งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

แนวคิด : “การจัดการปัญหา LBW แบบมืออาชีพ”

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "แนวคิด : “การจัดการปัญหา LBW แบบมืออาชีพ”"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 แนวคิด : “การจัดการปัญหา LBW แบบมืออาชีพ”
มลุลี แสนใจ ศูนย์อนามัยที่ 10 อุบลราชธานี

2 Determinants of LBW in Developing Countries
Maternal undernutrition – a major determinant of LBW in developing countries are evidenced by the following nutritional deficiencies: - Low gestational weight gain - Low pre-pregnancy body mass index BMI - Short maternal stature - Micronutrient deficiencies Other etiologic determinants include: - Young maternal age adolescent - Malaria during pregnancy - Gastro-intestinal,respiratory intestinal parasitosis, and /or orther infections - Cigarette smoking Source: Kramer (1987) Bull WHO 65:663

3 ตารางแสดงค่าความเสี่ยงสัมพัทธ์(Odds ratio)ในรูปแบบ
Logistic regression Crude OR 95%CI p-value อายุครรภ์น้อยกว่า 37 สัปดาห์ 10.22 7.42 <0.001* ดัชนีมวลกายมารดาก่อนตั้งครรภ์ต่ำกว่า18.50 kg/m2 2.37 2.79 น้ำหนักที่เพิ่มขึ้นเทียบกับ BMI ก่อนตั้งครรภ์(kg.)ต่ำ 2.43 1.87 0.008* มารดามีภาวะความดันโลหิตสูงจากการตั้งครรภ์ 4.95 3.53 0.020* คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

4 ปัญหาทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยมีความรุนแรงมากพอที่จะต้องได้รับการแก้ไข
สาเหตุที่ทำให้ความชุกของ LBW สูงมากในเอเชีย มากกว่าที่อื่นๆ เนื่องมาจากภาวะทุโภชนาการของมารดาก่อนตั้งครรภ์ ถูกทำให้รุนแรงขึ้น ในขณะตั้งครรภ์ ประมาณร้อยละ 60 ของผู้หญิงในเอเชียใต้และร้อยละ40 ของผู้หญิงในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีน้ำหนักน้อย (น้อยกว่า 45 กิโลกรัม) ร้อยละ 40 ของผู้หญิงเหล่านี้ มีรูปร่างผอม ร่วมกับดัชนีมวลกาย(BMI)<18.5 และ มากกว่าร้อยละ 15 มีภาวะแกร็น(ส่วนสูง <145 เซนติเมตร) Identify High Risk for Term Low Birthweight

5 ข้อสังเกตการปฏิบัติตัวด้านโภชนาการ
- ผู้ที่มีน้ำหนักตัวต่ำกว่ามาตรฐานก่อนการตั้งครรภ์ ในระยะไตรมาสแรก ควรพยายามปรับให้มี น้ำหนักตัวเพิ่มขึ้นเท่ามาตรฐาน และในระยะ 6 เดือนต่อมาควรเพิ่มน้ำหนักให้ได้เท่าที่ต้องการตลอดการตั้งครรภ์ - หญิงตั้งครรภ์ที่มีน้ำหนักตัวเกินมาตรฐานก่อนการตั้งครรภ์ ต้องระวังดูแลให้น้ำหนักตัวเพิ่มขึ้น ในอัตราส่วนที่เหมาะสม โดยเลือกกินอาหารที่เหมาะสม แต่ไม่ใช่ควบคุมน้ำหนักด้วยการงดอาหารอย่างเด็ดขาดทั้งนี้เพราะทารกจะได้อาหารจากแม่เท่านั้น แต่จะไม่ได้สารอาหารใดๆทั้งสิ้น

