ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยSuryadi Makmur ได้เปลี่ยน 6 ปีที่แล้ว
1
กม.152 กฎหมายมหาชนเบื้องต้น Introduction to Public law
รองศาสตราจารย์ดิเรก ควรสมาคม ครั้งที่ 3
2
ความเป็นมาของ กม.มหาชน
อารยธรรมสำคัญๆของโลก 1.อารยธรรมบาบิโลน 2.อารยธรรมจีน 3.อารยธรรมกรีก 4.อารยธรรมโรมัน
3
อารยธรรม :แหล่งความเจริญที่เป็นรากฐาน
ตะวันตก บาบิโลน อียิปต์ กรีก โรมัน ยุโรป อเมริกา ตะวันออก จีน อินเดีย ไทย
4
อารยธรรม :แหล่งความเจริญที่เป็นรากฐาน
สมัยโบราณ สมัยกลาง สมัยใหม่ อียิปต์/ บาบิโลน กรีก BC โรมัน 753BC-476CE ยุคกลาง ในยุโรป 500 CE -1500CE ยุคใหม่ 1600CE พระพุทธเจ้า BC. (ก.พ.ศ.80-0) พระเยซู 1 CE ฮิจเราะห์ ศักราช 622 CE หลังยุคใหม่ (Post Modren) 1900CE อารยธรรม สินธุ
5
สายความคิดตะวันตก ยุคโบราณ ยุคกลาง ยุคใหม่
ยุคโบราณ ยุคกลาง ยุคใหม่ กรีก - โรมัน ยุโรปต้น กลาง(ยุคมืด) ฟื้นฟู ( B.C) (753 B.C- 476 CE) (500 C.E) ( C.E) (1500 C.E) (1600 CE – 1900CE) -โซฟิสต์ ชิเซโร ศาสนจักรครอบงำอาณาจักร อาณาจักรเหนือศาสนจักร -โสเครตีส -กฎหมายจัสติเนียน เซนต์ ออกัสติน รัฐสมัยใหม่ -เพลโต้ เซนต์อะไควนัส อำนาจอธิปไตย -อริสโตเติ้ล แบ่งแยกอำนาจ -เสรีนิยม ประชาธิปไตย -นิติรัฐ -สิทธิมนุษยชน พระพุทธเจ้า – เยซูคริสต์ ฮิจเราะห์ศักราช ( B.C) -- (1CE) (622 CE)
6
ยุโรปยุคฟื้นคืนชีพ1500 CE ศาสนจักรเหนืออาณาจักร
สายความคิดตะวันตก อียิปต์/บาบิโลน ยุคโบราณ ยุคกลาง ยุคใหม่ CE ยุโรปตอนต้น500 CE ยุโรปยุคมืด CE ยุโรปยุคฟื้นคืนชีพ1500 CE กรีก BC โรมัน 753 BC – 476 CE อาณาจักรเหนือศาสนจักร ศาสนจักรเหนืออาณาจักร สินธุ BC พราหมณ์ พระพุทธเจ้า BC (ก.พ.ศ.80-0) พระเยซูคริสต์ 1 CE ฮิจเราะห์ศักราช 622CE 6
7
อารยธรรมบาบิโลน -ลุ่มน้ำไทกรีส-ยูเพรติส
-2000 ก่อนคริสตกาล -ลุ่มน้ำไทกรีส-ยูเพรติส -กษัตริย์ฮัมมูราบี อาณาจักรบาบิโลน แท่งศิลา -มีบทบัญญัติเกี่ยวกับฐานะและหน้าที่ของอำมาตย์ ข้าราชการ -มีบทบัญญัติและประกาศราชโองการกษัตริย์และคำตัดสินของกษัตริย์ไว้ทั้งในส่วนอาญา(ลักทรัพย์ ทำร้ายร่างกาย)ส่วนแพ่ง(การยืม การเรียกร้องเกี่ยวกับหนี้ ครอบครัว)
8
สมัยสุเมเรี่ยน (Sumerian) สองพันปีก่อนคริสตกาล
9
ชาวสุเมเรี่ยนได้บันทึกมันเอาไว้ในแผ่นจารึกดินเหนียว
10
กษัตริย์ฮัมมูราบี Hammurabi 1810-1750 ปีก่อนคริสตกาล
Hammurabi Code
11
อารยธรรมจีน 683 ก่อนคริสตกาล ระเบียบชุมชน การสำรวจสัมมะโนครัว และว่าด้วยการสมรส กฎหมายมหาชน = ราชสำนักและขุนนาง จอหงวน เปาปุนจิ้น
12
เส้นทางสายใหม SILK ROAD
13
อารยธรรมกรีก 1000 -146 ปีก่อนคริสตกาล
