งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การเตรียมความพร้อมเพื่อก้าวสู่ AEC

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การเตรียมความพร้อมเพื่อก้าวสู่ AEC"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การเตรียมความพร้อมเพื่อก้าวสู่ AEC

2

3 ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
รวมสมาชิก ณ ปัจจุบัน 10 ประเทศ ประชากร 580 ล้านคน ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

4 ประเทศไทย (Thailand) เมืองหลวง : กรุงเทพมหานคร (Bangkok)
พื้นที่ : 513, ตารางกิโลเมตร ประชากร : 64.7 ล้านคน สกุลเงิน : บาท (Baht : THB) ภาษาราชการ : ภาษาไทย ดอกไม้ประจำชาติ : ดอกราชพฤกษ์ (คูน)

5 ฟิลิปปินส์ (Philippines)
เมืองหลวง : กรุงมะนิลา (Manila) พื้นที่ : 298,170 ตารางกิโลเมตร ประชากร : ล้านคน สกุลเงิน : เปโซ (Peso : PHP) ภาษาราชการ : ภาษาฟิลิปิโน (Filipino) และภาษาอังกฤษ โดยมีภาษาประจำชาติคือ ภาษาตากาล็อก ดอกไม้ประจำชาติ : Sampaguita Jasmine หรือดอกมะลิ

6 มาเลเซีย (Malaysia) เมืองหลวง : กรุงกัวลาลัมเปอร์ (Kuala Lumpur)
พื้นที่ : 330,257 ตารางกิโลเมตร ประชากร : ล้านคน สกุลเงิน : ริงกิตมาเลเซีย (Malaysian Ringgit : MYR) ภาษาราชการ : มาเลย์ (Bahasa Malaysia) ดอกไม้ประจำชาติ : Hibiscus หรือ ชบา

7 สิงคโปร์ (Singapore) เมืองหลวง : สิงคโปร์ พื้นที่ : 697 ตารางกิโลเมตร
เมืองหลวง : สิงคโปร์ พื้นที่ : ตารางกิโลเมตร ประชากร : ล้านคน สกุลเงิน : ดอลลาร์สิงคโปร์ (Singapore Dollar : SGD) ภาษาราชการ : ภาษามาเลย์ (ภาษาประจําชาติ), จีนกลาง (แมนดาริน), ทมิฬ และอังกฤษ ดอกไม้ประจำชาติ : Vanda Miss Joaquim (กล้วยไม้กลุ่มแวนด้า)

8 อินโดนีเซีย (Indonesia)
เมืองหลวง : จาการ์ตา(Jakarta) พื้นที่ : 1,890,754 ตารางกิโลเมตร (ประกอบด้วยเกาะใหญ่น้อยกว่า 17,508เกาะ) ประชากร : 220 ล้านคน สกุลเงิน : รูเปียห์ (Rupiah : IDR) ภาษาราชการ : ภาษาอินโดนีเซีย หรือ Bahasa Indonesia ดอกไม้ประจำชาติ : Moon Orchid(กล้วยไม้ราตรี)

9 บรูไน ดารุสซาลาม (Brunei Darussalam)
ชื่อทางการ : เนการา บรูไน ดารุสซาลาม (Negara Brunei Darussalam แปลว่า ดินแดนแห่งความสงบสุข) เมืองหลวง : บันดาร์ เสรี เบกาวัน (Bandar Seri Begawan) พื้นที่ : 5,765 ตารางกิโลเมตร ประชากร : 370,000 คน สกุลเงิน : ดอลลาร์บรูไน (Brunei Dollar : BND) ภาษาราชการ : ภาษามาเลย์ (Malay หรือ Bahasa Melayu) ดอกไม้ประจำชาติ : Simpor หรือ Dillenia (ส้านชะวา)

10 เวียดนาม (Vietnam) ชื่อทางการ : สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม (Socialist Republic of Vietnam) เมืองหลวง : กรุงฮานอย (Hanoi) พื้นที่ : 331,689 ตารางกิโลเมตร ประชากร : ล้านคน สกุลเงิน : ด่อง (Dong : VND) ภาษาราชการ : ภาษาเวียดนาม (Vietnamese) ดอกไม้ประจำชาติ : Lotus (บัว)

11 ลาว (Laos) ชื่อทางการ : สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว (The Lao People's Democratic Republic) เมืองหลวง : นครเวียงจันทน์ (Vientiane) พื้นที่ : 236,800 ตารางกิโลเมตร ประชากร : ล้านคน สกุลเงิน : กีบ (Kip) ภาษาราชการ : ภาษาลาว ดอกไม้ประจำชาติ : Dok Champa (ลีลาวดี)

12 พม่า (Myanmar) ชื่อทางการ : สหภาพพม่า (Union of Myanmar)
เมืองหลวง : เนปีดอ (Naypyidaw) หรือบางครั้งสะกดเป็น เนปีตอ (Nay Pyi Ta) พื้นที่ : 676,577 ตารางกิโลเมตร ประชากร : 56 ล้านคน สกุลเงิน : จ๊าด (Kyat : MMK) ภาษาราชการ : ภาษาพม่า ดอกไม้ประจำชาติ : Padauk (ประดู่)