6 - หญิงตั้งครรภ์แฝดสองหรือแฝดสาม มิได้หมายความว่าจะต้องมีน้ำหนักเพิ่มเป็นสองหรือสามเท่า ตามจำนวนทารกในครรภ์ แต่อาจจะเพิ่มน้ำหนักโดยเฉลี่ย 5-8 Kg ต่อทารก 1 คน - อัตราการเพิ่มของน้ำหนักตัว โดยเฉลี่ยน้ำหนักตัวของหญิงตั้งครรภ์จะมีการเพิ่มน้อยในช่วงระยะไตรมาสแรกคือประมาณ  1-2 กิโลกรัมเท่านั้น และจะมีน้ำหนักเพิ่มอย่างรวดเร็วในช่วงไตรมาสที่สอง ส่วนในไตรมาสที่สามน้ำหนักจะเพิ่มขึ้นเพียง 2-3 กิโลกรัมเท่านั้น - การกินอาหารที่ถูกสัดส่วนและควบคุมปริมาณในทันทีที่มีปัญหาว่าน้ำหนักเพิ่มขึ้นอย่างมาก เป็นวิถีทางที่เหมาะสมที่สุดในการควบคุมน้ำหนักของหญิงตั้งครรภ์ และเป็นวิธีเดียวที่จะทำให้ทารกในครรภ์ไม่ขาดสารอาหารและไม่อ้วนมากเกินไป

7 น้ำหนักที่เพิ่มขึ้นระหว่างตั้งครรภ์
ภาวะโภชนาการ ระดับ BMI นน.ที่ควรเพิ่มตลอดการตั้งครรภ์ (กิโลกรัม) เฉลี่ยตลอด การตั้งครรภ์ ต่ำกว่าเกณฑ์ <19.8 15 ตามเกณฑ์ 14 เกินเกณฑ์ 26-29 7-11.5 9 อ้วน >29 7 ครรภ์แฝด Any BMI 16-20 18 แฝดสาม 23

8 จะรู้ได้: ต้องมีการประเมิน โดยการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการ
ทุกครั้ง...ที่มา ANC (หลายคน...บ่นว่าทำยาก แต่...ต้องทำ...)

9 ทบทวนกลวิธีการแก้ไข LBW ของกระทรวงสาธารณสุข
พัฒนาคุณภาพมาตรฐานระบบริการแม่และเด็ก MCH ตามนโยบาย รพ.สายใยรักแห่งครอบครัว (มาตรฐานอนามัยแม่และเด็ก) มี สมุดบันทึกสุขภาพแม่และเด็ก สำหรับให้คุณแม่ใช้เป็นคู่มือในการการดูแลสุขภาพของตนเองและลูกน้อย สนับสนุนให้ใช้ "เส้นทางลูกรัก" ในสมุดสีชมพู เพื่อใช้เป็นคู่มือสำหรับบุคลากรสาธารณสุขในการติดตามน้ำหนักของแม่และลูก และสำหรับการดูแลตนเอง/ทารกในครรภ์ของหญิงตั้งครรภ์ ตั้งแต่ปี 2545 ปรับปรุง วิธีการให้ความรู้กับหญิงตั้งครรภ์เพื่อให้สามารถดูแลตนเองได้ถูกต้อง มี....กระบวนการสอนตามหลักสูตรโรงเรียนพ่อแม่ เน้นการมา ฝากครรภ์ตั้งแต่ระยะแรก (Early ANC) การฝากครรภ์ครบตามเกณฑ์ (เน้นกิจกรรมคุณภาพในการฝากครรภ์ในแต่ละครั้ง)

10 ทบทวนการทำงานของหน่วยบริการฯ
- การทำงานเพื่อแก้ไขปัญหาทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อย ของผู้ปฏิบัติงานในพื้นที่ขาดความจริงจัง ต่อเนื่อง - ส่วนใหญ่ทำงานเฉพาะในภาคส่วนสาธารณสุข - การคืนข้อมูล เพื่อให้ ประชาชน/ชุมชน ทราบถึง สถานการณ์ปัญหา มีค่อนข้างน้อย - ประชาชน และชุมชน ขาดการมีส่วนร่วมในการ แก้ไขปัญหา - การทำงานขาดการกำกับติดตามประเมินผลฯ ที่ชัดเจน

11 ผลการพัฒนาศักยภาพของ รพ
ผลการพัฒนาศักยภาพของ รพ.และการผ่านการรับรองมาตรฐาน บริการอนามัยแม่และเด็กเขตสุขภาพที่ 10 (ปีงบฯ 2559) จำนวนโรงพยาบาล จังหวัด จำนวนทั้งหมด จำนวนที่ผ่านมาตรฐาน (แห่ง) ร้อยละ อุบลราชธานี 22 100.0 ศรีสะเกษ 20 อำนาจเจริญ 7 ยโสธร 9 มุกดาหาร รวมทั้งเขต 65

