งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

โรคจากยุงพาหะ โรคไข้เลือดออก ยุงพาหะนำโรค การป้องกันควบคุมโรค

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "โรคจากยุงพาหะ โรคไข้เลือดออก ยุงพาหะนำโรค การป้องกันควบคุมโรค"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 โรคจากยุงพาหะ โรคไข้เลือดออก ยุงพาหะนำโรค การป้องกันควบคุมโรค
รุจิรา เลิศพร้อม นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ สำนักงานป้องกันควบคุมโรค จังหวัดสระบุรี กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข

2

3

4

5

6

7

8

9

10

11

12

13

14

15

16

17

18

19

20

21

22

23

24

25

26

27

28

29

30

31

32

33

34

35

36

37

38

39 การแพร่เชื้อ Dengue virus
ยุงมีเชื้อตลอด 1- 2 เดือน ไวรัสในกระแสโลหิต ระยะฟักตัวในยุง วัน กัดเด็กหรือผู้ใหญ่ คนไข้ ขณะมีไข้สูง ระยะฟักตัวในคน วัน (3-15 วัน)

40 Transmission of Dengue Virus by Aedes aegypti
Mosquito feeds / Mosquito refeeds / acquires virus transmits virus Extrinsic incubation period Intrinsic incubation period Viremia Viremia 5 8 12 16 20 24 28 Days Illness Illness Human #1 Human #2 5

41 กลุ่มอาการจากการติดเชื้อไวรัสเด็งกี่

42 Disease Spectrum Donald S. Shepard Vaccine 22 (2004) 1275–1280

43 อาการไข้เลือดออก (1) ไข้สูงเฉียบพลันและสูงลอย 2-7 วัน ส่วนใหญ่สูงเกิน
38.5 เซลเซียส ปวดเมื่อยตามตัว ปวดหัว  ปวดหลัง หน้าแดง ซึม คลื่นไส้ เบื่ออาหาร มักไม่มีไอ จาม น้ำมูกไหล (ช่วยแยกจากไข้หวัดใหญ่ได้บ้าง)

44 อาการไข้เลือดออก (2) มีเลือดออกผิดปกติ เช่น จุดเลือดออกสีแดงที่ผิวหนัง
ตามตัว/แขน/ขา อาจอาเจียนเป็นเลือดหรืออุจจาระเป็นสีดำ ตับโต พบได้ในวันที่ 3 หรือ 4 นับจากเริ่มป่วย ตับจะนุ่ม และกดเจ็บ ตัวเย็น ช็อก ถึงเสียชีวิตได้ (ช็อก หมายถึง การไหลเวียนโลหิตล้มเหลว)

45 การรักษาโรคไข้เลือดออก
ไม่มียาต้านไวรัส หากมีอาการสงสัยว่าเป็นโรคไข้เลือดออก ต้องรีบไปโรงพยาบาลทันที “ห้ามให้ยาลดไข้ แอสไพริน, ไอบรูโพเฟน เพราะจะไปทำให้มีอาการเลือดออกเพิ่มมากขึ้น”

46 X โรคจากพาหะยุงลาย มียุงลายเป็นพาหะนำโรค วัคซีนป้องกันโรคไข้เลือดออก
ยังอยู่ระหว่างการพัฒนา ไม่มียาต้านไวรัส X ควบคุมยุงลายและลูกน้ำ

47 ชีวนิสัยของยุงลาย หลังกินเลือด 2-3 วัน วางไข่ ชอบวางไข่ในตอนบ่ายๆ
ออกหากินในเวลากลางวัน น. หากินไม่ไกลจากแหล่งเพาะพันธุ์ บินไปไม่เกิน 50 เมตร ชอบเกาะพักตามสิ่งห้อยแขวนต่างๆ ยุงลายตัวเมียกินเลือดประมาณ 3-4 วัน/ครั้ง หลังกินเลือด 2-3 วัน วางไข่ ชอบวางไข่ในตอนบ่ายๆ ไม่ชอบแสงและลมแรง ยุงลายบ้านชอบกัดคนในบ้าน ยุงลายสวนชอบกินเลือดสัตว์ และคนนอกบ้าน มีอายุประมาณ 1-2 เดือน

48 วงจรชีวิตของยุงลาย ไข่ยุงลาย ยุงลาย ลูกน้ำ ตัวโม่ง ใช้เวลาย่อยเลือด
1-2 วัน ใช้เวลาย่อยเลือด 4-5 วัน ลูกน้ำ 7-10 วัน ยุงลาย ตัวโม่ง 1-2 วัน อายุขัยของยุง ตัวผู้ 1 สัปดาห์ ตัวเมีย 4-6 สัปดาห์

