ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
นิเทศและประเมินผลสัญจร โซนนาคราชซ้าย
๒๗ เมษายน ๒๕๕๘ เสนา บางซ้าย ผักไห่ ลาดบัวหลวง
2
ข้อมูลทั่วไป โซนนาคราชซ้าย เสนา บางซ้าย ผักไห่ ลาดบัวหลวง
3
ประชากร 42,355 คน 1 รพช. F2 (30 เตียง) 15 รพ.สต. ประชากร 14,152 คน
ประชากร 42,355 คน 1 รพช. F2 (30 เตียง) 15 รพ.สต. 16 ตำบล 2 เทศบาล 8 อบต. 128 หมู่บ้าน 11,370 หลังคาเรือน ประชากร 14,152 คน 1 รพช. F3 (10 เตียง) 6 รพ.สต. 6 ตำบล 1 เทศบาล 4 อบต. 53 หมู่บ้าน 4,956 หลังคาเรือน เสนา บางซ้าย ผักไห่ ลาดบัวหลวง ประชากร 66,930 คน 1 รพท. M1 (180 เตียง) รพ.สต. 2 ศสม. 17 ตำบล 4 เทศบาลตำบล 1 เทศบาลเมือง 9 อบต. 137 หมู่บ้าน 17,617 หลังคาเรือน ประชากร 44,069 คน 1 รพช. F2 (30 เตียง) 8 รพ.สต. 7 ตำบล 2 เทศบาล 6 อบต. 58 หมู่บ้าน 8,813 หลังคาเรือน
4
ปิรามิดประชากรโซนนาคราชซ้าย จากฐานข้อมูลประชากรกลางปี 2557
รวม 165,157 คน ชาย 80,282 48.61% หญิง 84,875 51.69%
5
บางซ้าย ผักไห่ ลาดบัวหลวง
เสนา บางซ้าย ผักไห่ ลาดบัวหลวง กลุ่มอายุ เพศชาย ร้อยละ เพศหญิง รวม วัยเด็ก (0-14ปี) 14,587 8.83 13,593 8.23 28,180 17.06 วัยแรงงาน (15-59ปี) 53,689 32.51 55,050 33.33 108,739 65.84 วัยสูงอายุ (60ปีขึ้นไป) 12,006 7.27 16,232 9.83 28,238 17.10 80,282 48.61 84,875 51.39 165,157 100
6
หลักประกันสุขภาพ ที่มา : รายงานผลการขึ้นทะเบียนหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า จากการออกบัตรด้วยโปรแกรม Welfare UC๒ ข้อมูล ณ
7
หลักประกันสุขภาพ ที่มา : รายงานผลการขึ้นทะเบียนหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า จากการออกบัตรด้วยโปรแกรม Welfare UC๒ ข้อมูล ณ วันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2558
8
บุคลากรในโรงพยาบาล รวม 566 67 118 121 วิชาชีพ เสนา บางซ้าย ผักไห่
ลาดบัวหลวง แพทย์ 26 + intern 7 2 5 4 ทันตแพทย์ 9 3 เภสัชกร 13 พยาบาลวิชาชีพ 181 21 33 35 ข้าราชการอื่นๆ 42 7 19 16 ลูกจ้างประจำ / พนักงานราชการ 49 / 18 10 10 / 2 15 พกส. /ลูกจ้างชั่วคราว 169 / 59 22 18 / 24 28 / 14 รวม 566 67 118 121
9
บุคลากรในเครือข่ายบริการสุขภาพ
วิชาชีพ เสนา บางซ้าย ผักไห่ ลาดบัวหลวง สาธารณสุขอำเภอ 1 จำนวน รพ.สต/ศสม. 15+1 / 2 6 15 8 เจ้าพนักงานสาธารณสุข 11 9 นักวิชาการสาธารณสุข 21 19 16 พยาบาลวิชาชีพ 7 เจ้าพนักงานทันตสาธารณสุข 2 พกส. /ลูกจ้างชั่วคราว 3 / 12 0 / 7 1 / 7 รวม 60 34 46 39 อัตรา จนท/รพสต 3.75 4.50 3.06 4
10
สถิติผู้ป่วยนอก-ใน เฉลี่ย (ราย : วัน) 2557
โรงพยาบาล
11
อัตราการครองเตียง (รวม)
% โรงพยาบาล