12 การเข้าถึงบริการของหญิงตั้งครรภ์ เขตสุขภาพที่ 10 ปีงบประมาณ 2555 - 2559
%

13 การฝากครรภ์ครั้งแรกก่อน 12 wks แยกรายจังหวัดปีงบฯ 2557
ร้อยละ ที่มา : รายงาน ก-2

14

15 ร้อยละหญิงคลอดที่อายุน้อยกว่า 20 ปี เขตสุขภาพที่ 10
ปีงบประมาณ ร้อยละ ที่มา : ระบบรายงาน ก2 plus ศูนย์อนามัยที่ 7 อุบลราชธานี

16

17 จากบทเรียน สู่ : การจัดการปัญหาฯ

18 จากบทเรียน สู่ : การจัดการปัญหา LBW
อำเภอบ้านม่วง (รพ.ที่มีสูติแพทย์) - มีการจัดระบบดูแลหญิงตั้งครรภ์ที่ได้มาตรฐานและระบบการส่งต่อที่มีประสิทธิภาพทั้งในโรงพยาบาล และโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล - โรงพยาบาลมีการให้บริการแบบ one-stop-service ที่เอื้อต่อการดูแลสุขภาพของหญิงตั้งครรภ์ - มีระบบการทำงานที่เป็นภาคีเครือข่าย เกื้อหนุนซึ่งกันและกัน ระหว่างโรงพยาบาล /รพ.สต./อสม.และชมรมแม่อาสา - มีสูติแพทย์ที่เป็นผู้บริหาร และ คอย monitor/ ปรับ CPG ให้เหมาะสม ทำให้สามารถดูแลหญิงตั้งครรภ์ได้ครบในทุกกระบวนการได้เอง - ไม่เปลี่ยนคนทำงานบ่อย ทำให้เข้าใจปัญหา ไม่ต้องเสียเวลาในการเรียนรู้ใหม่ และพัฒนางานได้อย่างต่อเนื่อง

19 จากบทเรียน สู่ : การจัดการปัญหา LBW
อำเภอโพนนาแก้ว/บ้านแพง (รพ.ที่ไม่มีสูติแพทย์) - ผู้บริหารให้การสนับสนุนและใจกว้างในการบริหารจัดงบประมาณ ที่เอื้อให้หญิงตั้งครรภ์ได้รับบริการที่ดี (จัดซื้อยาวิตามินที่แม้จะราคาแพง) และได้ครบตามมาตรฐาน(การตามจ่ายกรณีไปฝากครรภ์ต่อที่อื่น) - มีแกนหลักที่มีความเข้าใจในหลักการแกไขปัญหา สามารถนำข้อมูลไปใช้ประโยชน์ได้อย่างจริงจัง มีศักยภาพในการประสานงานในภาพรวมทั้งอำเภอ แม้ว่าจะมีเพียงแพทย์ ใช้ทุนในการร่วมปฏิบัติงาน - มีการบริหารบุคคลที่ดี โดยเฉพาะการกระจายบุคลากรที่เอื้อต่อการให้บริการอนามัยแม่และเด็ก โดยจัดให้มีพยาบาลอยู่ประจำครบทุก รพ.สต และมีกระบวนการพัฒนาศักยภาพบุคลากร โดยการให้ทำงานหมุนเวียนที่โรงพยาบาลก่อนออกไปอยู่ รพ.สต - มีทีมพี่เลี้ยงดี/มีระบบ consult ที่ดีระหว่างโรงพยาบาลจังหวัด และโรงพยาบาลชุมชน“ไม่ว่าเราจะส่ง case อะไรไปให้ พี่เลี้ยงเขาจะ comment กลับมา และให้แนวทางในการดูแล หรือโทรประสานได้โดยตรง

20 จากบทเรียน สู่ : การจัดการปัญหา LBW
ควรมุ่งเน้นเพื่อแก้ไขปัญหา ใน 2 กลุ่มเป้าหมาย ที่สำคัญ คือ (1) คู่สมรสก่อนการตั้งครรภ์ และ (2) หญิงตั้งครรภ์ เพื่อให้เกิดผลลัพธ์ใน 2 กลุ่มนี้ คือ ก่อนตั้งครรภ์ เพิ่มให้มีน้ำหนักก่อนตั้งครรภ์ / แม่อายุน้อย/แม่ตัวเล็ก (เชิงรุก) ขณะตั้งครรภ์ ดูแลการเพิ่มน้ำหนัก ในช่วงอายุครรภ์ 20 , 28 , 36 wk. (Balance protein / energy supplement) ดูแลสารอาหาร/โภชนาการ เพื่อลดภาวะซีด/ป้องกันภาวะแทรกซ้อน (เหล็ก 60 mg, โฟลิก 400 mg,สังกะสี 15 mg)