49 การควบคุมยุงพาหะนำโรค
ป้องกันตนเอง -ใช้มุ้ง -ติดมุ้งลวด -สวมเสื้อผ้า -ยาจุด -ทากันยุง ควบคุมตัวยุง -พ่นสารเคมี -ชุบมุ้ง ตัวแก่ ควบคุมระยะที่อยู่ในน้ำ - ลดแหล่งเพาะพันธุ์ - กับดัก - สารเคมี - ตัวห้ำ - ตัวเบียน ตัวโม่ง ลูกน้ำ ไข่

50 วัตถุประสงค์ของการควบคุมยุงพาหะนำโรค
ลดประชากรพาหะ ลดอายุขัยพาหะ ลดการสัมผัสระหว่างยุงพาหะกับคน ลดการแพร่เชื้อโรค

51 วางไข่ตามภาชนะที่มีน้ำสะอาด
ยุงลายชอบวางไข่ที่ใด น้ำสะอาด ยุงลายบ้านร้อยละ วางไข่ตามภาชนะที่มีน้ำสะอาด น้ำสกปรก

52 แหล่งเพาะพันธุ์ของยุงลาย

53 แหล่งเพาะพันธุ์ของยุงลาย

54 แหล่งเพาะพันธุ์ของยุงลาย

55 แหล่งเพาะพันธุ์ของยุงลาย

56 แหล่งเพาะพันธุ์ของยุงลาย

57 มาตรการเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก
1. สร้างระบบเฝ้าระวังโรคให้เข้มแข็งในพื้นที่ - เตรียมคน อุปกรณ์ (สารเคมี, เครื่องพ่น) - การค้นหาและรักษาผู้ป่วยอย่างฉับไว - ระบบรายงาน/สอบสวน/ควบคุมโรค ที่รวดเร็วมีประสิทธิภาพ - เร่งรัดในการทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย 2. สร้างระบบการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายและชุมชน 2.1 การสนับสนุนการป้องกันโรคไข้เลือดออกผ่านกระบวนการจัดการพาหะนำโรคแบบบูรณาการ (IVM- Integrate vector management) 2.2. การใช้ประชาคม เพื่อสร้างความเข้มแข็งการป้องกันโรค /บ้านปลอดลูกน้ำยุงลายอย่างจริงจังต่อเนื่อง - รณรงค์กำจัดภาชนะที่มีศักยภาพในการขังน้ำอันจะเป็นแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายใน/นอกบ้าน ชุมชน เช่น สนับสนุนให้มีโครงการบ้านสะอาดน่าอยู่ทุกสัปดาห์หรือทุกเดือน - รวมทั้งสนับสนุนให้หน่วยงานท้องถิ่นเกิดความตระหนักในการเก็บกวาดล้างวัสดุ และกองขยะที่อาจเป็นแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย 3. มีระบบติดตามกำกับประเมินผลในพื้นที่

58 ปัจจัยในความสำเร็จในการควบคุมโรคไข้เลือดออก (พ่นสารเคมี)
ขนาดเม็ดน้ำยา จำนวนเม็ดน้ำยา คุณสมบัติสารเคมี เครื่องพ่นสารเคมี เทคนิคการพ่นสารเคมี พาหะ ความไวสารเคมี เวลาหากิน % ความสำเร็จ เวลาและโอกาสในการสัมผัสสารเคมี สิ่งแวดล้อม - ลม - อุณหภูมิ % การลดจำนวนป่วย

59 ทบทวนมาตรการควบคุมยุงพาหะนำโรคไข้เลือดออก
การควบคุมยุงตัวเต็มวัย ยุงลายบ้านต้านทานต่อไพรีทรอยด์ชนิด Permethrin ระดับสูงทุกภูมิภาคของประเทศไทย ควรหลีกเลี่ยงการใช้สารเคมีชนิดนี้เพื่อควบคุมยุงลาย สารเคมีไพรีทรอยด์ชนิด อื่น เช่น Deltamethrin, cyfluthrin, lambdacyhalothrin ยุงลายบ้านมีการต้านทานระดับต่ำหรือระดับปานกลาง สารกำจัดแมลงชนิดอื่น เช่น กลุ่มออร์การ์โนฟอสเฟต และคาร์บาเมต ยุงลายบ้านมีการต้านทานระดับต่ำหรือระดับปานกลาง นอกจากนั้นผลข้างเคียงขณะพ่นประชาชนมักบ่นว่ากลิ่นเหม็นรุนแรง การใช้มาตรการเสริม เช่น สารซักล้าง ปีบดักยุง หรือเครื่องดักยุง ยังมีปัญหาในการนำมาปฏิบัติมาก การใช้ไม้ตียุงไฟฟ้า เพื่อกำจัดยุงในบ้านเรือนยังมีความเหมาะสมที่จะนำมาใช้ควบคุมตัวเต็มวัย ซึ่งได้ประโยชน์ทั้งการกำจัดยุงและป้องกันตนเอง ข้อเสนอ สมควรกำหนดแนวทางการใช้สารเคมีควบคุมตัวเต็มวัย ควรใช้สารไพรีทรอยด์ชนิดอื่นนอกเหนือจาก permethrin ผสมด้วยสารเสริมฤทธิ์ เช่น Piperonyl butoxide (PBO) เพื่อการควบคุมโรค สำหรับการใช้ไม้ตียุงไฟฟ้าควรสนับสนุนให้ประชาชนนำมาใช้กำจัดยุงในบ้านเรือน