13 กัมพูชา (Cambodia) ชื่อทางการ : ราชอาณาจักรกัมพูชา (Kingdom of Cambodia) เมืองหลวง : กรุงพนมเปญ (Phnom Penh) พื้นที่ : 181,035 ตารางกิโลเมตร ประชากร : ล้านคน สกุลเงิน : เงินเรียล (Riel : KHR) ภาษาราชการ : ภาษาเขมร ดอกไม้ประจำชาติ : Rumdul (ลำดวน)

14 ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC)
T H A I L N D P I L N S E P A G N I E R O R O L D P M A I S Y L M Y A R A N O D I S E E T M V A N U B I E N D O B M C A

15

16 ตลาดส่งออกหลักของไทย ปี 2535 กับปี 2553
ไทยกับอาเซียน ตลาดส่งออกหลักของไทย ปี 2535 กับปี 2553 ปี 2535 ปี 2553 อาเซียนเป็นตลาดส่งออกสำคัญอันดับหนึ่งของไทยนำหน้าตลาดดั้งเดิมอย่างเช่นสหรัฐอเมริกาและญี่ปุ่น และยังมีแนวโน้มขยายตัวอย่างต่อเนื่อง ซึ่งไทยยังต้องรักษาตลาดนี้ไว้ และเพิ่ม market share ให้มากขึ้นด้วย ในปี 2553 ไทยเราส่งออกไปอาเซียนมีมูลค่ากว่า 44,000 ล้านเหรียญสหรัฐฯ มีการนำเข้าประมาณ 30,000 ล้านเหรียญสหรัฐฯ การลดภาษีนำเข้าระหว่างกันในอาเซียน รวมทั้งการลด/ยกเลิกอุปสรรคทางการค้าที่มิใช่ภาษี และการอำนวยความสะดวกทางการค้าในอาเซียน เป็นปัจจัยสำคัญที่ส่งเสริมให้การส่งออกสินค้าไทยไปยังประเทศสมาชิกอาเซียนขยายตัวเพิ่มขึ้นกว่า 7 เท่าตัว จาก 4,490.2 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ในปี 2535 เป็น 44,000 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ในปี 2553 ในปี 2553 สินค้าส่งออกสำคัญของไทยไปยังอาเซียน ได้แก่ รถยนต์ อุปกรณ์และส่วนประกอบ น้ำมันสำเร็จรูป คอมพิวเตอร์ แผงวงจรไฟฟ้า เครื่องจักรกล ยางพารา ข้าว น้ำตาลทราย และ สินค้าอุปโภคบริโภคต่างๆ ส่งออกรวม 32,609.1 ล้านเหรียญ ส่งออกรวม 195,311.6 ล้านเหรียญ Note AFTA เริ่มเจรจาปี 2535 และเริ่มลดภาษีปี 2536 (1993) ASEAN 6 ภาษีเป็นร้อยละ 0 ตั้งแต่ 1 มค.ค.2553 (2010)

17 แหล่งนำเข้าหลักของไทย ปี 2535 กับปี 2553
ไทยกับอาเซียน แหล่งนำเข้าหลักของไทย ปี 2535 กับปี 2553 ปี 2535 ปี 2553 ในช่วงปี ไทยนำเข้าจากอาเซียนเพิ่มขึ้นกว่า 3 เท่า เนื่องจากความได้เปรียบจากการลดภาษีนำเข้าระหว่างกันในอาเซียน ทำให้สินค้า/วัตถุดิบจากประเทศในอาเซียนมีราคาถูกกว่าสินค้า/วัตถุดิบจากนอกอาเซียน ในปี 2553 ไทยนำเข้าจากอาเซียน 30, ล้านเหรียญสหรัฐฯ คิดเป็นสัดส่วน 16.6% ของการนำเข้ารวม เพิ่มขึ้นจาก 5,541.4 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ในปี 2535 สินค้าที่ไทยนำเข้าจากอาเซียนมาก ส่วนใหญ่เป็นสินค้าทุน วัตถุดิบ/สินค้ากึ่งสำเร็จรูป เพื่อใช้ในการผลิตและส่งออก เช่น คอมพิวเตอร์และส่วนประกอบ น้ำมันดิบ เครื่องจักรไฟฟ้าและส่วนประกอบ เคมีภัณฑ์ แผงวงจรไฟฟ้า สินแร่โละ ก๊าซธรรมชาติ ด้วยการที่อาเซียนมีเป้าหมายไปสู่ AEC ที่จะสร้างอาเซียนให้เป็นตลาดและฐานการผลิตเดียวกัน นับเป็นโอกาสที่จะช่วยผู้ประกอบการในด้าน การ sourcing วัตถุดิบที่หลากหลายมากขึ้น ด้วยต้นทุนที่ต่ำลง การได้ประโยชน์จากการสะสมถิ่นกำเนิดสินค้าภายในอาเซียน แล้วส่งออกไปยังประเทศที่ 3 ที่อาเซียนมี FTA ด้วย ก่อให้เกิดการใช้ศักยภาพหรือจุดแข็งของแต่ละประเทศให้เกิดประโยชน์อย่างเต็มที่ นำเข้ารวม 40,615.8 ล้านเหรียญ นำเข้ารวม 182, ล้านเหรียญ Note AFTA เริ่มเจรจาปี 2535 และเริ่มลดภาษีปี 2536 (1993) ASEAN 6 ภาษีเป็นร้อยละ 0 ตั้งแต่ 1 มค.ค.2553 (2010)

