ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
Chapter II Development of Law & Environment
การเปลี่ยนแปลงของสังคมและระบบการผลิต ท่ามกลางการเปลี่ยนแปลงของสังคม แนวคิดในการจัดระเบียบสังคมเปลี่ยนแปลงตามไป กฎหมายในการจัดการทรัพยากรเปลี่ยนแปลงไปอย่างไรบ้าง
2
สรุปปัญหาการจัดการสิ่งแวดล้อม กับกฎหมาย
15/11/2018 สรุปปัญหาการจัดการสิ่งแวดล้อม กับกฎหมาย กฎหมายเข้ามากำหนดกติกาว่าอย่างไรบ้าง? สังคมเป็นผู้กำหนดกติกา สังคมคิดอย่างไร – ออกกติกาเพื่อรองรับแนวคิดของตนเอง ปัญหาคือ แต่ละส่วนมีอำนาจ พลังมากพอที่จะกำหนดกติกานั้นหรือไม่อย่างไร หรือสังคมถูกทำให้คิด/เชื่ออย่างไร แล้วนักกฎหมายควรทำอย่างไร? นักกฎหมาย/ การศึกษากฎหมายมี 3 ระดับ 1. เรียนรู้และเข้าใจว่ากฎหมายกำหนดไว้อย่างไร 2. สามารถนำกฎหมายมาใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ (อะไรคือ “ประสิทธิภาพ”?) 3. สามารถเสนอแนวทางปรับปรุงแก้ไขกฎหมาย หากกฎหมายนั้นไม่เหมาะสม หรือไม่เป็นธรรม Chapter II Development of Law and Environment
3
กฎหมายกับการจัดการทรัพยากรสิ่งแวดล้อม
15/11/2018 กฎหมายกับการจัดการทรัพยากรสิ่งแวดล้อม วิธีการศึกษา (ข้อคิดนี้สำคัญมาก เพื่อดูถึงกระบวนการศึกษา ว่าเวลาเราศึกษากฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการจัดการทรัพยากร มีวิธีการศึกษาอย่างไร) 1. ในเชิงกระบวนการ – ดูจากระบบการผลิตทั้งหมด และผู้ที่เข้ามาเกี่ยวข้อง 2. ในเชิงพัฒนาการ – ที่มาที่ไป ปรากฎการณ์ที่ผลักดันให้เกิดสิ่งต่างๆ รวมถึงกฎหมายที่เราศึกษานั้นด้วย (มิติการศึกษาเชิงประวัติศาสตร์) ทั้ง 2 วิธีนี้ ต้องพิจารณาถึงบริบทแวดล้อมต่างๆ ด้วย เช่น เทคโนโลยี เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรมและการเมือง Chapter II Development of Law and Environment
4
โลกาภิวัตน์ Globalization
โลกาภิวัฒน์ – โลก + อภิวัฒนา = การเปลี่ยนแปลง ครั้งยิ่งใหญ่ของโลก Alvin Toffler: The Third Wave 1980 I Agricultural Revolution II Industrial Revolution III Information Technology Revolution คำถาม – แล้วบทบาทของกฎหมายในการเปลี่ยนแปลง ของยุคสมัยต่างๆ เหล่านี้ เป็นอย่างไร? Chapter II Development of Law and Environment
5
I Agricultural Revolution
Chapter II Development of Law and Environment
6
I Agricultural Revolution
Chapter II Development of Law and Environment
7
I Agricultural Revolution
ก่อนหน้า ในยุคสังคมดั้งเดิม primitive society จากสังคมการล่าสัตว์ และการเร่ร่อน มาสู่ สังคม เพาะปลูก การจับจองที่ดินและตั้งถิ่นฐาน การเพาะปลูกเพื่อบริโภคในครัวเรือน สู่การแลกเปลี่ยนของที่ผลิตได้ สู่สังคมพาณิชยนิยม จากการผลิตเพื่อบริโภค สู่การผลิตเพื่อขาย Comparative Advantage (หลักการผลิตโดย เปรียบเทียบ) ผลิตอย่างเดียวให้ชำนาญ สร้างศักยภาพ ในการผลิตให้สูงขึ้น แล้วไปค้าขายกับคนอื่น จำนวนประชากรน้อย ทรัพยากรมีมาก – happy ☺ แนะนำให้ดู documentary – Mankind: the Story of All of Us Chapter II Development of Law and Environment
8
II Industrial Revolution
Chapter II Development of Law and Environment
9
II Industrial Revolution