การปกครอง นครรัฐ (Polis หรือ City state) นครรัฐเอเธนส์ -สิทธิเข้าร่วมประชุมสภาราษฎร/สภาประชาชน -พิจารณากิจการสาธารณะ รวมทั้งสามารถลงคะแนนเสียงด้วยตนเอง ในการเลือกตั้งเจ้าหน้าที่ฝ่ายบริหาร (อาร์คอน) -เข้าร่วมเป็นคณะลูกขุนในการพิจารณาคดีของศาล -กฎหมายบังคับให้บิดาสอนบุตรของตนให้ทำการค้าขาย -กฎหมายห้ามการส่งพืชผลทุกชนิดออกนอกประเทศ เว้นแต่น้ำมันมะกอก -กฎหมายจำกัดเสรีภาพของหญิง เช่น ห้ามไม่ให้ออกนอกบ้านเวลากลางคืน
14
อารยธรรมกรีก
15
นักปราชญ์ที่สำคัญของกรีก
1.โสเครติส (Socrates) ปีก่อนคริสตกาล การปกครองที่ดีควรมาจากบุคคลคนเดียวหรือกลุ่มบุคคล โดยบุคคลนั้นต้องมีความสามารถและมีจริยธรรมสูง (เน้นคุณธรรมจริยธรรม)
16
เพลโต้ (Plato) 427-347 ปีก่อนคริสตกาล งานเขียน Republic หรือ อุตมรัฐ
-ผู้ปกครองจะต้องมีสติปัญญาความรู้ความสามารถสูง ในลักษณะเป็นพระราชาผู้เป็นนักปราชญ์/ราชาปราชญ์ (Philosopher King) -ผู้ปกครองคนเดียวที่มีความสามารถและมีศีลธรรม(ราชาปราชญ์/รัฐบุรุษ) ย่อมดีกว่าผู้ปกครองหลายคนที่ไม่มีการศึกษาและศีลธรรม
17
อริสโตเติ้ล (Aristotle)
จริยธรรม (Ethics)ว่าชีวิตที่ดีต้องมีความสามารถที่จะเลือกในสิ่งที่ถูกต้อง หรือต้องมีคุณธรรม การใช้กฎหมายเป็นหลักมากกว่าเน้นบุคคล (Rule of law) แนวคิดกฎหมายธรรมชาติ (Natural law) งานเขียน Politics (การเมือง)
18
Politics (การเมือง) รูปแบบการปกครอง 1. การปกครองโดยบุคคลคนเดียว
Monarchy (ดี) กับ Tyranny (ไม่ดี) 2. การปกครองโดยกลุ่มคน Aristocracy (ดี) กับ Oligarchy (ไม่ดี) 3. การปกครองโดยคนส่วนใหญ่จำนวนมาก Polity (ดี) กับ Democracy (ไม่ดี)
19
อารยธรรมโรมัน 1.ราชอาณาจักรโรมัน ( ก่อนคริสตกาล) 2.สาธารณรัฐโรมัน ( ก่อนคริสตกาล) 3.จักรวรรดิโรมัน (44 ก่อนคริสตกาล - คศ.476)
21
1.ราชอาณาจักรโรมัน การปกครอง ระบบกษัตริย์ คือ
การปกครอง ระบบกษัตริย์ คือ กษัตริย์โรมิวลุส (Romulus) และแผ่ขยายอำนาจออกไปจนถึงยุคกษัตริย์อีทรัสกัน ซึ่งถูกโค่นล้มโดยขุนนางในราวปี 509 ก่อนคริสต์ศักราช
22
2.สาธารณรัฐโรมัน ชนชั้นขุนนางเรียกว่า กงสุล (Consuls) เป็นผู้ปกครอง
มีสภาขุนนาง (สภาซีเนท) มีการแบ่งชนชั้น -ชนชั้นสูง เรียกว่า พาทรีเชียน (Prtrician) -ชนชั้นต่ำ เรียกว่า เพลเบียน (Plebeian) กฎหมายของพลเมืองโรมันที่เรียกว่า Jus Civile กฎหมายของสามัญชนกับคนต่างด้าวเรียกว่า Jus Gentium กฎหมายสิบสองโต๊ะ(Twelve Table law)
23
ยุคจักรวรรดิโรมัน การรบและมีดินแดนครอบครองกว้างขวาง
จักรพรรดิ ออกุสตุส (Augustus) นักกฎหมายสำคัญคือ อัลเปียน (Ulpian) “กฎหมายมหาชนคือกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับผลประโยชน์ของรัฐโรมัน” จักรพรรดิจัสติเนียน = ประมวลกฎหมายจัสติเนียน หรือ ประมวลกฎหมายโรมัน (Corpus Juris Civilis) อิทธิพลของศาสนาคริสต์ (ยิว) เริ่มแผ่เข้ามา
24
สรุป อารยธรรมโรมัน -การรบ การทหาร เข้มแข็ง