12
Top 5 OPD อันดับ เสนา บางซ้าย ผักไห่ ลาดบัวหลวง 1 ระบบไหลเวียนเลือด HT
2 ต่อมไร้ท่อ DM DM type II 3 ระบบกล้ามเนื้อ Acute Pharyngitis Acute URI Dyspepsia 4 ระบบหายใจ Vertigo Asthma 5 ระบบย่อยอาหาร Disease of plup and periapical Dental
13
Top 5 IPD อันดับ เสนา บางซ้าย ผักไห่ ลาดบัวหลวง 1 Hypertensive disease
Diarrhea Pneumonia 2 Other form of hearth disease Bronchitis HT , Dyspepsia 3 Diabetes mellitus Thalassemia UTI COPD 4 Ischemic of heart disease Dizziness Vertigo DM 5 Renal failure CHF Cellulitis crisis
14
Top 5 รพ.สต. อันดับ เสนา บางซ้าย ผักไห่ ลาดบัวหลวง 1 HT 2 Common cold
Acute URI DM 3 Muscle strain Dizziness 4 Acute pharyngitis, unspecified 5 Tension-type headache DM Type II Dyspepsia URI
15
เพิ่มครุภัณฑ์ทางการแพทย์
CMI โรงพยาบาลเสนา 2552 – ก.พ. 2558* Internal Auditor เพิ่มแพทย์เฉพาะทาง เพิ่มครุภัณฑ์ทางการแพทย์
16
CMI รพช. ณ กุมภาพันธ์ 2558 แหล่งที่มา : กลุ่มงานประกันสุขภาพ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดพระนครศรีอยุธยา
17
sumAdjRW 2554 – ก.พ. 2558* รพท.เสนา (M1)
18
sum AdjRW รพช. ณ กุมภาพันธ์ 2558
แหล่งที่มา : กลุ่มงานประกันสุขภาพ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดพระนครศรีอยุธยา
19
รายงานต้นทุนการให้บริการผู้ป่วยนอก ไตรมาส 4/2557
20
รายงานต้นทุนการให้บริการผู้ป่วยใน ไตรมาส 4/2557
ไม่ผ่าน ไม่ผ่าน
21
ร้อยละต้นทุนที่ลดลงตาม Plan Fin
เสนา ผักไห่ ลาดบัวหลวง บางซ้าย P14 ต้นทุนยา - 3.32 + 3.75 P15 วัสดุการแพทย์ P16 วัสดุวิทยาศาสตร์การแพทย์ +93.47
22
ผลการประเมินภาวะวิกฤติ เดือนธันวาคม ปีงบประมาณ 2558
Org CR (1.50) QR (1.00) Cash (0.80) Risk Scoring เสนา,รพท. 4.50 4.37 1.45 ผักไห่,รพช. 2.22 2.06 1.86 ลาดบัวหลวง 1.88 1.51 1.11 บางซ้าย,รพช. 5.05 4.68 4.27
23
คุณภาพการให้บริการ เสนา ผักไห่ ลาดบัวหลวง บางซ้าย HA Acc Re Acc 1
ขั้น 2 PCA ระดับ 1 DHS 4.75 4 3 NCD ดีมาก ผ่านกรมอนามัย ผ่านจังหวัด อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็ง 89.5 82 79 92
24
การบริหารจัดการ ภายในโซน
เสนา บางซ้าย ผักไห่ ลาดบัวหลวง
25
จำนวนการรับ Refer โซนนาคราชซ้าย
การจัดบริการ จำนวนการรับ Refer โซนนาคราชซ้าย ราย โรงพยาบาล
26
จำนวนการ Refer Back โซนนาคราชซ้าย
การจัดบริการ จำนวนการ Refer Back โซนนาคราชซ้าย ราย โรงพยาบาล
27
โรคที่รับ Refer 5 อันดับแรกใน โซนนาคราชซ้าย
การจัดบริการ โรคที่รับ Refer 5 อันดับแรกใน โซนนาคราชซ้าย
28
