ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยCecil Poole ได้เปลี่ยน 6 ปีที่แล้ว
1
ไขมัน(Lipid) เป็นสารประกอบอินทรีย์ชนิดหนึ่งที่ประกอบไปด้วยธาตุ คาร์บอน ไฮโดรเจน และ ออกซิเจน สามารถแยกได้เป็นกรดไขมัน และกลีเซอรอล เป็นสารอาหารที่ร่างกายสร้างขึ้นและได้รับจากอาหาร มีหน้าที่ในการให้พลังงานกับร่างกาย ปกป้องเซลล์ และชั้นของผิวหนัง
2
โครงสร้างของไขมัน Phosphatidylcholine (PC)
4
กระบวนการย่อยไขมัน
5
กระบวนการย่อยไขมัน
6
กระบวนการย่อยไขมัน
7
ไขมันจากแหล่งอาหาร ไขมันเป็นสารอาหารที่ให้พลังงานสูง มี 2 สถานะ คือ สภาพที่เป็นของแข็ง หรือเรียกว่าไขมัน(Fat) และสภาพที่เป็นของเหลว หรือที่เรียกว่า น้ำมัน(Oil) แบ่งได้เป็น 3 ประเภทคือ 1. ฟอสโฟไลปิด (Phospholipids) 2. ไตรกลีเซอร์ไรด์(Triglyceride) 3. คอเลสเตอรอล(Cholesterol)
8
ฟอสโฟไลปิดส์ Phospholipids)
ฟอสโฟไลปิดส์ เป็นไขมันในอาหารที่พบเพียงปริมาณ 1-3% เป็นไขมันชนิดที่ร่างกายนำเอาไปใช้เป็นส่วนประกอบของเนื้อเยื่อต่างๆ ในร่างกายเช่น เยื่อบุเซลล์ทุกชนิด เยื่อบุเซลล์สมอง เป็นต้น ในอาหารมีฟอสโฟไลปิดส์ ประมาณ 6-10 ชนิด ที่เป็นที่รู้จักมากคือ เลซิทิน(Lecithin) เป็นฟอสโฟไลปิดชนิด ฟอสฟาทิดิลโคลีน(PC)
9
โครงสร้างของฟอสโฟไลปิดส์
โครงสร้างของฟอสโฟไลปิดส์ มีทั้งส่วนที่เป็นคาร์โบไฮเดรต และไขมัน รวมถึงเกลือแร่อื่นๆ ทำให้ฟอสโฟไลปิดส์เช่น เลซิทินมีส่วนที่ละลายน้ำ และส่วนที่ไม่ละลายน้ำ จึงทำให้ฟอสโฟไลปิดส์เช่นเลซิทิน สามารถจับได้ทั้งส่วนที่ละลายน้ำและละลายในไขมันได้
10
ไตรกลีเซอไรด์(Triglyceride)
ไตรกลีเซอไรด์ เป็นสารเคมีเชิงซ้อนที่มีโมเลกุลขนาดใหญ่ ประกอบด้วยกรดไขมัน 3 โมเลกุลจับอยู่กับกลีเซอรอล น้ำหนักโมเลกุลของไตรกลีเซอไรด์ เกือบทั้งหมดเป็นน้ำหนักของกรดไขมัน โดยคิดเป็น % กรดไขมันที่พบในธรรมชาติสามารถแบ่งได้เป็น 3 กลุ่ม 1. กรดไขมันอิ่มตัว(Saturated fatty acid) 2. กรดไขมันไม่อิ่มตัวหนึ่งตำแหน่ง(Monounsaturated fatty acid) 3. กรดไขมันไม่อิ่มตัวหลายๆตำแหน่ง(Polyunsaturated fatty acid)
11
กรดไขมันอิ่มตัว(Saturated fatty acid)
กรดไขมันอิ่มตัว เป็นกรดไขมันที่ไม่มีพันธะคู่หลงเหลือในโมเลกุลของไขมัน พบมากในน้ำมันมะพร้าว น้ำมันปาล์ม ไขมันจากสัตว์ เช่น นม ครีม ไข่ ชีส เป็นต้น มีลักษณะเป็นของแข็งที่อุณหภูมิห้อง เป็นกรดไขมันชนิดหนึ่งที่ก่อให้เกิด ปัญหาโรคหลอดเลือดและหัวใจ
12
กรดไขมันไม่อิ่มตัวหนึ่งตำแหน่ง(Monounsaturated fatty acid)
