข้อผิดพลาดระหว่างร้อยละ 75 – 85 งานไม่มีข้อผิดพลาดระหว่างร้อยละ 60 – 74 งานไม่มีข้อผิดพลาดต่ำกว่าร้อยละ 60 มีความมานะอดทน ขยันหมั่นเพียรในการทำงาน และตรงต่อเวลา ตรงต่อเวลาในการปฏิบัติงาน (ไม่มาสาย และกลับก่อนมากกว่าร้อยละ 85) ตรงต่อเวลาในการปฏิบัติงาน (ไม่มาสาย และกลับก่อน ระหว่างร้อยละ 75 – 85) ตรงต่อเวลาในการปฏิบัติงาน (ไม่มาสาย และกลับก่อน ระหว่างร้อยละ 60 – 74) ตรงต่อเวลาในการปฏิบัติงาน (ไม่มาสาย และกลับก่อน ต่ำกว่าร้อยละ 60) มีความรับผิดชอบในงาน สามารถส่งงานได้ตามกำหนดเวลา ส่งมอบงานตรงต่อเวลามากกว่าร้อยละ 85 ส่งมอบงานตรงต่อเวลาระหว่างร้อยละ 75 – 85 ส่งมอบงานตรงต่อเวลาระหว่างร้อยละ 60 – 74 ส่งมอบงานตรงต่อเวลาต่ำกว่าร้อยละ 60 KBL KBI Copyrights © 2009 by Global Concerns Co.,Ltd. ดร.เกริกเกียรติ ศรีเสริมโภค
18
แบบบันทึกพฤติกรรม (Critical Incident Lists)
ชื่อ _________________________ นามสกุล _____________________________________________ ตำแหน่ง _____________________________ หน่วยงาน ____________________________________ สมรรถนะ พฤติกรรมที่เด่น ว/ด/ป (ที่บันทึก) ลงลายมือชื่อผู้บังคับบัญชา ลงลายมือชื่อผู้ใต้บังคับบัญชา การมุ่งผลสัมฤทธิ์ ส่งแผนในเวลาที่กำหนด การบริการที่ดี Copyrights © 2009 by Global Concerns Co.,Ltd. ดร.เกริกเกียรติ ศรีเสริมโภค
19
วิธีการ (Approach) การประเมินแบบหลายทาง (Multi-Rating System) หมายถึง การประเมินในรูปแบบของ แบบที่ 1 การประเมินแบบ 90 องศา คือ การประเมินโดยผู้บังคับบัญชา และ ตนเอง แบบที่ 2 การประเมินแบบ 180 องศา คือ การประเมินโดยผู้บังคับบัญชา ตนเอง และผู้ใต้บังคับบัญชา หรือผู้ร่วมงาน แบบที่ 3 การประเมินแบบ 270 องศา คือ การประเมินโดยผู้บังคับบัญชา ตนเอง ผู้ใต้บังคับบัญชา และผู้ร่วมงาน แบบที่ 4 การประเมินแบบ 360 องศา คือ การประเมินโดยผู้บังคับบัญชา ตนเอง ผู้ใต้บังคับบัญชา ผู้ร่วมงาน และลูกค้า Copyrights © 2009 by Global Concerns Co.,Ltd. ดร.เกริกเกียรติ ศรีเสริมโภค
20
ข้อดีของการประเมินแบบ MRS
สามารถสะท้อนพฤติกรรมการปฏิบัติงานได้ชัดเจน สามารถลดความเป็นอคติในการประเมินได้อย่างมีประสิทธิภาพ Copyrights © 2009 by Global Concerns Co.,Ltd. ดร.เกริกเกียรติ ศรีเสริมโภค
21
ผู้ใต้บังคับบัญชาหรือ ผู้ร่วมงาน
น้ำหนักในการประเมิน ผู้บังคับบัญชา ตนเอง ผู้ใต้บังคับบัญชาหรือ ผู้ร่วมงาน น้ำหนัก 60 20 Copyrights © 2009 by Global Concerns Co.,Ltd. ดร.เกริกเกียรติ ศรีเสริมโภค
22
หลุมพรางของการประเมินพฤติกรรมการปฏิบัติงาน
รายการพฤติกรรมขาดความเป็นปรนัย (Objectivity) จะส่งผลให้ผู้ประเมินทุกระดับตีความความหมายของรายการพฤติกรรมที่แตกต่างกัน วิธีการประเมินพฤติกรรมการปฏิบัติงานที่เหมาะสม จะต้องมีการประเมินโดยสังเกตพฤติกรรมการปฏิบัติงานจากผู้ที่เกี่ยวข้อง ใน 1 รอบการประเมิน (ภายใน 6 เดือน) พฤติกรรมการปฏิบัติงานจะต้องถูกบันทึกเพื่อนำมาเป็นข้อมูลในการประเมินที่ลดการใช้ความรู้สึกส่วนตัวในการประเมิน (Judgement) Copyrights © 2009 by Global Concerns Co.,Ltd. ดร.เกริกเกียรติ ศรีเสริมโภค
23
การจัดทำดัชนีชี้วัดพฤติกรรมหลัก (Key Behavior Indicators)
ดัชนีชี้วัดพฤติกรรมหลัก หมายถึง ตัวชี้วัดรายการพฤติกรรมที่แสดงออกในการปฏิบัติงานที่ต้องเป็นรูปธรรม และเป็นข้อตกลงร่วมกันของบุคลากร Copyrights © 2009 by Global Concerns Co.,Ltd. ดร.เกริกเกียรติ ศรีเสริมโภค
24
ตัวอย่างแบบประเมินสมรรถนะ