การพัฒนาบุคลากร งบสนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ปีงบประมาณ ๒๕๕๗ ที่ โครงการ งบประมาณ เบิกจ่าย คงเหลือ ๑. โครงการประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้การทำงานของแต่ละ CUP ๗๕,๒๖๐ ๐ ๒. โครงการพัฒนาศักยภาพครู ก ๙๐,๐๐๐ ๓. โครงการพัฒนาศักยภาพ อสม. ๕๐,๐๐๐ ๔. โครงการประชุมสรุปผลการดำเนินงานประจำปีเครือข่ายโซน ๑๐๐,๐๐๐ รวม ๓๑๕,๒๖๐ ๒๖๕,๒๖๐ ขออนุมัติใช้เงินในปีงบประมาณ ๒๕๕๘ ที่ โครงการ งบประมาณ ๑. โครงการพัฒนาบุคลากรโซนเสนาซ้าย ปี ๒๕๕๘ ๓๗,๓๐๐ ๒. โครงการพัฒนาศักภาพระบบบริการตาม Service Plan โซนเสนาซ้าย ๘๓,๖๐๐ ๓. โครงการพัฒนาศักยภาพ อสม. และประกวด อสม. ดีเด่น ๑๐๐,๐๐๐ ๔. โครงการพัฒนาระบบสุขภาพอำเภอโดยความร่วมมือของเครือข่ายทุกภาคส่วน ๔๔,๓๖๐ รวม ๒๖๕,๒๖๐
29
การพัฒนาบุคลากร เงินบำรุงโรงพยาบาลเสนา
จัดทำโครงการโดยเชิญเครือข่าย และ สสจ. เข้าร่วม โครงการพัฒนางานประจำสู่การวิจัย เครือข่ายบริการสุขภาพอำเภอเสนา ปี จำนวนเงิน 54,600 บาท จัดกิจกรรมเมื่อวันที่ 11 ธันวาคม 2557 โครงการรักษ์คุณภาพ โรงพยาบาลเสนา อำเภอเสนา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ปี 2558 จำนวนเงิน 89,500 บาท จัดกิจกรรมวันที่ 27 เมษายน และ 1 พฤษภาคม 2558
30
การพัฒนาบุคลากร งบสนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ปีงบประมาณ 2558
31
ยอดเงินกองทุนหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า โซนนาคราชซ้าย
อำเภอ สปสช. โอน อปท.สบทบ ยอดรวม เสนา 3,360,285.00 1,372,824.00 4,733,109.00 ผักไห่ 2,034,315.00 792,859.50 2,827,174.50 ลาดบัวหลวง 1,983,105.00 716,440.50 2,699,545.50 บางซ้าย 943,740.00 332,559.00 1,276,299.00 ผลรวมทั้งหมด 8,321,445.00 3,214,683.00 11,536,128.00
32
ยอดการรับจัดสรร เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพฯ
การสร้างเสริมสุขภาพโซนนาคราชซ้าย ประเภทที่1 ประเภทที่2 ประเภทที่3 ประเภทที่4 ประเภทที่5 รวม 0.00 160,580.00 20,050.00 180,630.00 ผักไห่ 202,865.00 44,200.00 49,500.00 170,800.00 50,000.00 517,365.00 ลาดบัวหลวง 1,432,745.00 251,400.00 121,900.00 116,200.00 1,922,245.00 เสนา 1,379,503.00 1,292,467.00 398,111.00 241,960.00 27,700.00 3,339,741.00 3,015,113 1,748,647.00 589,561.00 528,960 77,700 5,959,981.00 บางซ้าย
33
แสดงร้อยละของงบประมาณที่ใช้ในการดำเนิน โครงการ จำแนกตามประเภท ปี 2553 ของเก่า
การจัดซื้อบริการสาธารณสุขตามชุดสิทธิประโยชน์ สนับสนุนงบประมาณแก่หน่วยบริการสาธารณสุข การสร้างเสริมสุขภาพโดยประชาชนและชุมชน การบริหารจัดการและพัฒนาระบบบริหารจัดการ