18 ศักยภาพของไทยในอาเซียน
ประเทศ ประชากร (พันคน) GDP (US$ million) GDP per Capita (US$) Export (US$ million) 1.อินโดนีเซีย 231,369.5 1. อินโดนีเซีย 546,527.0 1. สิงคโปร์ 36,631.2 269,832.5 2.ฟิลิปปินส์ 92,226.6 2. ไทย 264,322.8 2. บรูไน 26,486.0 174,966.7 3.เวียดนาม 87,228.4 3. มาเลเซีย 193,107.7 6,822.0 156,890.9 4.ไทย 66,903.0 4. สิงคโปร์ 182,701.7 4. ไทย 3,950.8 4. อินโดนีเซีย 152,497.2 5.พม่า 59,534.3 5. ฟิลิปปินส์ 161,357.6 5. อินโดนีเซีย 2,363.6 5. เวียดนาม 56,691.0 6.มาเลเซีย 28,306.0 6. เวียดนาม 96,317.1 6. ฟิลิปปินส์ 1,749.6 38,334.7 7.กัมพูชา 14,957.8 7. พม่า 7. เวียดนาม 1,119.6 7. บรูไน 7,168.6 8.ลาว 5,922.1 8. บรูไน 14,146.7 8. ลาว 910.5 8. พม่า 6,341.5 9.สิงคโปร์ 4,987.6 9. กัมพูชา 10,368.2 692.6 4,985.8 10.บรูไน 406.2 10. ลาว 5,579.2 10. พม่า 419.5 1,237.2 ไทยมีศักยภาพและความพร้อมในหลายด้าน ได้แก่ 1. ด้านที่ตั้งทางภูมิศาสตร์ เป็นศูนย์กลางเชื่อมโยงประเทศต่างๆในภูมิภาค ผ่านเส้นทาง East-West Economic Corridor และ North-South Economic Corridor 2. ศักยภาพของอุตสาหกรรม เช่น ยานยนต์ สิ่งทอ อิเล็กทรอนิกส์ อาหารแปรรูป รวมถึงภาคบริการ เช่น การท่องเที่ยว และธุรกิจที่เกี่ยวเนื่อง (โรงแรม ร้านอาหาร ภัตตาคาร) สปา บริการด้านสุขภาพ 3. เป็นประเทศที่นักลงทุนต่างชาติให้ความสนใจในอันดับต้นๆ โดยอุตสาหกรรมที่มีการลงทุนมาก เช่น อุตสาหกรรมรถยนต์ อิเล็กทรอนิกส์ 4. ความพร้อมด้านโครงสร้างพื้นฐาน ทั้งสนามบิน ท่าเรือ ถนน 5. ศักยภาพของแรงงานฝีมือ เช่น ช่างยนต์ ในการผลิตรถยนต์ที่ได้มาตรฐานสากล 6. ความหลากหลายของทรัพยากรธรรมชาติ และการเป็นประเทศเกษตรกรรมชั้นนำ ซึ่งสามารถส่งออกข้าวเป็นอันดับหนึ่งของโลก รวมทั้งศักยภาพสำหรับสินค้าเกษตรอีกหลายๆรายการ ไม่ว่าจะเป็นมันสำปะหลัง ยางพารา อ้อย น้ำตาลทราย ฯลฯ ประเด็นท้าทาย การกำหนดยุทธศาสตร์ที่ชัดเจนในการพัฒนาเศรษฐกิจ ซึ่งขณะนี้ รัฐบาลก็ได้ให้ความสำคัญกับอาเซียนเป็นลำดับแรก การบูรณาการการทำงานร่วมกันของหลากหลายกระทรวงฯ ทบวง กรม ที่จะมุ่งไปสู่เป้าหมาย AEC ร่วมกัน ที่มา : ASEAN Secretariat , สถิติปี 2009

19 ศักยภาพของไทยในอาเซียน
ประเทศ FDI จำนวน นักท่องเที่ยว (พันคน) สิงคโปร์ 16,256.2 มาเลเซีย 23,646.2 2. เวียดนาม 7,600.0 2. ไทย 14,091.0 3. ไทย 5,956.9 3. สิงคโปร์ 9,681.3 4. อินโดนีเซีย 4,876.8 6,452.0 5. ฟิลิปปินส์ 1,948.0 5. เวียดนาม 3,772.3 6. มาเลเซีย 1,381.0 6. ฟิลิปปินส์ 2,705.0 7. พม่า 578.6 7. กัมพูชา 2,161.6 8. กัมพูชา 530.2 8. ลาว 2,008.4 9. ลาว 318.6 9. พม่า 762.5 10. บรูไน 176.8 157.5 ที่มา : ASEAN Secretariat , สถิติปี 2009