21 ข้อเสนอแนะการดำเนินงานเพื่อลดปัญหา LBW ของบุคลากรสาธารณสุข
งานเชิงรุกในชุมชน(ลดตั้งครรภ์วัยรุ่น/ลดทุพโภชนาการ ก่อนการตั้งครรภ์/ขณะตั้งครรภ์ กลุ่มที่ตั้งครรภ์แล้ว ก่อนแต่งงาน/ก่อนตั้งครรภ์ 1.ผลักดันให้ชุมชน/ท้องถิ่นมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพหญิงวัยเจริญพันธุ์ด้านโภชนาการโดยใช้งบกองทุนสุขภาพตำบล/งบท้องถิ่น ( เฝ้าระวังโภชนาการ/สนับสนุนอาหารเสริม) อสม.ให้ความรู้อาหาร/คุมกำเนิด/ท้อง ไม่พร้อม 3.จนท.เยี่ยมบ้านก่อนแต่งงานให้คำแนะนำFP/Nutrition และแนะนำเข้ารับบริการในคลินิกเตรียมความพร้อมก่อนตั้งครรภ์ ให้ความรู้เรื่องเพศศึกษาใน รร.มัธยม/วัยรุ่น อสม.ค้นหาหญิงตั้งครรภ์รายใหม่ให้รีบมาฝากครรภ์เร็ว/การมาฝากครรภ์ต่อเนื่องตามนัดทุกครั้ง ผลักดันการสนับสนุนอาหารเสริมเพื่อเสริมโภชนาการแก่หญิงตั้งครรภ์ที่ นน.น้อย ของ อปท. 3. อสม.เฝ้าระวังสุขภาพหญิงตั้งครรภ์ในชุมชน (การวัด BP/การเยี่ยมบ้านเพื่อแนะนำเรื่องอาหารพฤติกรรมที่ไม่ถูกต้อง/สอนเรื่องการนับลูกดิ้น)

22 ข้อเสนอแนะการดำเนินงานเพื่อลดปัญหา LBW ของบุคลากรสาธารณสุข
งานตั้งรับในสถานบริการ(ลดตั้งครรภ์วัยรุ่น/ลดทุพโภชนาการก่อนการตั้งครรภ์/ขณะตั้งครรภ์ กลุ่มที่ตั้งครรภ์แล้ว ก่อนแต่งงาน/ก่อนตั้งครรภ์ จัดตั้งคลินิกเตรียมความพร้อมก่อนสมรส/ก่อนตั้งครรภ์ บูรณาการงานร่วมกับคลินิกวัยรุ่น จัดทำ package ง่ายๆในการปฏิบัติงานในชุมชน สำหรับ อสม จัดระบบการจัดเก็บข้อมูลเพื่อวิเคราะห์กลุ่มเสี่ยงที่จะตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ / หญิงที่มีน้ำหนักตัวน้อย มีระบบการคัดกรองและ CPG ดูแลหญิงตั้งครรภ์และปฏบัติอย่างเคร่งครัด มีอุปกรณ์พร้อม/เหมาะสมสำหรับบริการในสถานบริการแต่ละระดับ มีแนวทางการส่งต่อที่ชัดเจนเพื่อส่งต่อหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยงทุกประเด็น - มีระบบการประเมินการปฏิบัติตาม CPG ของหน่วยบริการในเครือข่าย และ feed back เพื่อการปรับปรุง