34
ปัญหาในพื้นที่โซน OZOP ODOP ปัญหาจากการวิเคราะห์พื้นที่
ข้อสั่งการตรวจราชการ เสนา บางซ้าย ผักไห่ ลาดบัวหลวง
35
จำนวนประชากรผู้สูงอายุ
OZOP โซนนาคราชซ้าย จำนวนประชากรผู้สูงอายุ อำเภอ ผู้สูงอายุชาย ผู้สูงอายุหญิง รวม ผักไห่ 2,889 4,002 6,891 ลาดบัวหลวง 2,022 2,565 4,587 เสนา 3,978 5,653 9,631 บางซ้าย 1,248 1,660 2,908 10,137 13,880 24,017
36
จำนวนประชากรผู้สูงอายุ อายุเกิน 100 ปี
OZOP โซนนาคราชซ้าย จำนวนประชากรผู้สูงอายุ อายุเกิน 100 ปี อำเภอ รวม ผักไห่ 71 ลาดบัวหลวง 37 เสนา บางซ้าย 19 134
37
OZOP โซนนาคราชซ้าย เป้าหมาย
พัฒนาข้อมูล ให้มีคุณภาพและมีการใช้ข้อมูล ให้เกิดประโยชน์ในการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ คัดกรองสุขภาพผู้สูงอายุตามเกณฑ์มาตรฐาน แลกเปลี่ยนเรียนรู้วิธีพัฒนาสุขภาพผู้สูงอายุในโซน KPI ผลการคัดกรองสุขภาพผู้สูงอายุตามมาตรฐานกรมอนามัย 6 ด้านผ่านเกณฑ์ ในไตรมาสที่สาม เกิดนวัตกรรมการแก้ไขปัญหาสุขภาพผู้สูงอายุระดับโซน
38
Road Map ผลลัพธ์การคัดกรองตามเกณฑ์ที่กำหนด วิชาการการพัฒนาสุขภาพผู้สูงอายุ ๑ ครั้ง ผลิตเอกสารคัดกรอง ไตรมาสที่ ๒ (มีค. ๕๘) ส่งผลลัพธ์การคัดกรองตามเกณฑ์ที่ กำหนด รอบสอง วิเคราะห์ ข้อมูล ส่งมอบข้อมูล ดำเนินงาน แก้ไขปัญหา ไตรมาสที่ ๓ ( มิย. ๕๘) เวทีนำเสนอ Best Practice การแก้ไข ปัญหาสุขภาพผู้สูงอายุระดับโซน ใน เดือนกค. ๕๘ วางแผนขยายผล ไตรมาสที่ ๔ (กค. ๕๘)
39
ผลงานการคัดกรองภาพโซนฯ ไตรมาสที่ 2
ความสามรถในการทำกิจวัตรประจำวัน ผลงาน 53.31 ติดสังคม 81.73% ติดบ้าน 20.26% ติดเตียง 4.22 ตาต้อกระจก 52.28% ปกติ % ผิดปกติ 15.83% สุขภาพช่องปาก 39.25% ฟันใช้งานได้58.34% มีฟันหลังครบ4คู่สบ40.43% ข้อเข่า 52.38% ปกติ 45.41% มีความเสี่ยง % ความดันโลหิต 52.43% ปกติ 60.52% มีความเสี่ยง % เบาหวาน ปกติ 81.15% มีความเสี่ยง % ภาวะซึมเศร้า 52.16% ปกติ 91.41% มีความเสี่ยง 9.92%
40
ผลงานเด่นระดับอำเภอ ผลงานเด่นระดับโซน
41
เรื่อง FAMILY CARE TEAM การดูแลผู้สูงอายุกลุ่มติดบ้านติดเตียง
ODOP CUP เสนา เรื่อง FAMILY CARE TEAM การดูแลผู้สูงอายุกลุ่มติดบ้านติดเตียง อำเภอเสนามีผู้สูงอายุ 10,861 คน ได้รับการคัดกรอง ADL 6974 คนหรือร้อยละ 64 พบว่าเป็นกลุ่ม ติดสังคม 5,663 คน ติดบ้าน 927 คน และติดเตียง 357 คน หรือร้อยละ , 13.3 และ 5.1 ตามลำดับ หากผู้สูงอายุไม่ได้รับการพัฒนาทักษะให้สามารถดูแลตัวเองได้จะทำให้เกิดกลุ่มติดบ้านและกลุ่มติดเตียงเพิ่มขึ้น ส่งผลกระทบต่อภาระด้านรักษาพยาบาลและภาระครอบครัว ดังนั้น การส่งเสริมระบบการดูแลผู้สูงอายุในชุมชน ให้มีความเข้มแข้งด้วยกระบวนการ FAMILY CARE TEAM มีความสำคัญอย่างยิ่ง ในการทำให้เกิดทีมสุขภาพในพื้นที่ มีระบบการดูแลชัดเจนต่อเนื่องเป็นรูปธรรม