60 ทบทวนมาตรการควบคุมยุงพาหะนำโรคไข้เลือดออก
การควบคุมลูกน้ำ ทรายเทมีฟอส ยังมีประสิทธิภาพในการควบคุมลูกน้ำยุงลายบ้าน ยังไม่มีรายงานชัดเจนเกี่ยวกับการต้านทานของยุงลายต่อเทมีฟอส การใช้ pyriproxyfen เป็นสารที่มีความปลอดภัยต่อคนและสิ่งแวดล้อม แต่ฤทธิ์คงทนสั้นกว่าทรายเทมีฟอส ราคาสูง นอกจากนั้นจะไม่สามารถฆ่าลูกน้ำได้ทันทีอาจต้องใช้เวลาถีง 5 วันหากใช้กับลูกน้ำ ระยะเกิดใหม่ นอกจากนั้นการใช้เพื่อไม่ให้เกิดผลกระทบต่อน้ำใช้ ต้องใช้รูปแบบทราย ไม่ควรใช้ รูปแบบ Emulsifiable Concentrate (EC) การใช้ภูมิปัญญาชาวบ้าน ได้แก่ ปูนแดง อิฐมอญเผา พบว่าไม่มีประสิทธิภาพในการควบคุมลูกน้ำ การใช้ปลากินลูกน้ำ มีประสิทธิภาพในการกำจัดลูกน้ำได้ดี ต้นทุนต่ำ ควรมีการส่งเสริมเรื่องการยอมรับ การจัดการสิ่งแวดล้อม ในบ้านและรอบ ๆ บ้านไม่ให้เป็นแหล่งเพาะพันธุ์ สามารถลดประชากรยุงลงได้ดี แต่ยังนำไปปฏิบัติค่อนข้างน้อย ต้องมีการกระตุ้นผ่าน รพ.สต. อปท. และ อสม. ทำความเข้าใจกับผู้นำท้องถิ่นและประชาชนในพื้นที่ ข้อเสนอ แนวทางการควบคุมลูกน้ำยังคงใช้การจัดการสิ่งแวดล้อมไม่ให้เป็นแหล่งเพาะพันธุ์ การใช้ปลากินลูกน้ำ หากต้องใช้สารเคมีแนะนำให้ใช้ทรายกำจัดลูกน้ำเทมีฟอส

61 ทบทวนมาตรการควบคุมยุงพาหะนำโรคไข้เลือดออก
การป้องกันตนเอง ยาทากันยุง DEET แนะนำให้ใช้ในเด็กตั้งแต่ 4ปีขึ้นไป ประสิทธิภาพในการป้องกันยุงดี ราคาถูก ยาทากันยุง (IR3535) แนะนำให้ใช้ในเด็กตั้งแต่ 2 ปีขึ้นไป ประสิทธิภาพในการป้องกันยุงดี ราคาแพง ยาทากันยุงที่เป็นสารสกัดจากพืช เช่น ตะไคร้หอม แนะนำให้ใช้ในเด็กตั้งแต่ 2 ปีขึ้นไป ประสิทธิภาพในการป้องกันยุงยังมีความแตกต่างแต่ละผลิตภัณฑ์ ราคาแพง ข้อเสนอควรใช้ยาทากันยุง DEET หรือ IR3535 สำหรับสารสกัดจากพืชควรเป็นทางเลือกสำหรับท้องถิ่น ข้อเสนอ การใช้ยาทากันยุง DEET ยังคงเป็นมาตรการป้องกันตนเองที่ต้องส่งเสริมให้ใช้ในกลุ่มผู้เสี่ยงต่อการสัมผัสยุงอายุ 4 ปีขึ้นไปได้นำไปใช้ หากอายุต่ำกว่า 4 ปีให้นอนในมุ้งหรืออยู่ในห้องที่มีมุ้งลวดและปราศจากยุงลาย

62 Thank you for your attention
SAWASDEE แหล่งที่มา : โดย เพจ หมอหมึกดุ๋ย ekduii/


ดาวน์โหลด ppt โรคจากยุงพาหะ โรคไข้เลือดออก ยุงพาหะนำโรค การป้องกันควบคุมโรค

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google