23 ขั้นตอนการให้บริการเพื่อลด LBW
เมื่อมา ANC ครั้งแรก ขั้นตอนการให้บริการเพื่อลด LBW ซักประวัติ / คัดกรองความเสี่ยง - ฝากครรภ์เร็ว - ถือเป็น high risk ดูแลและเฝ้าระวังอย่างใกล้ชิด - ส่งพบแพทย์ตามระบบอย่างเหมาะสม พบเป็นกลุ่มteen-age/Elderly/G1/ Previous child LBW/ Maternal mal-nutrition - ประสานชุมชน/อปท.อื่นๆ ช่วยเหลือ - เยี่ยมบ้านเป็นกรณีพิเศษเพื่อสนับสนุนครอบครัวมีส่วนร่วมช่วยแก้ไขปัญหา - ส่งพบพยาบาลจิตเวชเพื่อให้การปรึกษา พบเป็นกลุ่ม ที่ฐานะไม่ดี /การศึกษาไม่ดี/เครียด/ทำงานหนัก - ให้บริการปรึกษา/ โรงเรียนพ่อแม่ คัดกรองโภชนาการ (เส้นทางลูกรัก Vallop curve) แนะนำอาหารทดแทน/อาหารเสริม/วิตามินที่ครบถ้วนตามมาตรฐาน - ส่งพบแพทย์เพื่อดูแลต่อที่ รพ. พบเป็นกลุ่มที่มีภาวะเสี่ยงต่อ LBW (ดื่มสุรา/สูบบุหรี่/น้ำหนักไม่เพิ่ม/ได้รับอาหารไม่พอ/มีโรคเสี่ยง เช่น BP สูง/DM/Thyriod/Heart/โรคไต/มาลาเรีย ฯลฯ)

24 ขั้นตอนการให้บริการ เพื่อลด LBW
เมื่อมา ANC ต่อเนื่อง - ให้คำแนะนำเรื่องการกินอาหารหรือให้ยาตามคำแนะนำของแพทย์ - ส่งพบแพทย์เพื่อพิจารณาทำ U/S และดูแลตามความผิดปกติที่พบหรืออาจพิจารณารับไว้ดูแลใน รพ. - ส่งต่อเพื่อพบแพทย์เฉพาะทางตามระบบอย่างเหมาะสมเพื่อให้การดูแลเป็นทีมสหสาขาฯ พบมีภาวะแทรกซ้อน เช่น คลื่นไส้อาเจียนมาก/ครรภ์แฝด/เลือดออกผิดปกติ/ครรภ์เป็นพิษ/เจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนด - พบแพทย์เพื่อยืนยันอายุครรภ์(ก่อน 20wks) และวินิจฉัย IUGR - ส่งพบนักโภชนาการหรือพยาบาลที่มีความรู้ด้านอาหาร/โภชนาการเพื่อให้คำแนะนำที่เหมาะสมและให้อาหารเสริม (แคลอรี่สูง/สารอาหารโปรตีนที่สมดุล)/ให้วิตามินเสริมที่ครบตามมาตรฐาน พบน้ำหนักไม่เพิ่ม/ได้รับอาหารไม่พอ / (นน.เพิ่มน้อยกว่า 0.5 kg/wksในไตรมาส 2,3 หรือ size<date) ประสาน อสม.ให้ติดตาม/ออกเยี่ยมบ้านเพื่อสอบถามสาเหตุ/ให้การช่วยเหลือ ประสานครอบครัว/ชุมชนเพื่อให้มีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหา พบไม่มาฝากครรภ์ตามนัด หรือกลุ่มที่ฝากครรภ์ไม่ครบตามเกณฑ์

25 กรอบการจัดการปัญหา LBW แบบมืออาชีพ
1.รวบรวม/วิเคราะห์ ปัญหากลุ่มเสี่ยงรายบุคคล (คู่สมรส/หญิงตั้งครรภ์) 5.สร้างระบบการติดตามดูแล อย่างต่อเนื่อง 2.กำหนดและสร้างทีมงานเพื่อดูแล กลุ่มเสี่ยง 5 ขั้นตอน 4.จัดระบบการดูแลกลุ่มเสี่ยง ในสถานบริการ/การส่งต่อ 3. จัดระบบเชิงรุกเพื่อการ เข้าถึงบริการ

26 “การจัดการปัญหา LBW ระยะก่อนการตั้งครรภ์”
ได้แก่ คู่สมรสที่ยังไม่ตั้งครรภ์ ในหลังคาเรือนที่รับผิดชอบ อสม : แบบฟอร็มสำหรับ อสม. ในการค้นหาและคัดกรองกลุ่มเสี่ยง เป้าหมาย : คัดกรองกลุ่มเป้าหมายเสี่ยง ใน 3 ประเด็น - ด้านสุขภาพ ได้แก่ ปัจจัยเสี่ยงต่อLBW (ความสูงอายุ/ ประวัติการมีบุตร/การมีโรคประจำตัว)และการ ประเมินภาวะโภชนาการ - ด้านจิตสังคม ได้แก่ ประเมินความต้องการมีบุตรภาย 1 ปีและการเตรียมตัวก่อนมีบุตร - ด้านอื่นๆ ได้แก่ รายได้ อาชีพ/ลักษณะงานที่ทำ/ การพักผ่อน ไม่มีข้อใดเสี่ยง อสม ส่ง คู่สมรสเสี่ยงไปแก้ไขปัญหาที่ … รพ.สต. (Case management unit) อสม : เยี่ยมบ้านให้คำแนะนำคู่สมรสไปเตรียมตัวก่อนตั้งครรภ์ที่...คลินิกเตรียมความพร้อมก่อนการตั้งครรภ์ที่ รพช. พบมีความเสี่ยง