42
ODOP CUP เสนา ตัวชี้วัด ระดับความสำเร็จการพัฒนาทีมหมอครอบครัวในการดูแลผู้สูงอายุติดบ้านติดเตียง ระดับคะแนน ขั้นตอนการดำเนินงาน ระดับ 1 ระดับ 2 ระดับ 3 ระดับ 4 ระดับ 5 1) จัดตั้งคณะทำงาน 2) ประชุมคณะทำงานไตรมาสละ 1ครั้ง 1) คัดกรองปัญหาสุขภาพผู้สูงอายุ 2)วิเคราะห์ปัญหาและวางแผนแก้ไขปัญหา 1) มีระบบการดูแลผู้สูงอายุ 1) ทีมหมอครอบครัว 2) คลินิกผู้สูงอายุ 3)ระบบ HHC มีกระบวน การดูแลผู้สูงอายุในตำบล ตำบลผ่านเกณฑ์ตำบลดูแลสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาว ผลการดำเนินงาน ผ่าน 1) และ 2) ผ่าน 1) และ 3) แผนระดับอำเภอ (กำลังดำเนินการ) 1)โครงการส่งเสริมสุขภาพและพัฒนาศักยภาพผู้สูงอายุ 2) โครงการ จิตอาสาเยี่ยมบ้านฟื้นฟูผู้พิการในชุมชน
43
ODOP CUP ลาดบัวหลวง เรื่อง โครงการอาสาสมัครเพื่อดูแลช่วยเหลือผู้สูงอายุ และผู้พิการ อำเภอลาดบัวหลวง ปีงบประมาณ ๒๕๕๘ เหตุผลและความจำเป็น ปัจจุบันในอำเภอลาดบัวหลวงมีผู้สูงอายุ จำนวน ๔,๔๒๕ คน ได้รับการดูแล ๒,๘๗๗ คน คิดเป็นร้อยละ ๖๕.๐๒ และผู้พิการ จำนวน ๔๘๖ คน ได้รับการดูแล ๔๒๓ คน คิดเป็นร้อยละ ๘๗.๐๔ รวมทั้งสองกลุ่ม ได้รับการดูแลคิดเป็นร้อยละ ๖๗.๒๐ เพื่อให้ผู้สูงอายุ และผู้พิการได้รับการดูแลทั้งทางด้านสุขภาพกาย ด้านสุขภาพจิตใจ และทางด้านสังคม ครอบคลุม ๑๐๐% ทุกคน กลุ่มเป้าหมาย อาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุ/คนพิการใน ชุมชน (ผู้มีจิตอาสา) หรือผู้ดูแลผู้สูงอายุ/คนพิการในครอบครัว (บุตร/หลาน/หรือบุคคลในครอบครัว) จาก ๕๘ หมู่บ้านๆละ ๓ คน จำนวน ๑๗๔ คน
44
ODOP CUP ลาดบัวหลวง กิจกรรมการดำเนินงาน
กิจกรรมที่ ๑ จัดอบรมการให้ความรู้เรื่องดูแลผู้สูงอายุและคนพิการในครอบครัวและชุมชน กิจกรรมที่ ๒ ฝึกปฏิบัติการอาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุ/ผู้พิการ ที่ รพสต. กิจกรรมที่ ๓ ออกเยี่ยมและให้การดูแลผู้สูงอายุ/ผู้พิการที่บ้าน การดำเนินงานที่ได้ดำเนินการแล้ว ๑. สำรวจและขึ้นทะเบียนผู้สูงอายุในพื้นที่อำเภอลาดบัวหลวง ๒. จัดทำโครงการเพื่อเสนอขออนุมัติ ๓. ประชุมชี้แจงนโยบายการดำเนินโครงการแก่กลุ่มผู้นำชุมชน และอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) ๔. คัดเลือกอาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุ และผู้พิการ
45
เรื่อง การพัฒนาศูนย์เด็กเล็กผ่านเกณฑ์มาตรฐาน
ODOP CUP บางซ้าย เรื่อง การพัฒนาศูนย์เด็กเล็กผ่านเกณฑ์มาตรฐาน
46
เรื่อง การพัฒนาคลินิกผู้สูงอายุในสถานบริการ ( รพสต.)