กรดไขมันไม่อิ่มตัวหนึ่งตำแหน่ง เป็นกรดไขมันที่มีพันธะคู่หลงเหลือในโมเลกุลของไขมัน 1 ตำแหน่ง พบมากในน้ำมันมะกอก มีลักษณะเป็นของเหลวที่อุณหภูมิห้อง เป็นกรดไขมันชนิดหนึ่งที่ไม่ก่อให้เกิดปัญหาโรคหลอดเลือดและหัวใจ
13
กรดไขมันไม่อิ่มตัวหลายตำแหน่ง(Polyunsaturated fatty acid)
กรดไขมันไม่อิ่มตัวหนึ่งตำแหน่ง เป็นกรดไขมันที่มีพันธะคู่หลงเหลือในโมเลกุลของไขมันมากกว่า 1 ตำแหน่ง พบมากในน้ำมันจากพืช และน้ำมันจากปลา มีลักษณะเป็นของเหลวที่อุณหภูมิห้อง แบ่งได้เป็น 2 กลุ่มใหญ่ คือ
14
ไขมันชนิด ทรานส์(Trans-Fatty acid)
ลักษณะของไขมันที่ไม่อิ่มตัวชนิดหนึ่ง มีลักษณะของโมเลกุลเรียงอย่างทรานส์(เป็นลักษณะทางเคมี) พบเป็นบางส่วนในผลิตภัณฑ์ที่มาจากเนื้อสัตว์ เช่น เนื้อวัว นม เนย เป็นต้น
15
กรดไขมันจำเป็น(Essential fatty acid)
เป็นกรดไขมันที่ร่างกายสร้างเองไม่ได้ ต้องได้รับจากอาหาร มี 2 กลุ่มคือ 1. กรดโอเมกา-3 ที่สำคัญมีอยู่ 3 ชนิด - กรดเอแอลเอ(ALA : Alpha-linolenic acid) พบมากในน้ำมันถั่วเหลือง น้ำมันคาโนล่า - กรดอีพีเอ(EPA:Eicosapentaenoic acid) - กรดดีเอชเอ(DHA:Docosahaxaenoic acid)
16
กรดไขมันจำเป็น (Essential fatty acid) (Non-essential fatty acid)
2. กรดโอเมกา -6 เป็นกรดไขมันที่ได้จากพืช เช่น กรดไลโนเลอิก(Linoleic acid) กรดไขมันไม่จำเป็น (Non-essential fatty acid) กรดไขมันไม่จำเป็น เป็นกรดไขมันที่ร่างกายสามารถสร้างขึ้นได้เอง เช่น กรดโอเมกา-9
17
18:2n – :3n – (กรดไลโนเลอิก) (อัลฟ่า ไลโนเลนิก) 18:3n – :4n – (แกมม่า ไลโนเลนิก) 20:3n – :4n – (ไดโฮโมแกมม่า ไลโนเลนิก) 20:4n – :5n – (อะแรคคิโดนิก) (ไอโคซาเพนทีโนอิก, อีพีเอ) 22:4n – :5n – < 0.8 (อะเดรียนิก) 22:5n – :6n – < 0.5 (โดโคซาเพนทีโนอิก, ดีพีเอ) (โดโคซาเฮกซีโนอิก, ดีเอชเอ)
18
คอเลสเตอรอล(Cholesterol)
เป็นไขมันชนิดหนึ่งที่ได้รับจากอาหารหรือร่างกายสร้าง ขึ้นเอง พบมากใน ไขมันสัตว์
19
หน้าที่ของคอเลสเตอรอล
1. เป็นส่วนประกอบสำคัญของเนื้อเยื่อ 2. มีส่วนสำคัญในการขนส่งไขมัน 3. เป็นสารตั้งต้นที่สำคัญของการผลิตฮอร์โมน 4. ต้องควบคุมให้อยู่ในปริมาณที่เหมาะสม
20
ไลโปโปรตีน(Lipoprotein)
เป็นสารอย่างหนึ่งในร่างกายที่เป็นส่วนประกอบของไขมัน คอเลสเตอรอลและโปรตีน ทำหน้าที่สำคัญในการขนส่งไขมัน ไปสู่ส่วนต่างๆของร่างกาย สามารถเรียกว่าเป็นชนิดของคอเลสเตอรอลได้ แบ่งเป็น 3 ชนิดคือ 1. วีแอลดีแอล (VLDL:Very low density lipoprotein) 2. แอลดีแอล (LDL:Low density lipoprotein) 3. เอชดีแอล (HDL:High density lipoprotein)