การปฏิวัติอุตสาหกรรม เริ่มจากการใช้เครื่องจักรไอน้ำ ทำให้การผลิตในสังคม สามารถผลิตได้เพิ่มขึ้น ระบบ การขนส่ง รถไฟ เรือกลไฟ การขุดเจาะน้ำมัน การสกัดน้ำมันก๊าด น้ำมันเบนซิน การผลิตเหล็กกล้า สู่อุตสาหกรรมรถยนต์ การคิดค้นการผลิตกระแสไฟฟ้า และโทรศัพท์ แนะนำให้ดู The Story of Science (BBC) The Men Who Built America Chapter II Development of Law and Environment
10
III Information Technology Revolution
ยุค 1950 เริ่มมีการคิดค้นระบบคอมพิวเตอร์ ยุคของความรู้ และเทคโนโลยีสารสนเทศ ทำให้ วิทยาการก้าวหน้าไปอย่างก้าวกระโดด Chapter II Development of Law and Environment
11
Chapter II Development of Law and Environment
Green Revolution ผลที่ตามมาคือ การปลูกพืชอย่างเดียว ทำให้ดินเสื่อม โทรมเร็ว ต้องใช้ปุ๋ย การระบาดของแมลงมีมากขึ้น รุนแรงมากขึ้น จึงต้องใช้ยาฆ่าแมลงเยอะขึ้น Chapter II Development of Law and Environment
12
Chapter II Development of Law and Environment
World Time Line Colonization era Chapter II Development of Law and Environment
13
Chapter II Development of Law and Environment
World Time Line US Civil War > Reconstruction Chapter II Development of Law and Environment
14
Chapter II Development of Law and Environment
World Time Line 1920s Great Depression Chapter II Development of Law and Environment
15
Chapter II Development of Law and Environment
World Time Line 1940s WWII > UN Chapter II Development of Law and Environment
16
Chapter I Introduction
World Time Line 1950s Green Revolution Chapter I Introduction
17
Chapter II Development of Law and Environment
Green Revolution การปฏิวัติเขียว – การปฏิวัติในระบบการเกษตร เน้นการเพาะปลูกเชิงพาณิชย์ cash crop ปลูกอย่างเดียว เยอะๆ plantation; mono crop การ ปลูกพืชเชิงเดี่ยว Chapter II Development of Law and Environment
18
Chapter II Development of Law and Environment
World Time Line 1960s Social Change Chapter II Development of Law and Environment
19
Chapter II Development of Law and Environment
World Time Line 1970s International Conflicts / People Resistance Chapter II Development of Law and Environment
20
Chapter II Development of Law and Environment
World Time Line 1980s Cold War/ Left vs. Right Chapter II Development of Law and Environment
21
Chapter II Development of Law and Environment
World Time Line 1990s Post Cold War 2000s War on Terror/ Free Trade Agreement Chapter II Development of Law and Environment
22
Chapter II Development of Law and Environment
World Time Line 2010s Arab Spring model & political conflict Chapter II Development of Law and Environment
23
จากการเคลื่อนไหวด้านสิ่งแวดล้อมสู่กฎหมายภายใน - อเมริกา
Silent Spring by Rachel Carson (September 1962) > DDT ban (1972) Cuyahoga River > Clean Water Act 1969 Santa Barbara Oil Spill by Union Oil (10 วัน รั่วถึง 100,000 barrels) > National Environmental Policy Act (NAPA) > President’s Council on Environmental Quality (CEQ) > Environmental Assessments > กำหนดบทบาทเฉพาะในฝ่ายบริหาร Chapter II Development of Law and Environment
24
จากการเคลื่อนไหวด้านสิ่งแวดล้อมสู่กฎหมายภายใน - ญี่ปุ่น
