ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
Periodic Table ตารางธาตุ
2
การจัดเรียงอิเล็กตรอน
ตารางธาตุ วิวัฒนาการของตารางธาตุ ตารางธาตุปัจจุบัน ธาตุ Representative element ธาตุทรานซิชัน ธาตุทรานซิชันชั้นใน โยฮันน์ เดอเบอไรเนอร์ จอห์น นิวแลนด์ส แลนทาไนด์ แอคทิไนด์ การจัดเรียงอิเล็กตรอน เมนเดเลเอฟ จำนวนระดับพลังงาน เวเลนซ์อิเล็กตรอน คาบ หมู่ โลหะ อโลหะ กึ่งโลหะ
3
การศึกษาเกี่ยวกับตารางธาตุ
ตารางธาตุ (Periodic Table) คือ ตารางที่รวบรวมธาตุต่าง ๆ เข้าเป็นหมวดหมู่ ตามสมบัติที่เหมือนๆ กัน ไว้เป็นพวกเดียวกัน เพื่อสะดวกในการจดจำและศึกษา โดยแบ่งธาตุทั้งหมดออกเป็นหมู่และคาบ
5
Johann Dobereiner Johann Dobereiner จัดเรียงธาตุเป็นหมวดหมู่ โดยนำธาตุที่มีสมบัติคล้ายกันมาจัดไว้ในหมู่เดียวกัน หมู่ละ 3 ธาตุ เรียกว่า “triads” เรียงตามมวลอะตอมจากน้อยไปมาก โดยธาตุตัวกลางจะมีน้ำหนักอะตอมเป็นค่าเฉลี่ยของน้ำหนักอะตอมของอีกสองธาตุที่เหลือ โดยประมาณ กฎนี้เรียกว่า “ Law of Triads” Ca Sr Ba ( ) ÷ 2 = 88 137
6
John Newlands Be B John A.R. Newlands เสนอกฎ “Law of Octaves” มีความว่า ถ้านำธาตุมาเรียงลำดับกันตามน้ำหนักอะตอม จะพบว่า ธาตุตัวที่ 8 มีสมบัติคล้ายตัวที่ 1 (โดยเริ่มจากธาตุใดก็ได้ และไม่รวม H กับแก๊สมีตระกูลซึ่งขณะนั้นยังไม่พบ) คือ Na คล้าย Li, Kคล้าย Na Mg คล้าย Be เป็นต้น นอกจากนี้ยังปรากฏว่า กฎนี้ใช้ได้กับธาตุที่มีน้ำหนักอะตอมไม่เกินน้ำหนักอะตอมของ Ca เท่านั้น
7
Dimitri Mendeleev Dmitri Ivanovich Mendeleev ได้เสนอการจัดตารางธาตุออกมาในลักษณะคล้าย ๆ กัน โดยพบว่าสมบัติต่าง ๆ ของธาตุสัมพันธ์กับมวลอะตอมของธาตุ ตาม Periodic Law คือ “ สมบัติของธาตุเป็นไปตามมวลอะตอมของธาตุโดยเปลี่ยนแปลงเป็นช่วง ๆ ตามมวลอะตอมที่เพิ่มขึ้น” เช่น จุดเดือด จุดหลอมเหลว ความว่องไวในการทำปฏิกิริยาจะแปรเป็นช่วงๆ ตามการเปลี่ยนแปลงค่าของน้ำหนักอะตอม
8
ข้อสังเกตเกี่ยวกับตารางธาตุที่เสนอของ เมนเดเลเอฟ
1. ในการจัดตารางธาตุ เมนเดเลเอฟไม่ได้ยึดการเรียงธาตุตามน้ำหนักอะตอมเป็นหลัก แต่เพียงอย่างเดียว แต่นำความคล้ายคลึงของสมบัติทางเคมี และทางกายภาพที่ปรากฏซ้ำกัน เป็นช่วงๆ มาประกอบการพิจารณาด้วย เช่น Te มีน้ำหนักอะตอมมากกว่า I แต่ก็จัด Teไว้ ก่อนหน้า I แต่ก็ไม่สามารถอธิบายได้ว่าทำไมจึงเรียงแบบนั้น 2. ยังมีธาตุจำนวนมากที่ยังไม่ค้นพบ จึงเว้นที่ว่างทิ้งไว้ในตารางธาตุ (ตำแหน่งที่เป็น เครื่องหมาย ? ในตารางธาตุ) เช่นทำนายสมบัติของธาตุที่อยู่ถัดซิลิคอน คือธาตุที่ถัดลงไปมี น้ำหนักอะตอมประมาณ 72 ซึ่งในสมัยนั้นเรียกว่า Eka silicon ได้ใกล้เคียงกับสมบัติของธาตุ เจอร์เมเนียม ที่พบในเวลาต่อมา
