งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

Database Planning, Design, and Administration

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "Database Planning, Design, and Administration"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 Database Planning, Design, and Administration
Lecture 7

2 Database Systems Development Life Cycle : DSDLC
การศึกษาเบื้องต้น (Database Initial Study) การออกแบบฐานข้อมูล (Database Design) การนำไปใช้ (Implementation) การทดสอบและประเมินผล (Testing and Evaluation) การปฏิบัติงาน (Operation) การบำรุงรักษาและสนับสนุนระบบ (Maintenance and Supporting)

3 DSDLC

4 1. การศึกษาเบื้องต้น (Database Initial Study)
1.1 การวิเคราะห์สถานการณ์ของบริษัท (Analyze the Company Situation) 1.2 การกำหนดปัญหา (Define Problems) 1.3 การกำหนดวัตถุประสงค์ (Define Objectives) 1.4 การกำหนดขอบเขตของระบบ (Define Scope and Boundaries)

5 1.1 การวิเคราะห์สถานการณ์ของบริษัท (Analyze the Company Situation)
ต้องรู้สภาพแวดล้อมการทำงานภายในองค์กร ต้องรู้โครงสร้างการดำเนินงานบริษัท

6 1.2 การกำหนดปัญหา (Define Problems)
ระบบเดิมมีหน้าที่การทำงานอย่างไร มีข้อมูลอะไรบ้างที่อินพุตเข้าไปในระบบ ระบบได้จัดพิมพ์เอกสารหรือรายงานอะไรบ้าง รายงานที่จัดพิมพ์จากระบบถูกนำไปใช้งานได้อย่างไรบ้าง ใครเป็นผู้ใช้รายงาน มีข้อจำกัดหรือสิ่งรบกวนอะไรบ้างที่ส่งผลกระทบต่อระบบ

7 1.3 การกำหนดวัตถุประสงค์ (Define Objectives)
อะไรคือวัตถุประสงค์หลักของระบบที่ต้องการ จะต้องมีการอินเตอร์เฟชกับระบบงานเดิม หรือระบบงานในอนาคตของบริษัทอย่างไร ระบบจะแชร์ข้อมูลเพื่อนำไปใช้งานร่วมกับระบบอื่นๆ หรือ ผู้ใช้อื่นๆ อย่างไร

8 1.4 การกำหนดขอบเขตของระบบ (Define Scope and Boundaries)
คือการออกแบบให้ตรงกับความต้องการในส่วนปฏิบัติงาน เช่น ออกแบบฟังก์ชั่นหน้าที่ให้ครอบคลุมส่วนงานต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง เส้นแบ่งเขต (Boundaries) เกี่ยวข้องกับงบประมาณ รวมถึงฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์

9 แผนผังสรุปกิจกรรมของระยะการศึกษาเบื้องต้น

10 2. การออกแบบฐานข้อมูล (Database Design)
มุ่งประเด็นการออกแบบจำลองฐานข้อมูล ระยะการออกแบบฐานข้อมูลนี้ถือเป็นระยะที่สำคัญที่สุด นำเสนอมุมมองของข้อมูลอยู่ 2 มุมมอง มุมมองทางธุรกิจ (Business View) มุมมองของผู้ออกแบบ (Designer’s View)

11 มุมมองทางธุรกิจ (Business View)
What ปัญหาที่เกิดขึ้นคืออะไร มีแนวทางแก้ไขอะไรบ้าง สารสนเทศที่ต้องการคืออะไร ข้อมูลที่ต้องการมีอะไรบ้าง

12 มุมมองของผู้ออกแบบ (Designer’s View)
How จะต้องกำหนดโครงสร้างข้อมูลอย่างไร จะต้องกำหนดการเข้าถึงข้อมูลอย่างไร จะต้องแปลงข้อมูลเป็นสารสนเทศได้อย่างไร

13 2. การออกแบบฐานข้อมูล (Database Design)
2.1 การวิเคราะห์ความต้องการ (Requirements Analysis) 2.2 การออกแบบฐานข้อมูลเชิงแนวคิด (Conceptual Database Design) 2.3 การคัดเลือกซอฟต์แวร์ระบบจัดการฐานข้อมูล (DBMS Software Selection) 2.4 การออกแบบฐานข้อมูลเชิงตรรกะ (Logical Database Design) 2.5 การออกแบบฐานข้อมูลเชิงกายภาพ (Physical Database Design)