27 อสม.ทำการค้นหาและคัดกรองคู่สมรส
เป้าหมาย : ท้องถิ่น/ชุมชน/ครอบครัว มีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหา กลุ่มเสี่ยงฯ (ใช้งบประมาณในพื้นที่/กองทุนสุขภาพตำบล) : เป้าหมายกลุ่มเสี่ยง ได้รับคำแนะนำในการปฏิบัติตัว เพื่อให้ มีพฤติกรรมที่ถูกต้อง มีภาวะสุขภาพกายและจิตใจที่พร้อม สำหรับการมีบุตร อสม.ทำการค้นหาและคัดกรองคู่สมรส ที่เสี่ยงจะเป็นหญิงตั้งครรภ์ที่จะมีบุตรแรกเกิดน้ำหนักน้อย Case management unit (รพ.สต.) : Case manager มีหน้าที่ - แกนนำหลักในการจัดระบบเครือข่ายเชิงรุกเพื่อให้คู่สมรสเสี่ยงได้รับการแก้ไข ปัญหาอย่างครอบคลุม จัดระบบบริการใน รพ.สต. หรือ จัดระบบการส่งต่อ กรณีเกินขีดความสามารถ เป็น Center หลักในการประสานงาน/ติดตามประเมินผล หรือ ประสานขอ ความร่วมมือหรือความช่วยเหลือจากหน่วยงานอื่นมาช่วยแก้ไขปัญหา เช่น อบต/เทศบาล/ครอบครัว ชุมชน หรือหน่วยงานภาคีเครือข่ายอื่น (เกษตร พัฒนาชุมชน ฯลฯ)

28 ทีมงาน ควรจะประกอบด้วย :
1. Case manager ซึ่งอยู่ใน Case management unit (รพ.สต.) มีหน้าที่ จัดระบบบริการใน รพ.สต.ทั้งในเชิงรับ/เชิงรุก เป็น Center หลักในการประสานงานหรือส่งต่อ กรณีเกินขีดความสามารถ หรือ ประสานขอความร่วมมือหรือความช่วยเหลือจากหน่วยงานอื่นมาช่วยแก้ไขปัญหา เช่น อบต/เทศบาล/ครอบครัว ชุมชน หน่วยงานภาคีเครือข่ายอื่น (เกษตร พัฒนาชุมชน) 2. อสม. มีหน้าที่ ในการค้นหาและคัดกรองคู่สมรสเสี่ยงจะเป็น หญิงตั้งครรภ์ที่จะมีบุตรน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม อื่น ๆ ตามความเหมาะสม เช่น ชมรมแม่อาสา ชมรมผู้สูงอายุ (พิจารณาตามบริบท)

29 ระบบบริการเชิงรุกเพื่อการดูแลระยะก่อนตั้งครรภ์
เป้าหมาย : มีจุดแรกรับ : Case management unit โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล : รพ.สต....กำหนดวันให้บริการปรึกษาฯ อสม.ส่งต่อคู่สมรสที่เป็น กลุ่มเสี่ยง …. ไปที่ รพ.สต.ในวัน....? (ควรสอดคล้องกับบริการคลินิกเตรียมพร้อมก่อนตั้งครรภ์ของรพช.) อสม. อสม. อสม. อสม. อสม. ประสาน/เชื่อมโยงกับภาคีเครือข่ายอื่นๆ เพื่อความร่วมมือ ในการกำหนดแนวทางการช่วยเหลือ/แก้ไขปัญหาคู่สมรสเสี่ยงในชุมชน