-ด้านการจัดรูปแบบการปกครองที่เรียกว่าสาธารณรัฐ -ด้านกฎหมายที่สำคัญๆได้แก่ การมีกฎหมายลายลักษณ์อักษร กฎหมายสิบสองโต๊ะ ประมวลกฎหมายจัสติเนียน ซึ่งต่อมาประเทศในยุโรปนำไปพัฒนาเป็นประมวลกฎหมายแพ่ง
26
กฎหมายมหาชนในโลกตะวันออก
อารยธรรมอินเดีย ชมพูทวีป ก่อนพุทธกาลและถึงพุทธกาล แว่นแคว้น 16 แห่ง -แคว้นมคธ(เมืองราชคฤห์) แคว้นกาสี (เมืองพาราณสี) แคว้นโกศล (เมืองสาวัตถี) แคว้นวัชชี(เมืองเวสาลี) แคว้นวังสะ (เมืองโกสัมพี)
27
ศาสนาพราหมณ์ VS ศาสนาพุทธ
28
การปกครอง แคว้นมคธ ราชาธิปไตย พระเจ้าพิมสาร
แคว้นวัชชี กษัตริย์ลิจฉวี การปกครองแบบสามัคคีธรรม (คณราช) หลักมีส่วนในการปกครองหรือหลักสามัคคีธรรม (หลักอปริหานิยธรรม)
29
หลัก: อปริหานิยธรรม 1.หมั่นประชุมกันเนืองนิตย์ 2.พร้อมเพรียงกันประชุม
3.ถือปฏิบัติมั่นอยู่ในบทบัญญัติใหญ่ที่วางไว้เป็นธรรมนูญ 4. เคารพนับถือและเชื่อฟังถ้อยคำของผู้ใหญ่ 5. ให้เกียรติและคุ้มครองกุลสตรี 6. เคารพบูชาสักการะเจดีย์ ปูชนียสถาน อนุสาวรีย์ประจำชาติ 7. จัดการให้ความอารักขา บำรุง คุ้มครองแก่บรรพชิต ผู้ทรงศีล
30
พระเจ้าอโศกมหาราช (พ.ศ.218 -260)
อาณาจักรมคธ พระเจ้าอโศกมหาราช (พ.ศ ) การเอาชนะโดยการรบการสงคราม การเอาชนะด้วยธรรม เรียกว่า “ธรรมวิชัย” หมายความว่า การเอาชนะด้วยธรรม ด้วยความดี การศาสนา - สร้างวัด การศึกษา -มหาวิทยาลัยนาลันทา สาธารณูปโภคและสาธารณูปการ โรงพยาบาลคน สัตว์ สร้างถนนหนทางเชื่อมโยงกัน ปลูกต้นไม้ ขุดบ่อน้ำ สร้างที่พักคนเดินทาง สร้างอ่างเก็บน้ำ
31
กฎหมายมหาชนในชมพูทวีป
1. ที่มา = ศาสนาพราหมณ์ (ฮินดู) คัมภีร์พระเวท -การปกครองและผู้ปกครอง -“ราชา” แปลว่า ผู้ทำให้ผู้อื่นพึงพอใจ -“กษัตริย์” แปลว่า ผู้เป็นใหญ่ในเขตในดินแดน -มนูธรรมศาสตร์ หรือ มานวธรรมศาสตร์
32
2. การแบ่งวรรณะหรือชนชั้นต่างๆ (พราหมณ์)
ความไม่เสมอภาค 2.1 วรรณะพราหมณ์ 2.2 วรรณะกษัตริย์ 2.3 วรรณะแพศ 2.4 วรรณะศูทร
33
พุทธ ไม่มีการแบ่งชนชั้น ทุกคนมีความเท่าเทียมกัน (หลักความเสมอภาค)
คนทุกคนเป็นมนุษย์เหมือนกัน แต่มนุษย์ทุกคนไม่มีใครเหมือนกัน
34
หลักประพฤติปฏิบัติสำหรับผู้ปกครอง ทศพิศราชธรรมหรือราชธรรม 10
6.ตบะ หมายถึง ความเพียรหรือขยันหมั่นเพียร 7.อักโกธะ หมายถึง ความไม่โกรธ 8.อวิหิงสา หมายถึง ความไม่เบียดเบียน 9.ขันติ หมายถึง ความอดทน ต่อความยากลำบาก 10.อวิโรธนะ หมายถึง ความไม่คลาดธรรม หรือความเที่ยงธรรม หลักคุณธรรมของผู้ปกครอง (หลักกฎหมายมหาชนสำหรับผู้ปกครอง) 1.ทาน หมายถึง การให้ 2. ศีล หมายถึงความประพฤติต่อผู้อื่น 3. ปริจจาคะ หมายถึง การบริจาค 4.อาชชวะ หมายถึง ความซื่อสัตย์ ซื่อตรง 5.มัททวะ หมายถึง ความอ่อนโยน
35
หลักเกี่ยวกับหน้าที่ของผู้ปกครอง(กษัตริย์)