9
เอคาซิลิคอนทำนายเมื่อ พ.ศ. 2414 (ค.ศ. 1871)
Dimitri Mendeleev ตาราง เปรียบเทียบสมบัติของธาตุเอคาซิลิคอนกับเจอร์เมเนียมที่ทำนายและที่ค้นพบ สมบัติ เอคาซิลิคอนทำนายเมื่อ พ.ศ (ค.ศ. 1871) เจอร์เมเนียมพบเมื่อ พ.ศ (ค.ศ.1886) มวลอะตอม สีของธาตุ ความหนาแน่น (g/cm3) จุดหลอมเหลว (0C ) สูตรของออกไซด์ ความหนาแน่นของออกไซด์ (g/cm3) เมื่อผสมกับกรดไฮโดรคลอริก 72 เป็นโลหะสีเทา 5.5 สูงมาก RO2 4.7 ละลายได้เล็กน้อย 72.6 5.36 958 GeO2 4.70 ไม่ละลายที่ 25 0C
10
The Father of the Periodic Table?
Dmitri Mendeleev ( ) Lothar Meyer ( )
11
แนวคิดการจัดเรียงธาตุของ Meyer
เรียงตามจำนวนอิเล็กตรอนวงนอก (valence electron) และปริมาตรของอะตอมซึ่งสัมพันธ์กับขนาดของอะตอม
12
เฮนรี โมสลีย์ ได้พัฒนาแนวคิดของเลขอะตอมขึ้น
Henry Moseley เฮนรี โมสลีย์ ได้พัฒนาแนวคิดของเลขอะตอมขึ้น หาค่าความถี่ของรังสีเอ็กซ์ที่คายออกมาจากธาตุชนิดต่างๆ เมื่อถูกอิเล็กตรอนที่มีพลังงานสูงวิ่งเข้าชนธาตุนั้น สิ่งที่พบคือ ธาตุแต่ละชนิดให้รังสีเอ็กซ์ที่มีค่าความถี่เฉพาะตัว และพบว่าความถึ่นั้นเพิ่มขึ้นเมื่อธาตุที่ถูกชนมีค่ามวลอะตอมเพิ่มขึ้น Henry Moseley ได้จัดเรียงธาตุตามเลขอะตอมจากน้อยไปหามาก พบว่าการใช้เลขอะตอมมีความแม่นยำในการทำนายสมบัติของธาตุมากกว่าการใช้เลขมวลของธาตุเป็นเกณฑ์ ดังนั้นจึงยึดถือเลขอะตอมเป็นเกณฑ์ในการจัดเรียงลำดับของธาตุในตารางธาตุถึงปัจจุบัน He was able to derive the relationship between x-ray frequency and number of protons
13
และทางกายภาพ และพบว่าสมบัติต่างๆ จะสัมพันธ์กับการจัดเรียงอิเล็กตรอน
## ในปัจจุบันนักเคมีได้ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติของธาตุทั้งทางเคมี และทางกายภาพ และพบว่าสมบัติต่างๆ จะสัมพันธ์กับการจัดเรียงอิเล็กตรอน ในอะตอมของธาตุนั้นๆ ดังนั้นปัจจุบัน กฎพิริออดิก จึงกล่าวว่า “ สมบัติของธาตุต่างๆ เป็น periodic function ของเลขอะตอม โดยขึ้นอยู่กับ การจัดเรียงตัวของอิเล็กตรอนในอะตอมของธาตุเหล่านั้น”
14
ตารางธาตุในปัจจุบัน
15
Periodic Table เลขอะตอม 1 H มวลอะตอม(เลขมวล)
16
การจัดเรียงอิเล็กตรอนในระดับพลังงานนอกสุด
p orbital block s orbital block d orbital block n=1 n=2 n=3 n=4 n=5 n=6 n=7 n=6 n=7 f orbital block
17
การจัดเรียงอิเล็กตรอนชั้นนอกสุดของธาตุ
s2p6 การจัดเรียงอิเล็กตรอนชั้นนอกสุดของธาตุ s1 s2p1 s2p2 s2p3 s2p4 s2p5 s2 d10 d1 d5 4f 5f
18
ชื่อทั่วไปของธาตุในแต่ละหมู่ (Group)
19
ธาตุที่เป็นโลหะ (Metal Elements)
