ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
เทพเจ้า / พระเจ้า ของศาสนาพราหมณ์-ฮินดู
อาจารย์สอง Satit UP
2
เทพพระเจ้า / พระเจ้า ของศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู
เทพพระเจ้า / พระเจ้า ของศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู เทวะ/เทพทั้ง 3 พระองค์ ตรีมูรติหรือ 3 มหาเทพผู้ยิ่งใหญ่ที่สุดในศาสนาฮินดู ตรีมูรติ ซึ่งแทน พระปรมาตมัน พระเจ้าสูงสุด
3
เทพพระเจ้า / พระเจ้า ของศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู
เทพพระเจ้า / พระเจ้า ของศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู ตรีมูรติ พระพรหม พระวิษณุ พระศิวะ
4
เทพพระเจ้า / พระเจ้า ของศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู
เทพพระเจ้า / พระเจ้า ของศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู ตรีมูรติ
5
เทพพระเจ้า / พระเจ้า ของศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู
เทพพระเจ้า / พระเจ้า ของศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู ตรีมูรติ
6
พระวิษณุ(พระนารายณ์)
พระพรหม พระวิษณุ(พระนารายณ์) พระศิวะ(พระอิศวร)
7
เทพพระเจ้า / พระเจ้า ของศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู
เทพพระเจ้า / พระเจ้า ของศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู
8
เทพพระเจ้า / พระเจ้า ของศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู
เทพพระเจ้า / พระเจ้า ของศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู
9
เทพพระเจ้า / พระเจ้า ของศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู
เทพพระเจ้า / พระเจ้า ของศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู ตรีมูรติ พระพรหม พระวิษณุ พระศิวะ ผู้สร้าง ผู้ปกปักรักษา ผู้ทำลาย
10
นับถือพระเจ้าหลายองค์
วิวัฒนาการ/พัฒนาการ การนับถือเทพเจ้าของศาสนาฮินดู นับถือพระเจ้าหลายองค์ ยุคต่อมา สร้างพระเจ้าสูงสุดองค์เดียวคือ -- พระพรหม ยุคต่อมา ตรีมูรติ(มหาเทพ) + นับถือเทพเทวี + เทพอื่น ๆ
11
พระพรหม Brahama
12
พระพรหม ( Brahma ) พระผู้สร้าง มี 4 พระพักตร์ เป็นหนึ่งในมหาเทพของฮินดูและเป็นหนึ่งในตรีมูรติ
13
พระพรหม ( Brahma ) พระผู้สร้าง มี 4 พระพักตร์ เป็นหนึ่งในมหาเทพของฮินดูและเป็นหนึ่งในตรีมูรติ
14
พระพรหม ( Brahma ) พระผู้สร้าง มี 4 พระพักตร์ เป็นหนึ่งในมหาเทพของฮินดูและเป็นหนึ่งในตรีมูรติ
15
พญาหงส์ เป็นพาหนะของพระพรหม
พระพรหม ( Brahma ) พญาหงส์ เป็นพาหนะของพระพรหม
16
+ คนโทบรรจุน้ำ (จากแม่น้ำคงคา)
4 หน้า ช้อนสำหรับหยอด + ไขเนยลงในไฟ + คนโทบรรจุน้ำ (จากแม่น้ำคงคา) หงษ์ + คัมภีร์พระเวท + ลูกประคำ พระพรหม
17
พระวิษณุ หรือ พระนารายณ์ Vishnu
18
พระวิษณุ ( พระนารายณ์ ) Vishnu
19
จักร สังข์ ดอกบัว คฑา
20
พระวิษณุ (พระนารายณ์) Vishnu
เทพพระเจ้า / พระเจ้า ของศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู พระวิษณุ (พระนารายณ์) Vishnu เทพผู้รักษา และคุ้มครองโลกให้เป็นสุข สัญลักษณ์แห่งการรักษาความดี และต่อสู้อธรรม เทพแห่งจักรวาล, รักษาโรค, อวตารปราบอธรรม พระนารายณ์อวตาร