จักรวรรดิวัตร 12 = การสงเคราะห์สิ่งต่างๆ 1.สงเคราะห์แก่ชนในพระราชฐานและพยุหเสนา (กองทหาร) 2.สงเคราะห์กษัตริย์ที่เป็นเมืองขึ้น 3.สงเคราะห์พระบรมวงศานุวงศ์ เหล่าเชื้อพระวงศ์ ผู้เป็นราชบริพาร 4.สงเคราะห์แก่พราหมณ์และคฤหบดี 5.สงเคราะห์ประชาชน 6.สงเคราะห์สมณพราหมณ์ นักบวช 7. สงเคราะห์สรรพสัตว์ 8. ควรห้ามปรามบุคคลทั้งหลายมิให้มีความประพฤติ ปฏิบัติการอันไม่เป็นธรรม 9. ควรเลี้ยงดูคนจน เจือจานทรัพย์ 10เข้าหาและสอบถาม สมณะพราหมณ์ 11.ควรห้ามจิตหรือเว้นความกำหนัดในกาม 12. ควรระงับความโลภ
36
ออกมาเพื่อใช้ในการบริหารและบริการแก่ประชาชน
กฎหมายปัจจุบัน ออกมาเพื่อใช้ในการบริหารและบริการแก่ประชาชน พ.ร.บ.งบประมาณ , พ.ร.บ.การค้าข้าว พุทธศักราช 2489 , พ.ร.บ.กองทุนสงเคราะห์เกษตรกร พ.ศ.2517 พ.ร.บ.สงเคราะห์ผู้ประสบภัยเนื่องจากการรบ พ.ศ.2485 พ.ร.บ.สงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ พ.ร.บ.การประกอบโรคศิลปะ พ.ศ.2542 พ.ร.บ.สงเคราะห์ข้าราชการผู้ได้รับอันตรายหรือการเจ็บป่วยเพราะเหตุปฏิบัติราชการ พ.ศ.2546 พ.ร.บ.การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 พ.ร.บ.ส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ พ.ศ.2550 เป็นต้น
37
ความหมายของกฎหมายมหาชน
1. กฎหมายว่าด้วยสิทธิและความเกี่ยวข้องระหว่างรัฐกับประชาชน (ตามรูปศัพท์) = Public law 2.กฎหมายที่วางระเบียบความเกี่ยวพันระหว่างรัฐกับเอกชน ในฐานะที่รัฐมีอำนาจปกครองเอกชนที่อยู่ในดินแดนของรัฐนั้น (พจนานุกรม)
38
ในทางวิชาการ 1. อัลเปี่ยน ( Ulpain ) = กฎหมายที่กำหนดเกี่ยวกับสถานภาพของสาธารณรัฐโรมัน 2.กฎหมายที่เกี่ยวกับ สถานะและอำนาจของผู้ปกครอง รวมทั้งความสัมพันธ์ระหว่างผู้ปกครองกับผู้อยู่ใต้ปกครอง 3.กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับ องค์กรของอำนาจสาธารณะ และฝ่ายปกครอง รวมทั้งกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับความสัมพันธ์ระหว่างองค์กรดังกล่าว กับเอกชน
39
4.กฎเกณฑ์ทางกฎหมายทั้งปวงในรัฐๆหนึ่ง ที่เกี่ยวกับองค์กรของรัฐนั้น และกำหนดความสัมพันธ์ของรัฐรวมทั้งเจ้าหน้าที่ของรัฐ กับเอกชน มีวัตถุประสงค์เพื่อกำหนดและรับรองสิทธิทางการเมือง และสิทธิมหาชนของปัจเจกชน 5.กฎหมายที่วางกฎเกณฑ์แก่ สาธารณบุคคล อันได้แก่ รัฐ องค์การปกครอง รวมถึงนิติบุคคลตามกฎหมายมหาชนอื่นๆ
40
6.กฎหมายที่กำหนดความสัมพันธ์ระหว่างรัฐ หรือหน่วยงานของรัฐ ในฐานะที่เป็นฝ่ายปกครองราษฎร กล่าวคือ ในฐานะที่รัฐมีฐานะเหนือราษฎร 7. กฎหมายที่เกี่ยวกับวิธีการดำเนินงานของรัฐ ส่วนกฎหมายเอกชนเป็นกฎหมายที่เกี่ยวกับการดำเนินงานโดยเฉพาะของแต่ละบุคคลหรือเอกชน 8.บรรดากฎเกณฑ์ทางกฎหมายเกี่ยวกับสถานะและอำนาจรัฐ รวมทั้งกฎเกณฑ์ทางกฎหมายเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างรัฐซึ่งรวมถึงหน่วยงานของรัฐกับพลเมืองผู้อยู่ในฐานะเป็นเอกชนภายใต้การปกครอง และเป็นความสัมพันธ์ในฐานะที่รัฐมีเอกสิทธิ์ทางปกครองเหนือพลเมืองซึ่งอยู่ในฐานะเอกชนนั้น