มินามาตะ โรคจากการสะสมของสารปรอท โดยเกิดจากการทิ้งน้ำเสียที่มีสารปรอทเจือปน อิไตอิไต โรคจากสารแคดเมียม เกิดจากการทำงานในโรงงาน การปฏิวัติยุคสมัยด้วยฟางเส้นเดียว Masanobu Fukuoka, The One Straw Revolution 4485/the_one_straw_revolution.pdf โรคมินะมะตะ (ญี่ปุ่น: 水俣病 Minamata-byō ?) เป็นชื่อโรคที่เกิดจากพิษจากสาร ปรอท โดยมีอาการของเด็กขาดสารอาหาร มีอาการวิกลจริตอย่างอ่อนๆ กรีดร้อง นัยน์ตา ดำขยายกว้างเล็กน้อย ลิ้นแห้ง แต่ไม่พบสาเหตุของการผิดปกติ แขนขาเคลื่อนไหว ลำบาก มีการกระตุกตัวแข็ง แขนขาบิดงออย่างรุนแรง เพราะโรคนี้แสดงผลต่อระบบ ประสาทส่วนกลาง โรคนี้ค้นพบครั้งแรกที่เมืองมินามาตะ ประเทศญี่ปุ่น เมื่อ 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2499 โดยเกิดจากการทิ้งน้ำเสียที่มีสารปรอทเจือปนออกมา กว่าที่โรคนี้ จะเป็นที่ยอมรับทั้งสาเหตุและโรคนี้ ก็มีการต่อสู้ทางศาลระหว่างกลุ่มธุรกิจกับผู้ป่วยมา เป็นเวลานาน ประวัติ[แก้] บริษัทชิสโสะเปิดโรงงานเคมีในมินะมะตะเป็นครั้งแรกในปี ค.ศ ในระยะแรกเป็น โรงงานผลิตปุ๋ย ต่อมาจึงขยายกิจการตามแผนพัฒนาอุตสาหกรรมเคมีของประเทศญี่ปุ่น โดยเริ่มผลิตอะเซทิลีน อะซีทัลดีไฮด์ กรดอะซีติก ไวนิลคลอไรด์ ออคทานอล และสารเคมี อื่นๆ ต่อมาจึงพัฒนาจนเป็นโรงงานที่มีความก้าวหน้ามากที่สุด ทั้งก่อนและหลัง สงครามโลกครั้งที่สอง ของเสียจากโรงงานถูกปล่อยลงอ่าวมินะมะตะผ่านระบบกำจัดน้ำ เสียของโรงงาน มลภาวะเหล่านี้ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ การ ประมงได้รับผลกระทบทำให้จับปลาได้น้อยลง บริษัทฯ จึงได้เสนอข้อตกลงเพื่อการ ชดเชยกับสมาคมชาวประมงในปี 1926 และ 1943[1] การขยายตัวอย่างรวดเร็วของโรงงานเริ่มแผ่ขยายไปยังเศรษฐกิจท้องถิ่นทำให้ทั้งบริษัท ฯ และเมืองมินะมะตะมีการพัฒนาอย่างรวดเร็ว เมื่อประกอบกับการที่ไม่มีอุตสาหกรรม อื่นๆ ในท้องถิ่น ทำให้บริษัทฯ มีอิทธิพลในมินะมะตะอย่างมาก ถึงขั้นที่มีช่วงหนึ่งซึ่ง ครึ่งหนึ่งของภาษีที่เก็บได้ในเขตเมืองมินะมะตะมาจากบริษัทชิสโสะและพนักงาน [2] บริษัทฯ และหน่วยงานย่อยเป็นหน่วยงานที่ทำให้เกิดการจ้างงานถึงหนึ่งในสี่ของพื้นที่ ถึงกับมีการกล่าวว่าบริษัทฯ เป็นวังของพื้นที่ เหมือนอย่างวังขุนนางในยุคเอโดะ[3] โรงงานเริ่มผลิตอะเซทัลดีไฮด์ในปี 1932 โดยในปีนั้นมีผลผลิต 210 ตัน เมื่อถึงปี ผลผลิตเพิ่มขึ้นเป็น 6,000 ตันต่อปี และสูงสุดที่ 45,245 ตันในปี 1960[4] รวมทั้งหมดแล้ว โรงงานของชิสโสะมีผลผลิตอะเซทัลดีไฮด์อยู่ระหว่างหนึ่งในสี่ถึงหนึ่งในสามของผลผลิต ทั้งประเทศญี่ปุ่น ปฏิกิริยาที่ใช้ในการผลิตอะเซทัลดีไฮด์นั้นมีการใช้เมอร์คิวรีซัลเฟตเป็น ตัวเร่งปฏิกิริยา ปฏิกิริยาข้างเคียงของกระบวนการเร่งปฏิกิริยานั้นได้ผลผลิตเป็นสาร ปรอทชีวภาพจำนวนเล็กน้อย ชื่อว่าเมธิลเมอร์คิวรี[5] เป็นสารที่มีพิษอย่างมาก และถูก ปล่อยลงอ่าวมินะมะตะตั้งแต่เริ่มผลิตในปี 1932 ถึง 1968 เมื่อวิธีผลิตนี้ถูกยกเลิก โรคอิไตอิไต (ญี่ปุ่น: イタイイタイ病 itaiitaibyō อิไตอิไตเบียว ? ; อังกฤษ: Itai-itai disease) เป็นโรคชนิดหนึ่งเกิดจากแคดเมียม ชื่อโรคอิไตอิไต มาจากภาษาญี่ปุ่น แปลว่า เจ็บปวด โรคอิไตอิไต พบครั้งแรกในประเทศญี่ปุ่น เช่นเดียวกับโรคมินามาตะ และโรคคา วาซากิ เนื่องจากผู้ที่ป่วยจะมีอาการเจ็บปวดจึงเรียกขานว่าโรคอิไตอิไต