20 ประชาคมอาเซียน (ASEAN Community)
2015 (2558) กฎบัตรอาเซียน ประชาคม ความมั่นคง อาเซียน (ASC) ประชาคม เศรษฐกิจ อาเซียน (AEC) ASEAN Charter เมื่อปี 2546 ผู้นำอาเซียนประกาศแถลงการณ์บาหลี (Bali Concord II) เพื่อแสดงเจตนารมณ์ที่จะนำอาเซียนไปสู่การเป็นประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) ภายในปีค.ศ. 2020 เมื่อต้นปี 2550 เห็นชอบให้เร่งรัดเป้าหมายดังกล่าวเป็นปี ค.ศ แทน ในปีเดียวกันนั้น AEM ลงนามรับรอง AEC Blueprint ซึ่งเป็นแผนงานการจัดตั้งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ในเดือนพ.ย 50 ผู้นำลงนาม “กฎบัตรอาเซียน” และ “ปฎิญญาว่าด้วยแผนงานการจัดตั้งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน” เพื่อยืนยันเจตนารมณ์ให้เป็นไปตามเป้าหมาย คำศัพท์แต่ละคำ มีความเกี่ยวโยงกันอย่างไร ประชาคมอาเซียน คือ ชุมชนอาเซียน เป็นเป้าหมายที่อาเซียนต้องการมุ่งไปให้ถึงในปี 2558 การที่จะเป็นประชาคมอาเซียน ก็ต้องมีกำหนดกฏเกณฑ์ในการบริหารร่วมกันของประเทศสมาชิกอาเซียน จึงได้เกิด “กฎบัตรอาเซียน” กฎบัตรอาเซียน (ASEAN Charter) เป็นเสมือนธรรมนูญของอาเซียน ที่เปลี่ยนสถานะอาเซียนจาก”สมาคม” เป็น “องค์กรระหว่างประเทศ” ผู้นำอาเซียนได้ลงนามกฎบัตรฯ ในช่วงการประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 13 เมื่อวันที่ 20 พ.ย. 2550 [มีผลบังคับใช้อย่างเป็นทางการแล้ว เมื่อวันที่ 15 ธ.ค. 51] กฎบัตรฯ ได้กำหนดกรอบโครงสร้างกลไกการดำเนินงานของอาเซียนออกเป็น 3 เสาหลัก รองรับการดำเนินงานไปสู่ประชาคมอาเซียน ได้แก่ 1) ประชาคมความมั่นคงอาเซียน 2) ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน และ 3) ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ในส่วนของเสาเศรษฐกิจ หรือ ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ได้มีการจัดทำ พิมพ์เขียว AEC และเอกสารแนบ ได้แก่ ตารางดำเนินการ ประชาคม สังคม-วัฒนธรรม อาเซียน (ASCC)

21 แผนงานการจัดตั้งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
AEC Blueprint

22 ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ( ASEAN Economic Community: AEC )
1. เป็นตลาดและฐานการผลิตร่วม 2. สร้างเสริมขีดความสามารถแข่งขัน สินค้าเคลื่อนย้ายได้อย่างเสรี e-ASEAN (พาณิชย์อิเลคทรอนิกส์) AEC นโยบายภาษี ทำธุรกิจบริการได้อย่างเสรี นโยบายการแข่งขัน ลงทุนได้อย่างเสรี สิทธิทรัพย์สินทางปัญญา แรงงานมีฝีมือไปทำงานได้อย่างเสรี การคุ้มครองผู้บริโภค เงินทุนเคลื่อนย้ายได้อย่างเสรีมากขึ้น ปี 2558 (2015) พัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน องค์ประกอบหลักของ AEC ตามเป้าหมายการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจของอาเซียน ซึ่งระบุไว้ในแถลงการณ์บาหลี ฉบับที่ 2 (Bali Concord II) คือ การเป็นตลาดและฐานการผลิตเดียว โดยให้มีการเคลื่อนย้ายสินค้า บริการ การลงทุน แรงงานฝีมืออย่างเสรี และเงินทุนที่เสรีขึ้น รวมทั้งส่งเสริมการรวมกลุ่มสาขาสำคัญของอาเซียน การสร้างขีดความสามารถในการแข่งขัน ให้ความสำคัญกับประเด็นด้านนโยบายที่ช่วยส่งเสริมการรวมกลุ่มเศรษฐกิจ เช่น นโยบายการแข่งขัน การคุ้มครองผู้บริโภค IPR พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ นโยบายภาษี และการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน (การเงิน ขนส่ง ICT พลังงาน) การพัฒนาเศรษฐกิจอย่างเสมอภาค ให้ความสำคัญกับการลดช่องว่างการพัฒนาและส่งเสริมการรวมกลุ่มของประเทศสมาชิกใหม่ ได้แก่ CLMV ผ่านความร่วมมือภายใต้โครงการริเริ่มเพื่อการรวมกลุ่มของอาเซียน (Initiative for ASEAN Integration: IAI) ตลอดจนส่งเสริมการพัฒนา SME ในภูมิภาค การบูรณาการเข้ากับเศรษฐกิจโลก โดยการจัดทำเขตการค้าเสรีของอาเซียนกับประเทศคู่เจรจา และการสร้างเครือข่ายการผลิต/จำหน่ายในภูมิภาคเชื่อมโยงกับโลก 3. การพัฒนาเศรษฐกิจอย่างเสมอภาค 4. การบูรณาการเข้ากับเศรษฐกิจโลก ลดช่องว่างการพัฒนา ระหว่างสมาชิกเก่า-ใหม่ ทำ FTAs กับประเทศนอกอาเซียน ขยายความร่วมมือทางเศรษฐกิจ สนับสนุนการพัฒนา วิสาหกิจขนาดกลางและย่อม SMEs