41
สรุปความหมายกฎหมายมหาชน
1.เป็นบรรดากฎเกณฑ์ทางสังคมที่เป็นมนุษย์ยอมรับและใช้ร่วมกัน 2.เป็นกฎเกณฑ์ที่เกี่ยวกับสถานะ อำนาจ สิทธิ หน้าที่ และความสัมพันธ์ 3.เป็นกฎเกณฑ์ระหว่างผู้ปกครองกับผู้ใต้ปกครอง 4.เป็นกฎเกณฑ์ที่มีขึ้นเพื่อใช้ในการบริหารและการบริการสาธารณะ
42
ตัวอย่างของ กฎหมายมหาชน
-รัฐธรรมนูญ -กฎหมายปกครอง -พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน - พระราชบัญญัติการเงินการคลัง
43
การแบ่งแยกสาขาของกฎหมายมหาชน
พิจารณาจากแหล่งกำเนิด 1. กฎหมายมหาชนภายนอก 2. กฎหมายมหาชนภายใน
44
กฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีเมือง
กฎหมายมหาชนภายนอก กฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีเมือง -ข้อตกลงหรือสนธิสัญญาระหว่างประเทศ -จารีตประเพณีระหว่างประเทศ (เช่น การทูต) อนุสัญญาเวียนนา , อนุสัญญาว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ พิธีสารเกียวโต ,อนุสัญญาบาเซล ,อนุสัญญาร็อดเตอร์ดัม ,อนุสัญญาสตอกโฮล์ม , อนุสัญญาสหประชาชาติปี1998ว่าด้วยการต่อต้านการลอบค้ายาเสพติดและวัตถุออกฤทธิ์ต่อจิตประสาท
45
กฎหมายมหาชนภายใน คือ บรรดากฎเกณฑ์ที่บัญญัติถึงความสัมพันธ์ระหว่างรัฐกับพลเมืองของรัฐ โดยกำหนดฐานะของนิติบุคคลหรือสถาบันในกฎหมายมหาชนกับเอกชน 1.รัฐธรรมนูญ / กฎหมายรัฐธรรมนูญ 2. กฎหมายปกครอง 3. กฎหมายการคลัง 4.กฎหมายอาญา 5. กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา กฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง
46
รัฐธรรมนูญ ได้แก่ ตัวบทกฎหมายที่เป็นมาตราๆในรัฐธรรมนูญ
กฎหมายรัฐธรรมนูญ (กว้างกว่าคำว่า “รัฐธรรมนูญ”) ศึกษาจากบทบัญญัติใดๆในรัฐธรรมนูญไทย หรือรัฐธรรมนูญของต่างประเทศ ,คำพิพากษาของศาลในทางมหาชน (หลักและทฤษฎี)
47
กฎหมายปกครอง ได้แก่ - พระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ.2496
-พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 - พระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ.2496 -พระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล พ ศ. 2537 -พระราชบัญญัติกำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ.2542 ฝ่ายปกครอง การกระทำทางปกครอง นิติกรรมทางปกครอง สัญญาทางปกครอง
48
กฎหมายการคลัง การบริหาร การเงิน การคลังของประเทศ ตัวอย่าง พระราชบัญญัติเงินคงคลัง พ.ศ , พระราชบัญญัติเงินตรา พ.ศ.2501 , พระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ...