21
พระนารายณ์ (พระวิษณุ) มีพาหนะ คือ “ พญาครุฑ ”
พระนารายณ์ (พระวิษณุ) มีพาหนะ คือ “ พญาครุฑ ”
22
พระนารายณ์(พระวิษณุ) มีพาหนะ คือ “ พญาครุฑ ”
23
พระนารายณ์(พระวิษณุ)
พระองค์บรรทมหลับอยู่บนหลังพญาอนันตนาคราช 1000 เศียร ณ ท่ามกลางมหาสมุทรหรือเกษียรสมุทร ที่รู้กันคือ ทะเลน้ำนม ในขณะที่บรรทมหลับอยู่นั้นเรียกว่า “นารายณ์บรรทมสินธุ์” มีดอกบัวงอกขึ้นจากพระนาภี (สะดือ) กลางดอกบัวนั้นเป็นที่กำเนิดของพระพรหม ผู้สร้างโลก เมื่อพระพรหมสร้างโลกเสร็จแล้ว พระวิษณุทรงตื่นจากบรรทมและสถิตอยู่บนสวรรค์ชั้นสูงสุด
24
พระนารายณ์(พระวิษณุ) “นารายณ์บรรทมสินธุ์”
25
พระวิษณุ(พระนารายณ์)
26
พระนารายณ์(พระวิษณุ)
พระองค์บรรทมหลับอยู่ ท่ามกลางมหาสมุทรหรือเกษียรสมุทร
27
อวตารของพระนารายณ์ (นารายณ์ 10 ปาง)
เทพพระเจ้า / พระเจ้า ของศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู อวตารของพระนารายณ์ (นารายณ์ 10 ปาง) “อวตาร” หมายถึง การแบ่งภาคลงมาเกิดของเทพเจ้า คัมภีร์ปุราณะและอุปปุราณะ ซึ่งกล่าวถึงอวตารของพระวิษณุ
28
เทพพระเจ้า / พระเจ้า ของศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู
เทพพระเจ้า / พระเจ้า ของศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู อวตารของพระนารายณ์ (นารายณ์ 10 ปาง) นับแต่โลกเริ่มอุบัติมาจนถึงปัจจุบัน พระนารายณ์ได้อวตารมาแล้วถึง 9 ปาง ปางที่ 9 คือ ปางที่อวตารลงมาเป็นพระพุทธเจ้า อวตารของพระนารายณ์จะมีทั้งหมด 10 ปาง ปางที่ 10 จะเกิดขึ้นหลังสิ้นสุดกลียุค (คือยุคปัจจุบัน) พระวิษณุจะเสด็จลงมาบนหลังม้าขาว พระหัตถ์ถือพระแสงดาบมีประกายดุจดาวหางลงมาปราบความชั่วร้ายในโลก แล้วสร้างโลกที่บริสุทธิ์ขึ้นใหม่
29
พระนารายณ์อวตาร พระวิษณุ ทรงมีนามเป็นที่รู้จักกันดีอีกนามหนึ่งคือพระนารายณ์ จะอวตารมาเพื่อปราบยุคเข็ญของโลกเป็นครั้งคราวจนครบ 10 ครั้ง หรือที่รู้กันว่านารายณ์ 10 ปางหรือทศอวตาร (Das Avatar)
30
อวตาร 10 ปาง ของพระนารายณ์ มีลำดับดังนี้ 1
อวตาร 10 ปาง ของพระนารายณ์ มีลำดับดังนี้ 1. มัตสยาวตาร ลงมาเกิดเป็น ปลา ช่วยเหลือมนุษย์ให้พ้นความตายเมื่อเกิดน้ำท่วมครั้งใหญ่ 2. กูรมาวตาร “ เต่า ใช้หลังรองรับภูเขาที่ใช้กวนน้ำในมหาสมุทรให้สำเร็จเป็นน้ำอมฤต 3. วราหาวตาร “ หมู ปราบยักษ์ที่กดโลกให้จมลงใต้บาดาลด้วยการช่วยตุนให้สูงขึ้น 4. นรสิงหาวตาร “ (นรสิงห์) ครึ่งคนครึ่งสิงห์ ปราบยักษ์ที่มารุกรานโลก 3 ครั้ง 5. วามนาวตาร “ คนแคระ (คนค่อม) ทำการปราบยักษ์ให้อยู่ใต้บาดาลปรศุราม (รามสูร) ป้องกันมิให้กษัตริย์ที่ไม่เหมาะสมได้ครองเมือง 6. ปรศุรามาวตาร “ ปรศุราม (รามสูร) ป้องกันมิให้กษัตริย์ที่ไม่เหมาะสมได้ครองเมือง 7. รามาวตาร “ พระราม ปราบยักษ์ราวณะ (ทศกัณฐ์) ในเรื่องรามเกียรติ์ 8. กฤษณาวตาร “ พระกฤษณะ ปราบคนชั่วในมหาภารตยุทธ 9. พุทธาวตาร “ พระพุทธเจ้า ประกาศหลักธรรมช่วยมนุษย์ให้พ้นทุกข์ 10. กัลกิยาวตาร “ พระกัลกี (บุรุษขี่ม้าขาว) ปราบคนชั่ว (อธรรม)สถาปนา ธรรมขึ้นในโลกใหม่
31
พระศิวะ หรือ พระอิศวร Shiva
32
พระศิวะ ( พระอิศวร ) -Shiva
33