23

24

25

26

27 แผนงานใน AEC Blueprint ขจัดมาตรการที่มิใช่ภาษี NTBs
เคลื่อนย้ายสินค้าเสรี แผนงานใน AEC Blueprint ขจัดมาตรการที่มิใช่ภาษี NTBs มีไทยและมาเลเซียต้องยกเลิกในชุดที่1 และ 2 ไทยและเวียดนามยกเลิกในชุดที่ 3 NTBs ชุดที่ 1 NTBs ชุดที่ 2 NTBs ชุดที่ 3 ยกเลิกภายใน 1มค.2551(2008) ยกเลิกภายใน 1มค.2552(2009) อาเซียน5 ภายใน 1มค.2553(2010) สำหรับไทย ในชุดที่ 1 ก.การคลัง พิจารณายกเลิก มาตรการโควต้าภาษี TRQs สำหรับ ลำไย พริกไทย น้ำมันถั่วเหลือง ใบยาสูบและน้ำตาล (อยู่ในระหว่างนำเสนอ ครม. ให้ความเห็นชอบ) ฟิลิปปินส์ ภายใน 1มค.2555(2012) CLMV ภายใน 1มค.2558(2015) NTBs : Non-Tariff Barriers

28 สาขาสำคัญในการรวมกลุ่มเศรษฐกิจ (Priority Integration Sectors : PIS)
พม่า มาเลเซีย อินโดนีเซีย เวียดนาม สิงคโปร์ ไทย ประเทศผู้ประสานงาน ฟิลิปปินส์ ยานยนต์ ผลิตภัณฑ์ไม้ ผลิตภัณฑ์ยาง สิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม ผลิตภัณฑ์เกษตร ผลิตภัณฑ์ประมง เทคโนโลยีสารสนเทศ สุขภาพ การท่องเที่ยว การบิน โลจิสติกส์ อิเล็กทรอนิกส์

29 1.3 การอำนวยความสะดวกทางการค้า
แผนงานในพิมพ์เขียว AEC เคลื่อนย้ายสินค้าได้อย่างเสรี 1.3 การอำนวยความสะดวกทางการค้า บรูไนฯ อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ ไทย สิงคโปร์ จะเริ่มดำเนินโครงการในต้นปี 2554 ASEAN Single Window (ASW) กัมพูชา ลาว พม่า จะเข้าร่วมเป็นผู้สังเกตการณ์ (Observer) บรูไนฯ มาเลเซีย และสิงคโปร์ ได้เริ่มดำเนินโครงการนำร่องเมื่อ วันที่ 1 พฤศจิกายน 2553 Self Certification ไทยอยู่ระหว่างการดำเนินการเพื่อเข้าร่วมโครงการนำร่อง หลังจากที่รัฐสภาให้ความเห็นชอบเมื่อ วันที่ 19 เมษายน 2554

30 ปี 2558 (2015) แผนงานในพิมพ์เขียว AEC
เคลื่อนย้ายบริการเสรี แผนงานในพิมพ์เขียว AEC 2. เปิดเสรีบริการ อนุญาตให้ผู้ประกอบกิจการบริการของอาเซียน ไปทำธุรกิจโดยถือหุ้นได้อย่างน้อยถึง 70% โดยมีลำดับดำเนินการ คือ ปี 2553 (2010) 70% ปี 2556 (2013) 70% 70% ปี 2558 (2015) สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศ (ICT)/สุขภาพ / ท่องเที่ยว / การขนส่งทางอากาศ 2551(2008)2553(2010)2556(2013)2558(2015)สัดส่วนถือหุ้นของอาเซียนในสาขา PIS*4 สาขา(ICT, สุขภาพ, ท่องเที่ยว, การบิน)ไม่น้อยกว่า51%ไม่น้อยกว่า70%PIS เพิ่มสาขา โลจิสติกส์ 49%51%70%สาขาอื่นๆ49%51%-70% โลจิสติกส์ 51% สาขาอื่นๆที่เหลือทั้งหมด 51% 30 30

