ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยΤίμων Βασιλόπουλος ได้เปลี่ยน 6 ปีที่แล้ว
1
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ PHP Introduction to PHP
อ. นัฐพงศ์ ส่งเนียม ม. ราชภัฎพระนคร
2
ประวัติ PHP PHP ย่อมาจาก Professional Home Page เริ่มสร้างขึ้นในกลางปี 1994 ผู้พัฒนาคือ นาย Rasmus Lerdorf ปัจจุบัน PHP มีการพัฒนามาเป็นรุ่นที่ 4 - Version แรกเป็นที่รู้จักในชื่อว่า Personal Homepage Tools ในปี 1994 ถึงกลางปี1995 - Version ที่สองชื่อว่า PHP/FI ในกลางปี 1995 - Version 3 เป็นที่รู้จักกันในชื่อว่า PHP3 เริ่มใช้กลางปี 1997 - Version 4 Beta 2 ใช้ชื่อว่า Zend (Zend ย่อมาจาก Ze(ev) + (A)nd(I Gutmans) - ปัจจุบันเป็นรุ่นที่ 5 หรือเรียกอีกอย่างหนึ่ง คือ PHP5
3
PHP คืออะไร เป็นภาษา Script สำหรับแสดงเว็บเพจอย่างหนึ่ง จัดอยู่ในกลุ่ม Server Side Script เช่นเดียวกับ ASP การทำงานจะแทรกอยู่ในเอกสาร HTML สามารถ Compile ได้ทั้งบนระบบปฏิบัติการ UNIX, Windows NT, Windows 9x ความสามารถในการทำงานสูง โดยเฉพาะกับการติดต่อกับ Database เช่น MySQL, mSQL, Sybase และ PostgreSQL เป็นต้น
4
ลักษณะเด่นของ PHP ใช้ได้ฟรี
PHP เป็นโปรแกรมที่ทำงานฝั่ง Sever ดังนั้นขีดความสามารถไม่จำกัด Cross-platform นั่นคือPHP ทำงานบนเครื่อง UNIX,Linux,Windows ได้หมด เรียนรู้ง่าย เนืองจาก PHP ฝั่งเข้าไปใน HTML และใช้โครงสร้างและไวยากรณ์ภาษาง่ายๆ เร็วและมีประสิทธิภาพ โดยเฉพาะเมื่อใช้กับ Apach Xerve เพราะไม่ต้องใช้โปรแกรมจาก ภายนอก ใช้ร่วมกับ XML ได้ทันที ใช้กับระบบแฟ้มข้อมูลได้ ใช้กับข้อมูลตัวอักษรได้อย่างมีประสิทธิภาพ ใช้กับโครงสร้างข้อมูลใช้ได้แบบ Scalar,Array,Associative array ใช้กับการประมวลผลภาพได้
5
การทำงานของ PHP ทำงานบน Web Server ได้หลายตัว เช่น
Apache IIS Tomcat PWS ทำงานร่วมกับเอกสาร html สามารถแทรกคำสั่ง PHP ได้ตามที่ต้องการลงในเอกสาร html ทำงานในส่วนที่เป็นคำสั่งของ PHP ก่อน เมื่อมีการเรียกใช้เอกสารนั้น ๆ แสดงผลออกทาง Web Browsers
6
เริ่มต้นการทำงานกับ PHP
ติดตั้งโปรแกรม Appserv Apache Mysql PHPMyadmin ทดสอบการทำงานของ Apache WebServer
7
โครงสร้างภาษา PHP <?php คำสั่งภาษา PHP ?> ตัวอย่าง <?php
echo “Hello ! World ! <br>”; echo “I am PHP”; ?> <? echo “Hello ! World ! <br>”; echo “I am PHP”; ?>
8
โครงสร้างของภาษา PHP (ต่อ)
ผลที่ได้เมื่อผ่านการทำงานแล้วจะได้ผลดังนี้ Hello ! World ! I am PHP ข้อสังเกต - รูปแบบคล้ายกับภาษา C และ Perl - ใช้เครื่องหมาย ( ; ) คั่นระหว่างคำสั่งแต่ละคำสั่ง - ใช้เครื่องหมาย ( . ) ในการเชื่อมกันของตัวแปร และข้อความ File ที่ได้ต้อง save เป็นนามสกุล php หรือ php3 เท่านั้น
9
การทดสอบการทำงานของ PHP
เปิดโปรแกรม Browser ขึ้นมาแล้วก็พิมพ์ URL ตาม ต.ย. ข้างล่างนี้ <?php echo "<h1>Welcome to PHP World </h1><br>"; echo "GIGO : Gabag In Gabag Out"; ?>
10
โดยปกติการตั้งชื่อเว็บหน้าแรก มักจะตั้งชื่อตาม ต.ย. ข้างล่างนี้
Index.html Index.php Index.asp Index.jsp Root Directory WWW
11
เว็บไซต์ที่เกี่ยวข้องกับ PHP
12
เว็บไซต์ที่เกี่ยวข้องกับ PHP
13
เว็บไซต์ที่เกี่ยวข้องกับ PHP
14
เว็บไซต์ที่เกี่ยวข้องกับ PHP
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.