49
กฎหมายอาญา 1.ประมวลกฎหมายอาญา 2.พระราชบัญญัติที่มีโทษอาญา
เช่น พ.ร.บ. ยาเสพติด , พ.ร.บ.อาวุธปืน, พ.ร.บ.จราจร คำถาม : กฎหมายอาญาเป็นกฎหมายมหาชน /เอกชน เพราะอะไร ??
50
กฎหมายวิธีพิจารณาความ
กฎหมายเกี่ยวกับกระบวนพิจารณาคดีอาญา คดีแพ่ง และเกี่ยวกับการปฏิบัติหน้าที่ในทางพิจารณาพิพากษาคดี ตัวอย่าง : กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา วิธีพิจารณาความแพ่ง พระธรรมนูญศาลยุติธรรม รัฐได้มอบหมายให้ ดำเนินการในศาล(พยานหลักฐาน) อันเป็นการเปิดเผยต่อส่วนรวม และการใช้อำนาจรัฐเข้าบังคับคดี(ยึดทรัพย์) ในลักษณะนี้จึงจัดเป็นสาขาในกฎหมายมหาชนอีกประเภทหนึ่ง
51
ประเทศฝรั่งเศส กฎหมายเอกชน กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ กฎหมายอาญา
กฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง ,กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา กฎหมายสังคม กฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีบุคคล
52
กฎหมายมหาชน 1.กฎหมายมหาชนภายนอก ได้แก่
กฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีเมือง อันเป็น กฎหมายที่เกี่ยวกับสถานะและความสัมพันธ์ระหว่างรัฐต่อรัฐในการมีนิติสัมพันธ์กันในทางระหว่างประเทศด้วยกัน
53
2.กฎหมายมหาชนภายใน กฎหมายรัฐธรรมนูญ กฎหมายปกครอง กฎหมายการคลังและการภาษีอากร
54
เยอรมัน กฎหมายมหาชน กฎหมายรัฐธรรมนูญ กฎหมายปกครอง
กฎหมายภาษี กฎหมายอาญา กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา กฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง กฎหมายล้มละลาย กฎหมายวิธีพิจารณาทางปกครอง กฎหมายศาสนจักร กฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีเมือง
55
เยอรมัน กฎหมายเอกชน กฎหมายแพ่ง กฎหมายพาณิชย์
56
เยอรมัน กฎหมายมหาชน รัฐธรรมนูญ กฎหมายปกครองกฎหมาย การคลังและภาษี
กฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญากฎหมายอาญา กฎหมายว่าด้วยพระธรรมนูญศาลยุติธรรม
57
กฎหมายผสม (เอกชน + มหาชน) กฎหมายประกันสังคม กฎหมายคุ้มครองแรงงาน
กฎหมายประกันสังคม กฎหมายคุ้มครองแรงงาน กฎหมายคุ้มครองผู้บริโภค กฎหมายเกี่ยวกับประกันภัย 1.เอกชน = เริ่มจากนิติสัมพันธ์ต่อกันในกม.แพ่ง (จ้างแรงงาน) 2.มหาชน = รัฐออกกม.พิเศษมาคุ้มครอง (เช่น พ.ร.บ.คุ้มครองแรงงาน)
58
สาขาของกฎหมายมหาชนในประเทศไทย
1.พิจารณาถึงกิจการที่บัญญัติไว้ในกฎหมาย 2.พิจารณาถึงผู้ถืออำนาจหรือผู้ทรงสิทธิ 3.พิจารณาถึงสถานะหรือความสัมพันธ์ของบุคคลในกฎหมายนั้น
59