เทพพระเจ้า / พระเจ้า ของศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู พระศิวะ (พระอิศวร) Shiva
เทพพระเจ้า / พระเจ้า ของศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู พระศิวะ (พระอิศวร) Shiva เทพผู้สร้างและทำลาย, ปางนาฎราช, เทพแห่งการร่ายรำ มีชื่ออื่น ๆ เรียกอีกหลายชื่อ
34
มีงูเห่าพันรอบพระศอ(คอ)
มีพระจันทร์เป็นปิ่นปักผม ดวงที่ 3 อยู่กลางพระนลาฎ(หน้าผาก) ซึ่งตามปกติจะหลับอยู่ เนื่องจากพระเนตรดวงที่ 3 นี้ มีอานุภาพร้ายแรงมาก หากลืมขึ้นเมื่อใดจะเผาผลาญทุกอย่างให้มอดไหม้ ตรีศูล (Trishul)คล้ายหอกสามง่าม เป็นอาวุธประจำกายพระศิวะ มีงูเห่าพันรอบพระศอ(คอ) สร้อยประคำที่เป็นหัวกะโหลก นุ่งห่มเป็นหนังเสืออันเป็นเครื่องนุ่งห่มของฤๅษี
35
เทพพระเจ้า / พระเจ้า ของศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู
เทพพระเจ้า / พระเจ้า ของศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู โคที่มีนามว่า อุศุภราช คือ โคเผือกที่เป็นพาหนะประจำขององค์พระศิวะโค
36
เทพพระเจ้า / พระเจ้า ของศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู
เทพพระเจ้า / พระเจ้า ของศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู ศิวะลึงค์เป็นเครื่องหมายของพลังแห่งการสร้างสรรค์ ผู้ที่นับถือพระศิวะมักจะบูชาศิวลึงค์ด้วย
37
เทพพระเจ้า / พระเจ้า ของศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู
เทพพระเจ้า / พระเจ้า ของศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู พระศิวะเป็นเทพที่นิยมประพฤติองค์เป็นโยคีหรือผู้ถือศีล ดังนั้นรูปของพระองค์จึงมักปรากฏเป็นเทพที่ทรงเครื่องแบบที่ค่อนข้างเรียบง่าย เป็นต้นว่า ทรงแต่งองค์คล้ายๆ โยคะหรือฤาษี สยายผมยาวแล้วม่นมวยผมเป็นชฎาบนศีรษะ ทรงนุ่งห่มด้วยหนังกวางบ้าง หนังเสือบ้าง
38
พระศิวะ Shiva ที่มาของงูพิษที่พระศิวะทรงคล้องคอไว้ประดับองค์เป็นเอกลักษณ์พิเศษนั้น มีผู้ส่งมามาให้พระองค์โดยเฉพาะ คนผู้นั้นก็คือนักบวชผู้นี้มีภรรยาหลายคนแต่บรรดาภรรยาของเขาเกิดมาหลงใหลในเสน่ห์อันล้ำลึกขององค์พระศิวะ ด้วยความไม่พอใจเป็นอย่างยิ่ง นักบวชจึงส่งเสือร้ายตัวโตไปจัดการสังหารพระศิวะ แต่ว่าพระศิวะเป็นกลับเป็นฝ่ายพิชิตเสือด้วยพระหัตถ์ของพระองค์อย่างสบาย ๆ แถมยังฉีกเอาหนังสือมาเป็นที่ปูพื้นไว้รองนั่งอีกด้วย เมื่อส่งเสือมาไม่ได้ผล นักบวชผู้เคียดแค้นแสนริษยาก็ส่งอสรพิษร้ายตัวใหญ่มาจัดการพระศิวะ แต่อสรพิษร้ายกับถูกพระศิวะร่ายเวทมนต์สยบเอาไว้ได้โดยที แล้วพระองค์ก็จับเอางูพิษนั้นมาคล้องคอเป็นเครื่องประดับ
39
เทพพระเจ้า / พระเจ้า ของศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู
เทพพระเจ้า / พระเจ้า ของศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู ศิวะลึงค์เป็นเครื่องหมายของพลังแห่งการสร้างสรรค์ ผู้ที่นับถือพระศิวะมักจะบูชาศิวลึงค์ด้วย
40
เทพพระเจ้า / พระเจ้า ของศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู
เทพพระเจ้า / พระเจ้า ของศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู ศิวลึงค์ เป็นเครื่องหมายของพลังแห่งการสร้างสรรค์ ผู้ที่นับถือพระศิวะมักจะบูชาศิวลึงค์ด้วย การบูชาพระศิวะจะกระทำได้โดยการบูชาต่อศิวลึงค์อันเป็นสัญลักษณ์แทนตัวพระศิวะ
41
เทพพระเจ้า / พระเจ้า ของศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู
เทพพระเจ้า / พระเจ้า ของศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู ศิวลึงค์ เป็นเครื่องหมายของพลังแห่งการสร้างสรรค์ ผู้ที่นับถือพระศิวะมักจะบูชาศิวลึงค์ด้วย
42
เทพพระเจ้า / พระเจ้า ของศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู
เทพพระเจ้า / พระเจ้า ของศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู การบูชาพระศิวะจะกระทำได้โดยการบูชาต่อศิวลึงค์อันเป็นสัญลักษณ์แทนตัวพระศิวะ
43
เทพพระเจ้า / พระเจ้า ของศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู
เทพพระเจ้า / พระเจ้า ของศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู ศิวะลึงค์เป็นเครื่องหมายของพลังแห่งการสร้างสรรค์ ผู้ที่นับถือพระศิวะมักจะบูชาศิวลึงค์ด้วย ในศาสนสถานของศาสนาฮินดูที่นับถือพระศิวะนั้นเรามักพบเจอศิวลึงค์ปรากฎอยู่เสมอ
44
เทพพระเจ้า / พระเจ้า ของศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู
เทพพระเจ้า / พระเจ้า ของศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู ศิวะลึงค์เป็นเครื่องหมายของพลังแห่งการสร้างสรรค์ ผู้ที่นับถือพระศิวะมักจะบูชาศิวลึงค์ด้วย ในศาสนสถานของศาสนาฮินดูที่นับถือพระศิวะนั้นเรามักพบเจอศิวลึงค์ปรากฎอยู่เสมอ
45
รูปสีกายเขียวหรือดำทรงเครื่องแบบกษัตริย์สีเหลือง
ลักษณะของเทพเจ้าของศาสนาพราหมณ์-ฮินดู พระพรหม มี 4 หน้า รูปสีกายเขียวหรือดำทรงเครื่องแบบกษัตริย์สีเหลือง พระวิษณุ มี 2 กร นุ่งห่มหนังสัตว์ พระเนตรดวงที่ 3 เหนือดวงตาที่ 3 มีรูปพระจันทร์ครึ่งซีก พระศิวะ
46
พาหนะ เทพเจ้าของศาสนาพราหมณ์-ฮินดู
พระพรหม หงส์เป็นพาหนะ พระวิษณุ ครุฑเป็นพาหนะ พระศิวะ วัวเป็นพาหนะ
47
ที่สถิตของเทพเจ้าของศาสนาพราหมณ์-ฮินดู
พระพรหมสถิตอยู่ ณ พรหมปุระ ในพรหมโลกบนยอดเขาพระสุเมรุ ล้อมรอบด้วยแม่น้ำคงคา พระพรหม 2 แห่ง คือ สวรรค์ไวกูณฐ์ และ ทะเล (เกษียรสมุทร) บนหลังอนันตนาคราช (เรียกว่า นารายณ์บรรทมสินธุ์) พระวิษณุ พระศิวะ ณ เขาไกรลาสมีโคนันที
48
พระสรัสวดี/สุรัสวดี Saraswati
49
เทพพระเจ้า / พระเจ้า ของศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู
เทพพระเจ้า / พระเจ้า ของศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู พระสรัสวดี/สุรัสวดี ( Saraswati )
50
เทพพระเจ้า / พระเจ้า ของศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู
เทพพระเจ้า / พระเจ้า ของศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู พระสรัสวดี ( Saraswati ) พระสุรัสวดี เป็นเทพี(เทพเทวี) ในศาสนาฮินดู โดยเป็นเทพีแห่งปัญญา ดนตรี ศิลปะ และนที โดยมีพาหนะเป็นหงส์นกยูง
51
เทพพระเจ้า / พระเจ้า ของศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู
เทพพระเจ้า / พระเจ้า ของศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู พระสรัสวดี ( Saraswati ) มเหสีของพระพรหม