31

32 เปิดเสรี คุ้มครองการลงทุน ส่งเสริมการลงทุน อำนวยความสะดวกการลงทุน
ทบทวนความตกลง AIA ให้เป็นข้อตกลงการลงทุนเต็มรูปแบบ (เปิดเสรี คุ้มครอง ส่งเสริม อำนวยความสะดวก) ACIA : ASEAN Comprehensive Investment Agreement เปิดเสรี คุ้มครองการลงทุน ส่งเสริมการลงทุน อำนวยความสะดวกการลงทุน

33

34 หลักการ หลักการ แผนงานในพิมพ์เขียว AEC เคลื่อนย้ายเงินทุนเสรียิ่งขึ้น
5. การเคลื่อนย้ายเงินทุนเสรียิ่งขึ้น เปิดเสรีบัญชีทุน(Capital Account) อย่างเป็นขั้นตอนและสอดคล้องกับวาระแห่งชาติ - ความพร้อมของแต่ละประเทศ อนุญาตให้มีมาตรการปกป้องที่เพียงพอ หรือที่จำเป็นเพื่อรักษาเสถียรภาพเศรษฐกิจมหภาค ให้ทุกประเทศสมาชิกได้รับประโยชน์อย่างทั่วถึงจากการเปิดเสรี หลักการ ยกเลิกผ่อนคลายข้อจำกัด “ตามความเป็นไปได้และเหมาะสม” เพื่ออำนวยความสะดวกการจ่ายชำระเงินและโอนเงิน สำหรับธุรกรรมบัญชีเดินสะพัด หรือ Current Account Transactions เพื่อสนับสนุนการลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศ หรือ มาตรการริเริ่มต่างๆ ในการส่งเสริมพัฒนาตลาดทุน หลักการ เปิดเสรีโดย

35 แผนงานในพิมพ์เขียว AEC
6. ความร่วมมืออื่นๆ ยกระดับการค้าและความสามารถในการแข่งขันสินค้า อาหาร เกษตร และป่าไม้ อาหาร เกษตร และป่าไม้ ส่งเสริมวัฒนธรรมการสร้างสรรค์ และใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์โดยเน้นการมีส่วนร่วมของอุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้อง สิทธิในทรัพย์สินทางปัญญา นโยบายการแข่งขัน ส่งเสริมวัฒนธรรมการแข่งขันที่เป็นธรรมในภูมิภาค และสร้างเครือข่ายหน่วยงานกำกับดูแลด้านนโยบายการแข่งขัน การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน พัฒนาโครงข่ายการขนส่ง เทคโนโลยีสารสนเทศ และพลังงานที่มีประสิทธิภาพ การพัฒนา SME พัฒนาขีดความสามารถในการแข่งขันและการปรับตัวของ SME ในอาเซียน

36 AEC 5 FTAs ระหว่างอาเซียนกับประเทศคู่เจรจา -- ปัจจุบัน ACFTA AIFTA
India ACFTA China AEC สินค้า : ลงนาม 29 พ.ย. 47 มีผล 1 ม.ค. 48 บริการ : ลงนาม 14 ม.ค. 50 มีผล 1 ก.ค. 50 ลงทุน : ลงนาม 15 สค 52 มีผล เม.ย. 53 สินค้า : ลงนาม 13 สค. 52 มีผล 1 มค. 53 บริการ/ลงทุน : กำลังเจรจา AJCEP Japan New Zealand Australia AANZFTA AKFTA Korea สินค้า/บริการ/ลงทุน : ไทยลงนาม 11 เม.ย.51 สำหรับไทย มีผล 2 มิย 52 สินค้า/บริการ/ลงทุน : ลงนาม 26 ก.พ. 52 มีผล 1 มค. 53 (ไทยให้สัตยาบัน 12 มี.ค. 53) สินค้า : อาเซียนอื่นลงนาม 28 ส.ค. 49 บริการ : อาเซียนอื่นลงนาม 21 พ.ย. 50 (ไทย : บริการ ลงนาม 27 ก.พ. 52 มีผล 1 มิ.ย. 52 สินค้า ลงนาม 27 ก.พ. 52 มีผล 1 ตค ลงทุน :ทุกประเทศ ลงนาม 2 มิย.52 มีผล 31 ตค 52 36

37

38

39

40

41

42 ประโยชน์ / ผลกระทบจาก AEC

43 ผลกระทบด้านการค้า ผลกระทบด้านบวก ขยายการส่งออกในภูมิภาค
ผลกระทบด้านบวก ขยายการส่งออกในภูมิภาค สินค้าเกษตร และอุปโภคบริโภค เช่น ข้าว ธัญพืช น้ำตาลทราย ผลไม้สด อาหารสำเร็จรูป(อาหารกระป๋อง) เครื่องปรุงรส สินค้าอุตสาหกรรม เช่น เครื่องใช้ไฟฟ้า อิเล็กทรอนิกส์ รถยนต์และชิ้นส่วน ผลกระทบด้านลบ การแข่งขันที่เพิ่มขึ้น สินค้าที่มีข้อกังวลว่าจะได้รับผลกระทบ เช่น น้ำมันปาล์ม (มาเลเซีย) เมล็ดกาแฟ (เวียดนาม) มะพร้าว (ฟิลิปปินส์) และชา (อินโดนีเซีย)