กฎหมายรัฐธรรมนูญ กฎหมายปกครอง กฎหมายอาญา กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา กฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง พระธรรมนูญศาลยุติธรรม กฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีเมือง (แนวเยอรมัน)
60
แนวฝรั่งเศส 1.กฎหมายมหาชนภายนอก 2.กฎหมายมหาชนภายใน
-กฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีเมือง 2.กฎหมายมหาชนภายใน -รัฐธรรมนูญ กฎหมายปกครอง และกฎหมายการคลัง
61
กฎหมายมหาชนกับกฎหมายเอกชน
ประเด็น ?? เราจะใช้เกณฑ์ใดในการแยกกฎหมายมหาชนกับกฎหมายเอกชน มหาชน VS เอกชน
62
เกณฑ์/แนวคิดการแบ่งกม.มหาชน/เอกชน
1. ทฤษฎีผลประโยชน์ (Interest Theory) / เกณฑ์วัตถุประสงค์ 2. ทฤษฏีตัวการหรือประธานในกฎหมาย หรือทฤษฎีสถานะ (Subject of law)/เกณฑ์องค์กร 3. ทฤษฏีมีอำนาจเหนือกว่า /เกณฑ์อำนาจ 4. เกณฑ์เนื้อหาของกฎหมาย
63
1. ทฤษฎีผลประโยชน์ / เกณฑ์วัตถุประสงค์
กฎหมายมหาชนเป็นกฎหมายที่สนองตอบต่อการรักษาประโยชน์ของรัฐหรือประโยชน์สาธารณะ กฎหมายเอกชนจะเป็นกฎหมายที่สนองตอบในการรักษาประโยชน์ของเอกชนหรือประโยชน์ส่วนบุคคล (มองประโยชน์ที่อยู่เบื้องหลังของการออกกฎหมายเป็นสำคัญ)
64
1. ทฤษฎีผลประโยชน์ / เกณฑ์วัตถุประสงค์
รัฐธรรมนูญ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พระราชบัญญัติปกครองท้องที่ พระราชบัญญัติเงินงบประมาณ กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ?? พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ สิทธิบัตร เครื่องหมายการค้า ??
65
2. ทฤษฏีตัวการหรือประธานในกฎหมาย หรือทฤษฎีสถานะ เกณฑ์องค์กร
2. ทฤษฏีตัวการหรือประธานในกฎหมาย หรือทฤษฎีสถานะ เกณฑ์องค์กร พิจารณาที่ตัวบุคคลหรือตัวการในกฎหมายว่า บทบัญญัติหรือกฎหมายใดที่กำหนดให้คู่กรณีฝ่ายหนึ่งเป็นรัฐหรือหน่วยงานของรัฐเป็นผู้ถืออำนาจ(ในฐานะผู้ปกครอง) อยู่ในสถานะที่สูงกว่าหรือเหนือกว่าคู่กรณีอีกฝ่ายหนึ่ง(ในฐานะผู้อยู่ใต้ปกครองมีสถานะที่ต่ำกว่า) บทบัญญัติหรือกฎหมายนั้นจัดเป็นกฎหมายมหาชน หากความสัมพันธ์ของบุคคลที่เป็นคู่กรณีในกฎหมายอยู่ในลักษณะที่เสมอภาคกันเท่าเทียม ก็จัดเป็นลักษณะในทางกฎหมายเอกชน
66
3. ทฤษฎีมีอำนาจเหนือกว่า /เกณฑ์อำนาจ
3. ทฤษฎีมีอำนาจเหนือกว่า /เกณฑ์อำนาจ กฎหมายมหาชน = การมีอำนาจเหนือกว่าอีกฝ่ายหนึ่ง สามารถบังคับอีกฝ่ายหนึ่งได้แต่ฝ่ายเดียว กฎหมายเอกชน = ความสัมพันธ์จะมีลักษณะที่เท่าเทียมกันจึงไม่มีอำนาจเหนือกว่าไปบังคับอีกฝ่ายหนึ่ง
67
4. เกณฑ์เนื้อหาของกฎหมาย
พิจารณาจากลักษณะของตัวบทกฎหมาย 4.1 กฎหมายใดมีเนื้อหาเคร่งครัด (Jus Cogens)ในลักษณะบังคับตายตัวทั้งหมดหรือส่วนใหญ่จะตกลงยกเว้นไม่ได้ ก็จัดเป็นกฎหมายมหาชน 4.2 กฎหมายใดที่มีลักษณะผ่อนปรนไม่ตายตัว สามารถตกลงยกเว้นเป็นอื่นได้ จัดเป็นกฎหมายเอกชน