14 2.1 การวิเคราะห์ความต้องการ (Requirements Analysis)
ความต้องการในสารสนเทศ ผู้ใช้สารสนเทศ แหล่งที่มาของสารสนเทศ การประกอบร่างเป็นสารสนเทศ การพัฒนาและรวบรวมมุมมองข้อมูลจากผู้ใช้ การสำรวจระบบงานปัจจุบัน การประสานงานกับทีมงานออกแบบ

15 2.2 การออกแบบฐานข้อมูลเชิงแนวคิด (Conceptual Database Design)
หลังจากได้วิเคราะห์ความต้องการแล้ว ก็นำข้อมูลเหล่านี้มาสร้างเป็แบบจำลอง เชิงแนวคิดซึ่งในที่นี้ก็คือแบบจำลอง E-R (Entity-Relationship Modeling) กำหนด Entity, Attribute, Primary Key, Foreign Key, Relationship

16 2.2 การออกแบบฐานข้อมูลเชิงแนวคิด (Conceptual Database Design)

17 2.3 การคัดเลือกซอฟต์แวร์ระบบจัดการฐานข้อมูล (DBMS Software Selection)
ค่าใช้จ่ายด้านต้นทุนต่างๆ เครื่องมือและคุณลักษณะของ DBMS การคัดเลือกแบบจำลองฐานข้อมูล พิจารณาด้านความสะดวกในการเคลื่อนย้าย (Portability) ความต้องการด้านฮาร์ดแวร์ของ DBMS

18 2.4 การออกแบบฐานข้อมูลเชิงตรรกะ (Logical Database Design)
แปลงแบบจำลอง E-R มาเป็นรีเลชั่น นอร์มัลไลเซชั่น เพื่อตรวจสอบและขจัดความซ้ำซ้อนในข้อมูลของแต่ละรีเลชั่น ตรวจสอบรีเลชั่นว่าสนับสนุนรายการข้อมูลต่างๆ ในระบบครบถ้วนหรือไม่ ตรวจสอบความคงสภาพในข้อมูล (Integrity) ว่าเป็นไปตามข้อบังคับหรือไม่ ทบทวนแบบจำลองเชิงตรรกะร่วมกับผู้ใช้งาน ตรวจสอบการรองรับความเติบโตของข้อมูลในระบบที่อาจเกิดขึ้นในอนาคต

19 2.5 การออกแบบฐานข้อมูลเชิงกายภาพ (Physical Database Design)
เป็นกระบวนการคัดเลือกสื่อจัดเก็บข้อมูล การคัดเลือกรูปแบบโครงสร้างแฟ้ม ข้อมูลว่าจะใช้วิธีการเข้าถึงข้อมูลในฐานข้อมูลแบบใด ซึ่งการออกแบบฐานข้อมูล เชิงกายภาพเป็นปัจจัยที่ไม่ใช่มีแค่เพียงการจัดเก็บข้อมูลบนสื่อบันทึกเท่านั้น แต่ เกี่ยวข้องกับประสิทธิภาพโดยรวมของระบบด้วย เนื่องจากจำเป็นต้องพิจารณา ชนิดอุปกรณ์ที่สนับสนุนระบบ วิธีการเข้าถึงข้อมูล และ DBMS ที่ใช้งาน

20 3. การนำไปใช้งาน (Implementation)
เป็นขั้นตอนที่นำเอาโครงร่างต่างๆ ของระบบฐานข้อมูลที่ได้ออกแบบมาสร้าง เป็นตัวฐานข้อมูลที่จะใช้เก็บข้อมูลจริง รวมทั้งแปลงข้อมูลของระบบงานเดิมให้ สามารถนำมาใช้งานในระบบฐานข้อมูลที่พัฒนาขึ้นใหม่ ในกรณีที่ระบบเดิมมีการ ใช้คอมพิวเตอร์ในการประมวลผล