ODOP CUP ผักไห่ เรื่อง การพัฒนาคลินิกผู้สูงอายุในสถานบริการ ( รพสต.) ระดับคะแนน ขั้นตอนการดำเนินงาน 1 คะแนน มีการจัดตั้งคณะทำงานพัฒนาสุขภาพผู้สูงอายุ ระดับอำเภอ โดยมีองค์ประกอบ ทั้งโรงพยาบาล สำนักงานสาธารณสุขอำเภอ รพสต. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและชุมชนเข้าร่วม การประชุมคณะกรรมการฯ อย่างน้อย 2 เดือนต่อครั้ง 2 คะแนน 2.1 มีการคัดกรองปัญหาสุขภาพผู้สูงอายุ ทั้งด้านร่างกายและจิตใจ (โดยใช้สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุ) - ความสามารถในการทำกิจวัตรประจำวัน (ADL) - โรคที่พบบ่อย (DM, HT, Oral Health, Eyes Diseases) 3 คะแนน 3.1 มีการดำเนินการคัดกรอง Geriatric Syndrome (ภาวะหกล้ม, สมรรถภาพสมองการกลั้นปัสสาวะ, นอนไม่หลับ, ภาวะซึมเศร้า, ข้อเข่าเลื่อม)
47
ODOP CUP ผักไห่ ระดับคะแนน ขั้นตอนการดำเนินงาน 4 คะแนน
4.1ร้อยละ 50 ของสถานบริการสาธารณสุข ในอำเภอผักไห่มีการจัดตั้งคลินิก ผู้สูงอายุที่ให้บริการประเมิน/คัดกรองและรักษาเบื้องต้น มีการดำเนินงานตามเกณฑ์ ร้อยละของผู้สูงอายุได้รับการคัดกรอง/ ประเมิน สุขภาพทั้งทางร่างกายและจิตใจ (ผู้สูงอายุสามารถเข้าถึงบริการคัดกรองโรคความ ดันโลหิตสูง ร้อยละ 80 โรคเบาหวาน ร้อยละ 80 ซึมเศร้า ร้อยละ 60 และ ข้อเข่า เสื่อม ร้อยละ 20 5 คะแนน 5.1 มีการจัดทำแผนงานโครงการพัฒนาระบบสุขภาพผู้สูงอายุ 5.2 อัตราผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลไม่เกินร้อยละ 15
48
ข้อสั่งการจากการตรวจราชการ
ผลงานไตรมาส 1 ปี อัตราฟันผุในเด็ก 0 – 3 ปี พบว่าปัจจัยที่ทำให้เกิดฟันผุ มาจากการเลี้ยงดูของครอบครัว โดยพบว่าเด็กและผู้ปกครองยังขาดทักษะในการแปรงฟันที่ดี และการบริโภคอาหารหวาน ถึงแม้ว่าได้มีการอบรมให้ความรู้ในการดูแลทันตสุขภาพแก่ครูผู้ดูแลเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กทุกปี แต่เมื่อเด็กกลับไปบ้าน ในบางครั้งผู้ปกครองอาจเป็นปู ย่า ตา ยาย ซึ่งไม่สามารถดูแลเด็กได้อย่างทั่วถึง
49
ข้อสั่งการจากการตรวจราชการ
การดำเนินงาน ให้ความรู้ แก่ ผู้ปกครอง ผู้ที่พาเด็กมารับวัคซีนที่โรงพยาบาล ซึ่งทันตบุคลากรเริ่มเน้นความสำคัญในการสอนแปรงฟันแก่ผู้ปกครองและเน้นย้ำเรื่องการบริโภคอาหารหวานแบบตัวต่อตัวมากขึ้น (Hand on) ก่อนที่จะทำการเคลือบฟลูออไรด์วานิชทุกครั้ง กิจกรรมนำร่องอำเภอละ 1 ตำบล ในการเฝ้าระวังโรคฟันผุในเด็กเล็กโดย อสม. ร่วมกับทันตบุคลากร
50
เรื่องอื่นๆ และ การขอรับการสนับสนุน
เสนา บางซ้าย ผักไห่ ลาดบัวหลวง
51
ขอบคุณ เสนา บางซ้าย ผักไห่ ลาดบัวหลวง
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.