52
เทพพระเจ้า / พระเจ้า ของศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู
เทพพระเจ้า / พระเจ้า ของศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู พระสรัสวดี ( Saraswati ) มเหสีของพระพรหม พระสุรัสวดี เป็นเทพีแห่งปัญญา ดนตรี ศิลปะ และนที โดยมีพาหนะเป็นหงส์นกยูง
53
พระแม่ลักษมี Lakshmi
54
พระแม่ลักษมี ( Lakshmi )
เทพพระเจ้า / พระเจ้า ของศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู พระแม่ลักษมี ( Lakshmi ) แห่งความงาม ผู้อำนวยโชคลาภ ความมั่งคั่ง และผู้มีใจเมตตาปรานี
55
เทพพระเจ้า / พระเจ้า ของศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู พระแม่ลักษมี ( Lakshmi )
เทพพระเจ้า / พระเจ้า ของศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู พระแม่ลักษมี ( Lakshmi ) มเหสี(พระชายา) ของ พระนารายณ์(พระวิษณุ)
56
เทพพระเจ้า / พระเจ้า ของศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู พระนารายณ์ (พระวิษณุ)
เทพพระเจ้า / พระเจ้า ของศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู พระนารายณ์ (พระวิษณุ) พระแม่ลักษมี
57
เทพพระเจ้า / พระเจ้า ของศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู พระแม่ลักษมี ( Lakshmi )
เทพพระเจ้า / พระเจ้า ของศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู พระแม่ลักษมี ( Lakshmi ) แห่งความงาม ผู้อำนวยโชคลาภ ความมั่งคั่ง และผู้มีใจเมตตาปรานี เมื่อพระวิษณุได้อวตารเป็นพระรามพระแม่ลักษมีก็ได้อวตารตามไปเป็นนางสีดา และเมื่อพระวิษณุอวตารเป็นพระกฤษณะ พระแม่ลักษมีก็ได้อวตารเป็นพระนางรัตตะ(พระราธา)
58
พระแม่อุมาเทวี(แม่อุมา) Uma
59
เทพพระเจ้า / พระเจ้า ของศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู
เทพพระเจ้า / พระเจ้า ของศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู พระแม่อุมาเทวี ( Uma ) เป็นมเหสีของพระศิวะ , มี 9 ปางด้วยกัน “ เจ้าแม่กาลี ; Kali ” (ภาค / ปาง หนึ่งของพระอุมาเทวี) เป็นเทพีกระหายเลือด ดุร้ายมากที่สุด มีมือข้างละแปดมือ มือแต่ละข้างถืออาวุธ “ เจ้าแม่ทุรคา หรือ ทุรกา ; Durga” (ภาค / ปาง หนึ่งของพระอุมาเทวี) เป็นปางที่อวตารมาปราบอสูรชื่อ มหิษาสูร และมีสิงโตเป็นพาหนะ
60
พระแม่อุมาเทวี ( Uma ) เทพพระเจ้า / พระเจ้า ของศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู
เทพพระเจ้า / พระเจ้า ของศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู พระแม่อุมาเทวี ( Uma ) เป็นมเหสีของพระศิวะ(พระอิศวร)
61
“ พระแม่อุมาเทวี ” มี 9 ปางด้วยกัน แต่ปางที่เป็นที่รู้จัก คือ ปางกาตยานี(เจ้าแม่ทุรคา) และ ปางกาลราตรี(เจ้าแม่กาลี)
62
“ พระแม่กาลี ” ( ภาค/ปาง หนึ่งของพระอุมาเทวี ) เป็นเทพีกระหายเลือด มีมือหลายคู่มากมือแต่ละข้างถืออาวุธ เป็นปางดุร้าย ชนะมาร ชนะทุกสิ่ง พระแม่ปางนี้ถือเป็นสัญลักษณ์มหามงคลของชาวอินเดีย เป็นปางปราบมารที่ดูมีความดุร้ายมาก เป็นปางที่ทรงพลังอำนาจมากที่สุดในการทำลายอสูร และความชั่วทั้งปวง
63