ผู้ที่มีโอกาสจะได้รับพิษแคดเมียม คือ คนงานในอุตสาหกรรมชุบหรือเชื่อมโลหะ คนงาน เคาะพ่นสีรถยนต์และมอเตอร์ไซด์ ที่มีการใช้ความร้อน หรือเปลวไฟในการเชื่อมเหล็กที่มี แคดเมียมผสมหรือเคลือบอยู่ การสูดไอของโลหะแคดเมียมเข้าไประยะยาว แคดเมียมจะ ไปสะสมที่กระดูก ทำให้กระดูก ผุมีอาการเจ็บปวดมาก เคยมีชื่อเรียกโรคพิษของ แคดเมียมเป็นภาษาญี่ปุ่นว่า อิไตอิไต ซึ่งแปลว่า เจ็บปวด เมื่อได้รับแคดเมียมสะสมมาก ๆ จะสังเกต เห็นวงสีเหลืองที่โคนของซี่ฟัน ซึ่งจะขยายขึ้นไปเรื่อย ๆจนอาจเต็มซี่ ถ้าขนาด ของวงยิ่งกว้างและสียิ่งเข้ม ก็แสดงว่ามีแคดเมียมสะสมมาก มีหลักฐานพิสูจน์ ได้ว่า แคดเมียมออกไซด์เป็นสารก่อมะเร็งที่ไตและต่อมลูกหมาก นอกจากนั้นยังทำอันตรายต่อ ไต ทำให้สูญเสียประสาทการดมกลิ่นและทำให้ เลือดจาง ถ้าได้รับปริมาณมากระยะสั้น ๆ จะมีอาการจับไข้ หนาว ๆ ร้อน ๆ ปวดศีรษะ อาเจียน อาการนี้จะเป็นได้นานถึง 20 ชั่วโมง แล้วตามด้วยอาการเจ็บหน้า อก ไอรุนแรง น้ำลายฟูม ดังนั้น เมื่อใดมีไอของแคดเมียม เช่น จากการเชื่อมเหล็กชุบ ควรใช้หน้ากากป้องกันไอและฝุ่นของแคดเมียม หรือ สารประกอบแคดเมียม ในขณะทำงาน Chapter II Development of Law and Environment
25
พัฒนาการของกฎหมายสิ่งแวดล้อมไทย
1855 สนธิสัญญาเบาริ่ง Chapter II Development of Law and Environment
26
พัฒนาการของกฎหมายสิ่งแวดล้อมไทย
1890s ปฏิรูปในสมัย ร.5 Chapter II Development of Law and Environment
27
พัฒนาการของกฎหมายสิ่งแวดล้อมไทย
1932 เปลี่ยนแปลงการปกครอง Chapter II Development of Law and Environment
28
พัฒนาการของกฎหมายสิ่งแวดล้อมไทย
1940s WWII Chapter II Development of Law and Environment
29
พัฒนาการของกฎหมายสิ่งแวดล้อมไทย
1950s ยุคสฤษฎ์ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ/ เร่งรัด พัฒนาชนบท การสร้างทางหลวง ก่อตั้งรัฐวิสาหกิจ > การพัฒนา และแนวคิดอนุรักษ์ Chapter II Development of Law and Environment
30
พัฒนาการของกฎหมายสิ่งแวดล้อมไทย
1970s 14 ตุลา 1973 ประชาธิปไตยเบ่งบาน จนถึง6 ตุลา 1976 Chapter II Development of Law and Environment
31
พัฒนาการของกฎหมายสิ่งแวดล้อมไทย
1990s ยุคเปรม > ยุคชาติชาย การแปรสนามรบให้เป็นสนามการค้า / สิ่งแวดล้อม/ ปิดป่า/ สิทธิชุมชน/ 1997 รัฐธรรมนู Chapter II Development of Law and Environment
32
พัฒนาการของกฎหมายสิ่งแวดล้อมไทย
2000s หลังยุคอนุรักษ์ & ความขัดแย้งทางการเมือง Chapter II Development of Law and Environment
33
พัฒนาการของกฎหมายสิ่งแวดล้อมไทย
2010s ยุคทหาร Chapter II Development of Law and Environment
34
กฎหมายในการจัดการสิ่งแวดล้อม
กฎหมายในการจัดการทรัพยากร กฎหมายในการจัดการผลิต เช่น พรบ.โรงงาน กฎหมายในการจัดการพื้นที่ เช่น พรบ.ผังเมือง กฎหมายในการจัดการพลังงาน เช่น พรบ.รักษาอนุรักษ์พลังงาน กฎหมายในการคุ้มครองสุขภาพ เช่น พรบ.สาธารณสุข พรบ.คุ้มครองสุขภาพผู้ไม่สูบบุหรี่ พรบ.รักษาความสะอาดและความเป็นระเบียบเรียบร้อยของบ้านเมือง พรบ.อาหารและยา กฎหมายในการจัดการเฉพาะ เช่น พรบ.วัตถุอันตราย กฎหมายเกี่ยวกับการจัดการของเสียมีพิษ การใช้สารเคมี กฎหมายกระจายอำนาจองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น Chapter II Development of Law and Environment
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.