68
เกณฑ์เนื้อหาของกฎหมาย
รัฐธรรมนูญ ๒๕๕๐ “มาตรา ๑๐๖ สมาชิกภาพของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรสิ้นสุดลง เมื่อ (๑) ถึงคราวออกตามอายุของสภาผู้แทนราษฎร หรือมีการยุบสภาผู้แทนราษฎร (๒) ตาย…...” เช่นนี้ถือได้ว่า บทบัญญัติดังกล่าวเป็นเรื่องตายตัวเคร่งครัดไม่สามารถยกเว้นหรือใช้ดุลพินิจเป็นอื่นได้ หากมีเหตุเกิดขึ้นตามบทมาตราดังกล่าว ย่อมมีผลทางกฎหมายเป็นอื่นไม่ได้ นอกจากตามที่บัญญัติไว้เท่านั้น บทบัญญัติดังกล่าวมีลักษณะหรือเนื้อหาที่บังคับแบบตายตัว ไม่สามารถตกลงยกเว้นเป็นอื่นได้ หรือหากมีเหตุใดเหตุหนึ่งไม่ครบถ้วน ก็ไม่อาจใช้ดุลพินิจเพื่อยกเว้นไม่ปฏิบัติได้
69
คำถาม ข้อ 1. พระราชบัญญัติ ป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน พ.ศ เป็นกฎหมายที่กำหนดความผิดมูลฐานขึ้น และการกระทำที่เป็นความผิดฐานฟอกเงิน โดยมีมาตรการในการยึดอายัดทรัพย์ที่เกี่ยวข้องกับการกระทำความผิดมูลฐานนั้นเป็นของแผ่นดิน ดังนี้ให้วินิจฉัย ในประเด็นต่อไปนี้ (ก) กฎหมายนี้เป็นกฎหมายใดระหว่างกฎหมายแพ่ง กฎหมายอาญา หรือกฎหมายมหาชน เพราะเหตุใด (ข) กฎหมายนี้เป็นกฎหมายตามแบบพิธีหรือกฎหมายตามเนื้อความ เพราะเหตุใด
70
ตอบ (ก)พระราชบัญญัติ ป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน เป็นกฎหมายมหาชน ทั้งนี้เพราะ ในแง่ทฤษฎีผลประโยชน์ (Interest Theory)หรือเกณฑ์วัตถุประสงค์ เพราะเป็นกฎหมายที่มีวัตถุประสงค์และเกี่ยวข้องกับเพื่อประโยชน์ของส่วนรวม (เพื่อเป็นการตัดวงจรการประกอบอาชญากรรม) นอกจากนี้หากพิจารณาในแง่ทฤษฏีมีอำนาจเหนือหรือเกณฑ์เรื่องวิธีการที่ใช้เชิงบังคับมีอำนาจเหนือกว่าอีกฝ่ายหนึ่ง สามารถบังคับอีกฝ่ายหนึ่งได้แต่ฝ่ายเดียว (ได้แก่ อำนาจการสั่งยึดอายัดทรัพย์สินไว้ชั่วคราว ) ตลอดจนเจ้าหน้าที่ตามกฎหมายนี้สามารถใช้อำนาจเหนือกว่า ในการออกคำสั่งทางปกครองได้อีกด้วย ตามทฤษฏีว่าด้วยตัวการหรือประธานในกฎหมาย(Subject of law) หรือเกณฑ์องค์กร
71
อย่างไรก็ตาม กฎหมายนี้มีลักษณะเป็นกฎหมายอาญาในแง่มีการกำหนดการกระทำที่เป็นความผิดและกำหนดโทษอาญาไว้อีกด้วย เช่นกัน (ข)เป็นกฎหมายตามเนื้อความ เพราะเป็นกฎหมายที่กำหนดสิทธิและหน้าที่ของประชาชนขึ้นและมีการกำหนดบทลงโทษอีกด้วย ขณะเดียวกันหากพิจารณาในแง่การออกกฎหมายนั้น พ.ร.บ.ดังกล่าวได้มีการพิจารณาและออกตามกระบวนการขั้นตอนในการออกกฎหมายอีกด้วย ในแง่นี้จึงอาจกล่าวได้ว่าเป็นกฎหมายตามแบบพิธีด้วยก็ได้
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.