21 4. การทดสอบและประเมินผล (Testing and Evaluation)
เป็นขั้นตอนของการทดสอบระบบฐานข้อมูลที่พัฒนาขึ้น เพื่อหาข้อผิดพลาด ต่างๆ รวมทั้งทำการประเมินความสามารถของระบบฐานข้อมูลนั้น เพื่อนำไปใช้ เป็นแนวทางในการปรับปรุงให้ระบบฐานข้อมูลที่พัฒนาขึ้นสามารถรองรับความ ต้องการของผู้ใช้งานในด้านต่างๆ ได้อย่างถูกต้องและครบถ้วน

22 5. การปฏิบัติงาน (Operation)
เป็นขั้นตอนที่นำเอาระบบฐานข้อมูลที่พัฒนาเสร็จเรียบร้อยแล้วไปใช้งานจริง ในสภาพแวดล้อมการปฏิบัติงานจริง

23 6. การบำรุงรักษาและสนับสนุนระบบ (Maintenance and Supporting)
เป็นขั้นตอนที่เกิดขึ้นระหว่างการใช้งานระบบฐานข้อมูลจริง เพื่อบำรุงรักษาให้ ระบบฐานข้อมูลทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมทั้งเป็นขั้นตอนของการแก้ไข และปรับปรุงระบบฐานข้อมูลในกรณีที่มีการเพิ่มหรือเปลี่ยนแปลงความต้องการ ของผู้ใช้ที่ส่งผลกระทบต่อระบบฐานข้อมูล

24 Data Administrators (DA) and Database Administrators (DBA)
มีหน้าที่รับผิดชอบในด้านของการจัดการและการควมคุมกิจกรรมความ สัมพันธ์ต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับข้อมูลในฐานข้อมูลขององค์กร

25 Data Administrators : DA
กับงานด้านการวางแผน การออกแบบฐานข้อมูลเชิงแนวคิด การออกแบบฐาน ข้อมูลเชิงตรรกะ การกำหนดแผนนโยบายเพื่อเป็นมาตรฐานในการบังคับใช้เพื่อ งานบำรุงรักษา และชุดคำสั่ง เป็นต้น

26 Database Administrators : DBA
ผลตามที่ต้องการ ซึ่งประกอบด้วยหน้าที่ต่างๆ คือการออกแบบฐานข้อมูลเชิง กายภาพและการนำไปใช้งาน การควบคุมความปลอดภัย การกำหนดความคง สภาพในข้อมูล การบำรุงรักษา การปรับปรุงและเพิ่มสมรรถนะให้แก่ระบบ ซึ่ง เป็นงานที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงานต่อระบบเป็นสำคัญ ดังนั้นจะเห็นได้ว่า ผู้บริหารฐานข้อมูล (DBA) นั้นจะมีความรู้เชิงเทคนิคมากกว่าผู้บริหารข้อมูล (DA) กล่าวคือผู้บริหารฐานข้อมูล (DBA) จะต้องมีความรู้ในรายละเอียดของ DBMS และสภาพแวดล้อมภายในระบบเป็นอย่างดี

27 Differences between DA and DBA
ทำแผนกลยุทธ์และวางแผนระบบสารสนเทศ ประเมินผล DBMS ใหม่ที่นำมาใช้งาน กำหนดนโยบายและเป้าหมายระยะยาว ดำเนินงานตามแผนนโยบายให้บรรลุ เป้าประสงค์ ออกกฎมาตรฐาน นโยบาย และชุดคำสั่ง กำหนดความต้องการของข้อมูล นำความต้องการที่รวบรวม ไปใช้งานให้ เกิดผล

28 Differences between DA and DBA
ออกแบบฐานข้อมูลเชิงแนวคิดและเชิง ตรรกะ ออกแบบฐานข้อมูลเชิงตรรกะและเชิงกายภาพ พัฒนาและบำรุงรักษาแบบจำลองข้อมูล ติดตั้งระบบฐานข้อมูล ร่วมมือประสานงานกับทีมงานพัฒนาระบบ ตรวจสอบและควมคุมฐานข้อมูล จำทำแผนบริหารจัดการ จัดทำแผนงานเชิงเทคนิค

29 สรุปความแตกต่างระหว่าง DA กับ DBA


ดาวน์โหลด ppt Database Planning, Design, and Administration

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google