การมุ่งผลสัมฤทธิ์ : ความมุ่งมั่นจะปฏิบัติราชการให้ดี หรือให้เกินมาตรฐานที่มีอยู่ โดยมาตรฐานนี้อาจเป็นผลการปฏิบัติงานที่ผ่านมาของตนเอง หรือเกณฑ์วัดผลสัมฤทธิ์ที่ส่วนราชการกำหนดขึ้น อีกทั้งยังหมายรวมถึงการสร้างสรรค์พัฒนาผลงานหรือกระบวนการปฏิบัติงานตามเป้าหมายที่ยากและท้าทายชนิดที่อาจไม่เคยมีผู้ใดสามารถกระทำได้มาก่อน รายการพฤติกรรม 4 3 2 1 สามารถตัดสินใจและจัดลำดับความสำคัญของงานโดยคำนึงถึงผลได้ผลเสียที่จะเกิดขึ้น เพื่อประโยชน์สูงสุดต่อผู้รับบริการ (ระดับ 5) สามารถพัฒนาวิธีการทำงานให้ได้ผลงานที่โดดเด่น และแตกต่างอย่างไม่เคยมีใครทำมาก่อน เพื่อให้บรรลุมาตรฐาน (ระดับ 4) สามารถกำหนดเป้าหมายที่ท้าทายและเป็นไปได้ยากเพื่อให้ได้ผลงานที่ดีขึ้นกว่าเดิม (ระดับ 4) สามารถแสดงความคิดเห็นในเชิงปรับปรุงและพัฒนางานให้ดีขึ้น (ระดับ 3) สามารถตรวจสอบความถูกต้องของงานเพื่อให้ได้ผลงานที่มีคุณภาพ (ระดับ 3) สามารถส่งงานหรือรายงานผลความก้าวหน้าของการทำงานได้ตามกำหนดเวลาที่ผู้บังคับบัญชากำหนด (ระดับ 2) สามารถกำหนดเป้าหมายเพื่อวัดผลการปฏิบัติงานของหน่วยงาน / ตนเอง (ระดับ 2) สามารถทำงานได้บรรลุเป้าหมายอย่างต่อเนื่อง (ระดับ 2) มีความรู้ในเนื้อหางานที่รับผิดชอบ และสามารถปฏิบัติงานตามหน้าที่ได้อย่างถูกต้อง (ระดับ 1) Copyrights © 2009 by Global Concerns Co.,Ltd. ดร.เกริกเกียรติ ศรีเสริมโภค
25
ตัวอย่างแบบประเมินสมรรถนะ
บริการที่ดี : ความตั้งใจและความพยายามของข้าราชการในการให้บริการเพื่อสนองความต้องการของประชาชนตลอดจนของหน่วยงานภาครัฐอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง รายการพฤติกรรม 4 3 2 1 สามารถเปลี่ยนแปลงวิธีการหรือขั้นตอนการให้บริการเพื่อให้ผู้รับบริการได้ประโยชน์สูงสุด (ระดับ 5) สามารถให้ความคิดเห็นที่สอดคล้องกับความจำเป็น ปัญหา โอกาส ฯลฯ เพื่อเป็นประโยชน์ในระยะยาวแก่ผู้รับบริการ (ระดับ 5) สามารถให้คำแนะนำที่เป็นประโยชน์ และตอบสนองความต้องการที่แท้จริงของผู้รับบริการ (ระดับ 4) สามารถให้ข้อมูล ข่าวสารที่เป็นประโยชน์โดยที่ผู้รับบริการมิได้ร้องขอ (ระดับ 4) สามารถแก้ไขปัญหา หรือหาแนวทางการแก้ไขแก่ผู้รับบริการอย่างรวดเร็ว และไม่ปัดภาระ (ระดับ 3) สามารถนำข้อขัดข้องไปพัฒนาการให้บริการให้ดียิ่งขึ้น (ระดับ 3) สามารถให้ข้อมูล ข่าวสารที่ชัดเจนแก่ผู้รับบริการ (ระดับ 2) สามารถประสานงานเพื่อให้ได้รับบริการที่ต่อเนื่องและรวดเร็ว (ระดับ 2) สามารถให้บริการด้วยความเป็นมิตร สุภาพ และเต็มใจ (ระดับ 1) สามารถให้คำแนะนำแก่ผู้รับบริการ เมื่อมีคำถาม หรือข้อเรียกร้องเกี่ยวกับภารกิจของหน่วยงาน (ระดับ 1) Copyrights © 2009 by Global Concerns Co.,Ltd. ดร.เกริกเกียรติ ศรีเสริมโภค
26
Workshop 1 การพัฒนารายการพฤติกรรมหลัก (Key Behavior Lists)
Workshop Session Workshop 1 การพัฒนารายการพฤติกรรมหลัก (Key Behavior Lists) Workshop 2 การพัฒนาดัชนีชี้วัดพฤติกรรมหลัก (Key Behavior Indicators) Workshop 3 การพัฒนาแบบบันทึกพฤติกรรม (Critical Incident Lists) ดร.เกริกเกียรติ ศรีเสริมโภค
27
แบบฟอร์มคำอธิบายดัชนีชี้วัดพฤติกรรมหลัก
ชื่อสมรรถนะ ________________________________________________________________________ คำจำกัดความ _______________________________________________________________________ _______________________________________________________________________ รายการพฤติกรรม 4 3 2 1 Copyrights © 2009 by Global Concerns Co.,Ltd. ดร.เกริกเกียรติ ศรีเสริมโภค
28
ตัวอย่าง ดร.เกริกเกียรติ ศรีเสริมโภค
29
Thank You !
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.