30 การจัดระบบบริการในสถานบริการเพื่อการดูและระยะก่อนตั้งครรภ์
กำหนดวันให้บริการ มีจุดแรกรับ : Case management unit (ใน รพ.สต.) วางแผนช่วยเหลือ/ประสานหน่วยงานอื่น/ครอบครัว คัดกรองความเสี่ยงซ้ำในทั้ง 3 ด้าน - ด้านสุขภาพ - ด้านจิตสังคม - ด้านอื่นๆ พบปัจจัยเสี่ยงด้านอื่น ๆ ได้แก่ - รายได้/อาชีพ/ ลักษณะงาน/พักผ่อนน้อย พบปัจจัยเสี่ยงด้านจิตสังคม ความพร้อมของครอบครัว ระยะเวลาที่ต้องการมีบุตร (ต้องการมีบุตรภายใน 6 เดือน พบปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ อายุน้อย/มาก - เป็นบุตรคนแรก - มีโรคประจำตัว BMI น้อยหรือมากกว่า เกณฑ์ ได้รับสารอาหารไม่พอ ให้การปรึกษา/เยี่ยมบ้าน ส่งต่อเข้าคลินิกเตรียมพร้อมก่อนตั้งครรภ์ใน รพช.

31 คู่สมรสที่ยังไม่ตั้งครรภ์ในเดือนนี้
แบบค้นหาและคัดกรองในคู่สมรสกลุ่มเสี่ยงที่จะส่งผลให้เกิดการตั้งครรภ์ บุตรคลอดออกมามีน้ำหนักแรกเกิดน้อยกว่า 2,500 กรัม สำหรับ อสม.ชื่อ จำนวนบ้านที่รับผิดชอบ หลังคาเรือน ประจำเดือน ปี พ.ศ คู่สมรสที่ยังไม่ตั้งครรภ์ในเดือนนี้ นาง……………..………………อายุ ปี ส่วนสูง ซม น้ำหนัก กก. บุตรคนก่อนแรกเกิดน้ำหนัก กรัม ปัจจุบันทำงานอะไร มีรายได้ บาท/เดือน สามีชื่อ อายุ ปี ปัจจุบันทำงานอะไร มีรายได้ บาท/เดือน ปัจจุบัน คุมกำเนิดอะไร ( ) ไม่ได้คุมกำเนิด ( ) คุมกำเนิด คือ ( ) กินยาคุม ( ) ฉีดยาคุม ( ) ใช้ถุงยาง ( ) อื่นๆระบุ ครอบครัวตั้งใจจะท้อง ในอีก เดือนข้างหน้า สรุปว่า ( ) เสี่ยง ( ) ไม่เสี่ยง ผลการประเมินความเสี่ยง ( ) ภรรยาอายุน้อยกว่า 20 ปี ( ) ภรรยาเป็นโรคหัวใจ ( ) ภรรยาเป็นโรคเบาหวาน ( ) ภรรยาเป็นโรคคอพอกเป็นพิษ ( ) ภรรยาเป็นโรคความดันโลหิตสูง ( ) ภรรยาเป็นโรคแพ้ภูมิตนเอง (เอสแอลอี) ( ) ส่วนสูงน้อยกว่า 145 ซม ( ) น้ำหนักน้อยกว่า (ส่วนสูง ลบด้วย 110) ( ) บุตรคนก่อนน้ำหนักแรกเกิดน้อยกว่า 2,500 กรัม ( ) ตั้งใจท้องภายใน 1 ปี ( ) ครอบครัว (ทั้งสามีและภรรยา รายได้น้อย หรือยากจน) ถ้ามี / เพียง 1 ข้อ ถือว่ามีความเสี่ยง ต้องส่งต่อไปให้ รพ.สต.คัดกรองซ้ำ เพื่อให้การดูแลต่อ

32 ให้บริการแบบรายกรณี (Case management)
เมื่อตั้งครรภ์...เข้าสู่ระบบบริการ ฝากครรภ์ที่เร็ว...จะได้รับบริการตามมาตรฐาน ของแต่ละ รพช/รพ.สต. ของแต่ละ CUP ให้บริการแบบรายกรณี (Case management)

33 ก่อนแต่งงาน/ก่อนตั้งครรภ์ ได้รับการดูแลตามแนวทางข้างต้น
กลุ่มที่ตั้งครรภ์ ได้รับการดูแลตามแนวทางข้างต้น LOW BIRTH WEIGTH ลดลง...ตามเป้าหมาย