44 โอกาสทางค้าและการลงทุนจากการรวมตัวทางเศรษฐกิจ
1 ขยายช่องทางและโอกาสของสินค้าไทยในการเข้าถึงตลาดอาเซียน 2 ลดต้นทุนการผลิตจากการนำเข้าวัตถุดิบและสินค้าขั้นกลางที่ใช้ในการผลิตได้ในราคาต่ำลง 3 จัดตั้งกิจการ ให้บริการ ตลอดจนทำงานในประเทศสมาชิกอาเซียนสะดวกมากขึ้น 4 ย้ายฐานการผลิตไปยังประเทศสมาชิกอาเซียนอื่นที่มีแรงงาน ทรัพยากร หรือปัจจัยการผลิตที่สมบูรณ์กว่า ที่มา : สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย

45 ผลกระทบทางค้าและการลงทุนจากการรวมตัวทางเศรษฐกิจ
1 คู่แข่งขันและสภาพการแข่งขันในตลาดเพิ่มขึ้น 2 สินค้าที่ไม่ได้มาตรฐาน/คุณภาพต่ำเข้ามาวางจำหน่ายในประเทศไทยมากขึ้น 3 นักลงทุนต่างชาติอาศัยสิทธินักลงทุนสัญชาติอาเซียนเข้ามาลงทุนในไทย 4 การเคลื่อนย้ายแรงงานมีฝีมือของไทยไปประเทศที่ให้ค่าตอบแทนสูงกว่า ที่มา : สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย

46 ผลกระทบด้านบริการ ผลกระทบด้านบวก ทำธุรกิจบริการได้โดยเสรี,แก้ไขปัญหาขาดแคลน แรงงานฝีมือ การท่องเที่ยว ภาคบริการที่เกี่ยวกับการท่องเที่ยว อาทิ ร้านอาหาร และโรงแรม บริการด้านสุขภาพ เช่น โรงพยาบาล บริการสปา นวดแผนไทย ผลกระทบด้านลบ คู่แข่งในอาเซียนจะเข้ามาให้บริการในไทยเพิ่มขึ้น สาขาที่มีข้อกังวลว่าจะได้รับผลกระทบ เช่น โลจิสติกส์ โทรคมนาคม สาขาที่ต้องใช้เงินลงทุนและเทคโนโลยีสูง ธุรกิจสถาปนิกขนาดกลางและเล็ก

47 ผลกระทบด้านการลงทุน ผลกระทบด้านลบ ดึงดูดการลงทุนจากต่างประเทศเพิ่มขึ้น
ผลกระทบด้านบวก อาจถูกแย่งการลงทุนจากต่างชาติไป ประเทศที่น่าสนใจ ผลกระทบด้านลบ ผลกระทบด้านบวก ไทยเป็นแหล่งลงทุนที่น่าสนใจอันดับ 2 ในอาเซียน (จากข้อมูลล่าสุดของ World Bank ปี 2010 ประเทศที่มีความง่ายในการทำธุรกิจในอาเซียน อันดับ 1 คือ สิงคโปร์, อันดับ 2 คือไทย อันดับ 3 คือ มาเลเซีย) ผลกระทบด้านลบ ไทยอาจจถูกแย่งการลงทุนจากต่างชาติไปได้ เนื่องจากประเทศอาเซียนอื่นมีความได้เปรียบมากกว่า เช่น 1. สิงคโปร์ เป็นแหล่งลงทุนอันดับ 1 ในอาเซียน ได้เปรียบในแง่การเป็นประเทศเปิด มีศักยภาพในการแข่งขันภาคบริการ 2. เวียดนาม มีทรัพยากร ธรรมชาติ แรงงานราคาถูก นโยบายรัฐบาลที่สนับสนุนการลงทุน การเมืองค่อนข้างมีเสถียรภาพ เป็นแหล่งลงทุนอันดับ 3 ในอาเซียน 3. มาเลเซีย ตั้งคณะทำงานปฏิรูปกฎระเบียบ เป็นประเทศอันดับ 3 ในอาเซียนที่ง่ายต่อการทำธุรกิจ ลดภาษีเงินได้นิติบุคคลจาก 27% ในปี 2550 เหลือ 25% ในปี 2552 (ไทย ยังอยู่ที่ 30%) เสริมสร้างความแข็งแกร่งของอุตสาหกรรมโลจิสติกส์ มีนโยบายพัฒนาอุตสาหกรรมที่ต่อเนื่องและมั่นคง มาเลเซียมีอุตสาหกรรมยุทธศาสตร์สำคัญ ได้แก่ อุตสาหกรรมเหล็กโลหะพื้นฐาน เครื่องใช้ไฟฟ้า เกษตร อาหาร ยา ปิโตรเคมี สิ่งทอ ยาง ไม้