20
ธาตุที่เป็นอโลหะ (Non-Metal Elements)
21
ธาตุที่เป็นกึ่งโลหะ (Semimetal Elements)
22
Periodic Classification of the Elements
ตัวอย่างที่ 1 จงเติมข้อความต่อไปนี้ให้สมบูรณ์ เลขอะตอม การจัดเรียงอิเล็กตรอน คาบที่ หมู่ที่ สัญลักษณ์ธาตุ 8 _________________ _____ _____ __________ 36 _________________ _____ _____ __________ 42 _________________ _____ _____ __________ 50 _________________ _____ _____ __________
23
Periodic Classification of the Elements
24
การตั้งชื่อธาตุที่ค้นพบใหม่
25
การตั้งชื่อธาตุที่ค้นพบใหม่
การตั้งชื่อธาตุที่ค้นพบในยุคแรกจะใช้ชื่อนักวิทยาศาสตร์ที่ค้นพบ ธาตุบางธาตุถูกค้นพบโดยนักวิทยาศาสตร์หลายคณะ ทำให้มีชื่อเรียกและสัญลักษณ์ต่างกัน
26
การตั้งชื่อธาตุที่ค้นพบใหม่
การที่คณะนักวิทยาศาสตร์ต่างคณะตั้งชื่อแตกต่างกัน ทำให้เกิดความสับสน International Union of Pure and Applied Chemistry (IUPAC) จึงได้กำหนดระบบการตั้งชื่อขึ้นใหม่ โดยใช้กับชื่อธาตุที่มีเลขอะตอมเกิน ขึ้นไป ทั้งนี้ให้ตั้งชื่อธาตุโดยระบุเลขอะตอมเป็นภาษาละติน แล้วลงท้ายด้วย -ium ระบบการนับเลขในภาษาละตินเป็นดังนี้ 0 = nil (นิล) 1 = un (อุน) 2 = bi (ไบ) 3 = tri (ไตร) 4 = quad (ควอด) 5 = pent (เพนท์) 6 = hex (เฮกซ์) 7 = sept (เซปท์) 8 = oct (ออกตฺ) 9 = enn (เอนน์)
27
การตั้งชื่อธาตุที่ค้นพบใหม่
ตัวอย่างที่1 จงอ่านชื่อตามระบบ IUPAC พร้อมทั้งเขียนสัญลักษณ์ของธาตุต่อไปนี้ 1. ธาตุที่ =_________________________________สัญลักษณ์___________ 2. ธาตุที่ =_________________________________สัญลักษณ์___________ 3. ธาตุที่ =_________________________________สัญลักษณ์___________ 4. ธาตุที่ =_________________________________สัญลักษณ์___________ 5. ธาตุที่ =_________________________________สัญลักษณ์___________ ตัวอย่างที่2 ธาตุที่มีสัญลักษณ์ต่อไปนี้มีเลขอะตอมเท่าไร 1. Uuq =________________ 2. Ubo =_________________
28
ลำดับการค้นพบธาตุ
29
ตัวอย่างสีของเปลวไฟที่ได้จากการเผาสารประกอบ
Cu 2+ Sr 2+ Na+ Ba 2+ Li+ K+
30
สารประกอบ ตัวอย่าง สีของเปลวไฟ ลิเทียม LiCl , LiNO3 , Li2CO3 สีแดง โซเดียม NaCl , Na2SO4 , Na2CO3 สีเหลือง โพแทสเซียม KCl , K2SO4 , KNO3 สีม่วง รูบิเดียม RbCl , Rb2SO4 , RbNO3 สีแดงเข้ม ซีเซียม CsCl , Cs2SO4 , CsNO3 สีฟ้า แคลเซียม CaCl2 , CaSO4 , Ca(NO3)2 สีแดงอิฐ แบเรียม BaCl2 , BaSO4 , Ba(NO3)2 สีเขียวแกมเหลือง ทองแดง CuCl2 , CuSO4 , Cu(NO3)2 สีเขียว
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.