34 เพิ่มไอคิว – สร้างเด็กฉลาด - สร้างชาติ
IQ-- เพิ่มไอคิว – สร้างเด็กฉลาด - สร้างชาติ ปัจจัยปัญหา IQ เด็กไทย สธ อปท จัดระบบบริการที่ได้มาตรฐาน สนับสนุนยาวิตามินเสริมธาตุเหล็ก ไอโอดีน ให้ความรู้ สร้างความเข้าใจ ผู้หญิงซีด -วัยเจริญพันธุ์ 25.3% -หญิงตั้งครรภ์30.7% แรกเกิดน้ำหนักน้อย 30.7% เลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียว 6 ด. ต่ำ 12.3% ผู้ดูแลไม่ใช่พ่อแม่ 36.6% ใช้สื่อ IT กับเด็ก 77.7% สนับสนุนครอบครัว ชุมชน ให้ได้รับนม ไข่ อาหารพอเพียง Integrated collaboration การศึกษาแม่ ประถมฯ/ต่ำกว่า23.38% การศึกษาผู้ดูแล ประถมฯ/ต่ำกว่า 51.4% เด็ก 2-18 ปี ที่ค่อนข้างเตี้ยและเตี้ย มีระดับสติปัญญา ต่ำกว่า เด็กที่มีส่วนสูงระดับดี ประมาณ 6 จุด IQ-- Intergeneration effects เด็กปฐมวัย วัยเรียน วัยรุ่น วัยผู้ใหญ่ วัยชรา เชาว์ปัญญาต่ำ วัยรุ่นเตี้ย เรียนรู้บกพร่อง ตัวเตี้ย ขาดสารอาหาร ตั้งครรภ์ไม่มีคุณภาพ ทุพโภชนาการ เด็กปฐมวัยเตี้ย 16.3% เด็กปฐมวัยผอม 6.7% เด็กปฐมวัยอ้วน 10.9% folic เด็กที่ขาดอาหารเป็นเวลานาน ส่งผลกระทบถึงคน 4 ช่วงอายุ BA:24.76 TSH 4.5% Urine iodine 65% ได้รับยา ธาตุเหล็ก 20.3 %

35 กรดโฟลิก พลิกชีวิตเด็กไทย ?
Folic acid กรดโฟลิก พลิกชีวิตเด็กไทย ? กรดโฟลิก ทำไมจึงสำคัญ สร้างระบบประสาทและไขสันหลัง ป้องกันหลอดประสาทไม่ปิด (NTD) ป้องกันมารดาและหญิงตั้งครรภ์คลอดบุตรเป็นกลุ่มอาการดาวน์ ป้องกันการเจริญ เติบโตของทารก ในครรภ์ล้มเหลว (Fetal growth retardation),LBW, Preterm, Neonatal folate deficiency Folic ป้องกันความพิการแต่กำเนิด ได้แก่ หัวใจพิการแต่กำเนิด Omphalocele ปากแหว่งเพดานโหว่ Orofacial clefting พิการแต่กำเนิดของระบบทางเดินปัสสาวะ ลดความเสี่ยงโรคเรื้อรัง เช่น ระบบไหลเวียนโลหิต ความดันโลหิตสูง Cerebrovascular disease และ Cognitive dysfunction มีความสำคัญในการสังเคราะห์ DNA และการแบ่งตัวของ cell

36 เลี้ยงลูกด้วยนมแม่ : กุญแจสู่ “พัฒนาการดี” อย่างยั่งยืน
Increase cognitive development + better IQ BF 3 mo.>IQ 2.1 score BF 4-6 mo.>IQ 2.6 score BF 6 mo.>IQ 3.8 score Better IQ Love & Cuddle hormone Close attachment Promote feeling of trust and confidence Oxytocin The most effective >>Mother Protects maternal health Reduce maternal mortality from PPH Reduce the risk of breast and ovarian cancers Save in formula milk costs (≈4,000 bath./mo.) >>Child Improve the lives of children Micronutrient > 200 types Save in healthcare costs by reducing hospital admissions for infectious diseases (≈21million bath.) Increase human capita and stimulate economic growth (≈5,760 million bath.) Cost-effective >>Socioeconomic Brain development : Omega3 , DHA , Lactase Increase immune system

37 ศูนย์อนามัยที่ 10 อุบลราชธานี
สวัสดีค่ะ


ดาวน์โหลด ppt แนวคิด : “การจัดการปัญหา LBW แบบมืออาชีพ”

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google