48

49

50

51

52

53

54

55 สำหรับท่านที่จะทำธุรกิจส่งออก - นำเข้าหรือไปลงทุน
กรมเจรจาการค้าฯ Call Center กรมส่งเสริมการส่งออก DEP Call Center 1169 กรมการค้าต่างประเทศ AFTA HOT LINE 1385 กรมทรัพย์สินทางปัญญา HOT LINE 1368 กระทรวงอุตสาหกรรม BOI ศึกษาว่าจะใช้ประโยชน์ FTA ไหน อย่างไรได้บ้าง ต้องเรียนรู้เรื่องวิธีทำธุรกิจการส่งออก-นำเข้า พัฒนาสินค้าให้เหมาะกับการส่งออก เรียนรู้เรื่องตลาด กฎระเบียบของตลาดต่างประเทศ ศึกษาเกี่ยวกับกฎแหล่งกำเนิดสินค้า ขอ Form D ใช้ประโยชน์จากกองทุน FTA เพื่อการปรับตัว ระวังถูกลอกเลียนแบบสินค้า ยี่ห้อสินค้า ฯลฯ ควรรีบไปจดสิทธิบัตร ลิขสิทธิ์ เครื่องหมายการค้า หาลู่ทางไปลงทุนในอาเซียน

56 สำหรับท่านที่จะทำธุรกิจส่งออก - นำเข้าหรือไปลงทุน
ธนาคารเพื่อการส่งออก-นำเข้า (EXIM Bank) ศูนย์บริการลูกค้า บริษัทประกันสินเชื่ออุตสาหกรรมขนาดย่อม (บยส) ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและย่อม (SME Bank) HOT LINE 1357 ระวังการค้าแบบซื้อเชื่อ ควรใช้ระบบผ่านธนาคาร (เช่นการเปิด L/C) ศึกษาเรื่องการส่งโอนเงิน และระบบการแลกเปลี่ยนของประเทศคู่ค้า หาแหล่งสินเชื่อเพื่อทำธุรกิจ/เริ่มส่งออก

57 สำหรับท่านที่จะตั้งฐานในประเทศ และ/หรือ ส่งออก
กระทรวงพาณิชย์ กรมพัฒนาธุรกิจการค้า HOT LINE 1570 กระทรวงอุตสาหกรรม กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม Call Center 1358 สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม สสว. (สำนักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลาง - ย่อม) ดูว่าทำธุรกิจอย่างไรให้ต้นทุนต่ำ มีประสิทธิภาพ แข่งขันกับเขาได้ พัฒนาระบบธุรกิจของตน ฯลฯ สร้างเสริมสมรรถนะ ขีดความสามารถการแข่งขัน ฯลฯ ศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับอุตสาหกรรมภาพรวมและรายสาขา หาข้อมูลและขอรับการสนับสนุนส่งเสริมสำหรับ SMEs โดยเฉพาะ

58 ความเข้าใจผิดบางประการ ...
ทำธุรกิจกับอาเซียนด้วยกัน อย่า คิดว่า... ควรเรียนรู้วัฒนธรรม ความคิดความอ่าน ลักษณะนิสัยใจคอของคนในอาเซียนอื่น “ก็คนอาเซียนด้วยกัน เขาก็คิดเหมือนเราแน่” “ใช้ภาษาอังกฤษก็ได้” แต่ถ้าจะให้เข้าถึงเชิงลึก ต้องรู้ภาษาถิ่นกันด้วย “ในแถบนี้ไทยเราเก่งที่สุด ดีเลิศที่สุดอยู่แล้ว” เคารพกัน ให้เกียรติกัน จะนำไปสู่ความเชื่อใจ “มีทุน มีประสบการณ์ มีความสามารถ ก็เข้าไปทำธุรกิจด้วยตนเองได้” บางประเทศในอาเซียน อาจจำเป็นต้องมีพันธมิตร/ลงทุนร่วม

59 มาตรการรองรับผลกระทบ
กองทุนปรับโครงสร้างการผลิตภาคเกษตรเพื่อเพิ่มขีดความสามารถการแข่งขันของประเทศ (กระทรวงเกษตรและสหกรณ์) กองทุนให้ความช่วยเหลือเพื่อการปรับตัวของภาคการผลิตและภาคบริการที่ได้รับผลกระทบจากการเปิดเสรีทางการค้า (กระทรวงพาณิชย์)(กองทุน FTA) มาตรการปกป้องจากการนำเข้าสินค้าที่เพิ่มขึ้นมาก (Safeguard Measure)

60 สรุป

61 แหล่งข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับอาเซียน
(กรมเจรจาฯ) และเข้าไปที่ “ASEAN Conner” (สำนักงานเลขาธิการอาเซียน) Call Center สำนักประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

62 พวกเราอย่าลืมเตรียมตัวตั้งแต่เนิ่นๆนะครับ


ดาวน์โหลด ppt การเตรียมความพร้อมเพื่อก้าวสู่ AEC

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google