“ พระแม่กาลี ” ( ภาค/ปาง หนึ่งของพระอุมาเทวี ) เป็นเทพีกระหายเลือด มีมือหลายคู่มากมือแต่ละข้างถืออาวุธ เป็นปางดุร้าย ชนะมาร ชนะทุกสิ่ง พระแม่ปางนี้ถือเป็นสัญลักษณ์มหามงคลของชาวอินเดีย เป็นปางปราบมารที่ดูมีความดุร้ายมาก เป็นปางที่ทรงพลังอำนาจมากที่สุดในการทำลายอสูร และความชั่วทั้งปวง
64
“ พระแม่ทุรคา ” พระแม่ทุรคา หรือ พระแม่ทุรกา เป็นอีกปางหนึ่งของ พระแม่อุมาเทวี ที่อวตารมาปราบอสูรชื่อ มหิษาสูร นับว่าเป็นปางที่สำคัญและยิ่งใหญ่ไม่น้อยไปกว่าปาง พระแม่กาลี มีความเหี้ยมหาญ แข็งแกร่ง มีพละกำลังมาก แต่ไม่ดุร้ายน่ากลัวเท่ากับปางพระแม่กาลี รูปภาพส่วนใหญ่จะวาดให้ทรงพาหนะสิงโต
65
พระแม่ทุรคา หรือ พระแม่ทุรกา เป็นอีกปางหนึ่งของ พระแม่อุมาเทวี ที่อวตารมาปราบอสูรชื่อ มหิษาสูร
“ พระแม่ทุรคา ”
66
มเหสีของเทพเจ้าของศาสนาพราหมณ์-ฮินดู
พระพรหม พระสรัสวดี พระวิษณุ พระแม่ลักษมี พระศิวะ พระแม่อุมาเทวี
67
น่ารัก นุ่มนวล อ่อนช้อย ดูอบอุ่น น่าเกรงขาม ดูเฉียบขาด
มเหสีของเทพเจ้าของศาสนาพราหมณ์-ฮินดู ลักษณะ เป็นตัวแทนแห่ง สุขุม นิ่ง เยือกเย็น ฉลาด พระสรัสวดี ปัญญาความรู้ พระแม่ลักษมี น่ารัก นุ่มนวล อ่อนช้อย ดูอบอุ่น ความร่ำรวย ความมีอำนาจ พระแม่อุมา น่าเกรงขาม ดูเฉียบขาด
68
พระกฤษณะ Khishna
69
เทพพระเจ้า / พระเจ้า ของศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู
เทพพระเจ้า / พระเจ้า ของศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู พระกฤษณะ ; Krishna เป็นอวตารปางที่ 8 ของพระวิษณุ สัญลักษณ์แห่งการรักษาต่อสู้อธรรม นิยมทำเป็นรูปประทับคู่กับนางโคปี (หญิงเลี้ยงวัว) พระกายสีดำมีแววหางนกยูงประดับบนเศียร
71
พระพิฆเนศวร หรือ พิฆเนศ หรือ คเนศ Ganesha
72
พระพิฆเนศวร หรือ พิฆเนศ หรือ คเนศ ( Ganesha )
เทพพระเจ้า / พระเจ้า ของศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู พระพิฆเนศวร หรือ พิฆเนศ หรือ คเนศ ( Ganesha ) เทพเจ้าแห่งความสมบูรณ์ ความสำเร็จ และเจ้าแห่งศิลปะเป็น
73
พระพิฆเนศ
74
พระพิฆเนศวร หรือ พิฆเนศ หรือ คเนศ ( Ganesha )
เทพพระเจ้า / พระเจ้า ของศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู พระพิฆเนศวร หรือ พิฆเนศ หรือ คเนศ ( Ganesha ) พระพิฆเนศเป็นลูกของ พระศิวะกับพระแม่อุมาเทวี
75
พระพิฆเนศเป็นลูกของ พระศิวะกับพระแม่อุมาเทวี
พระพิฆเนศวร หรือ พิฆเนศ หรือ คเนศ ( Ganesha ) พระพิฆเนศเป็นลูกของ พระศิวะกับพระแม่อุมาเทวี
76
เทพพระเจ้า / พระเจ้า ของศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู
เทพพระเจ้า / พระเจ้า ของศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู พระศิวะ พระแม่อุมาเทวี ลูก พระคเณศ พระขันธกุมาร
77
เทพพระเจ้า / พระเจ้า ของศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู
เทพพระเจ้า / พระเจ้า ของศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู พระแม่สตี พระแม่เทวีที่ทำความดี แสดงความจงรักภักดีต่อสามีโดยเผาพระองค์ตามสามีของท่าน ความศรัทธานี้ทำให้เกิดพิธีสตีในเวลาต่อมา ( การที่สตรีต้องกระโดดเข้ากองไฟตายตามสามี )
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.