21
วีแอลดีแอล(VLDL) เป็นไลโปโปรตีน ชนิดที่มีความหนาแน่นน้อยที่สุด
ทำหน้าที่สำคัญในการขนส่งไตรกลีเซอไรด์ ไปสู่ส่วนต่างๆของร่างกาย เป็นสารตั้งต้นในการสร้างแอลดีแอล
22
แอลดีแอล(LDL) - เป็นไลโปโปรตีน ชนิดที่มีความหนาแน่นน้อย
- ทำหน้าที่สำคัญในการขนส่งคอเลสเตอรอล ไปสู่ส่วนต่างๆของร่างกาย - แหล่งที่สำคัญของแอลดีแอลคือ ไข่แดง หนังเป็ดหนังไก่ หมูสามชั้น - การมีในปริมาณมาก เป็นสาเหตุหนึ่งของการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด
23
เอชดีแอล(HDL) - เป็นไลโปโปรตีน ชนิดที่มีความหนาแน่นสูง
ทำหน้าที่สำคัญในการเก็บกลับคอเลสเตอรอลที่เนื้อเยื่อต่างๆใช้ได้ไม่หมด หรือเก็บส่วนที่ตกค้างในหลอดเลือดเพื่อนำกลับมาที่ตับเพื่อกำจัดออกเป็นน้ำดี หรือเป็นสารตั้งต้นในการสร้างไขมันชนิดอื่นต่อไป
24
เอชดีแอล(HDL) - การมีในปริมาณสูงๆ สามารถลดโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดได้ - การออกกำลังกายน้อย และสูบบุหรี่สามารถลดปริมาณเอชดีแอลได้
25
กระเทียม(Garlic) มีชื่อทางวิทยาศาตร์ว่า
ให้สารไฟโตเคมิคอลหลากหลายชนิดที่มีความเผ็ดร้อน มีกำมะถันเป็นองค์ประกอบ สารสำคัญที่ออกฤทธิ์ อัลลิอิน(Alliin) เป็นสารที่ไม่มีกลิ่นเมื่อนำมาบดหรือทำให้กลีบกระเทียมช้ำจะให้สารอัลลิซิน(Allicin) และสามารถถูกทำลายได้โดยความร้อนจากการปรุงอาหาร
26
กระเทียม(Garlic) สารสำคัญที่ออกฤทธิ์
ไดซัลไฟด์ - เป็นสารที่ช่วยควบคุมระดับคอเลสเตอรอลและไขมันชนิดอื่นๆ เซลิเนียม - เป็นสารต้านอนุมูลอิสระ กำมะถัน - ช่วยป้องกันโรคผิวหนัง บำรุงข้อต่อและกล้ามเนื้อ
27
งานวิจัยประโยชน์ของกระเทียม
1. ลดคอเลสเตอรอล 2. ลดการสร้างลิ่มเลือด 3. ลดความดันโลหิตสูง 4. มะเร็ง 5. เบาหวาน 6. โรคติดเชื้อ
28
ข้อควรระวังในการบริโภคกระเทียม
1. การบริโภคในปริมาณมาก อาจสร้างผลกระทบกับสุขภาพได้ เช่นการเกิดกรดมากในกระเพาะอาหาร 2. ในผู้ที่รับประทานยาแอสไพรินหรือละลายลิ่มเลือด ควรหลีกเลี่ยงการบริโภคกระเทียมในปริมาณมาก 3. ผู้ที่มีความผิดปรกติของการแข็งตัวของเลือดควรหลีกเลี่ยงการบริโภคกระเทียมในปริมาณมาก 4. ผู้ที่เตรียมตัวผ่าตัดควรงดการรับประทานกระเทียมเสริมก่อนประมาณ 1-2 สัปดาห์
29
ข้อควรระวังในการบริโภคกระเทียม
5. ในกรณีผู้ที่เป็นโรคเบาหวานที่การรับประทานยาหรือได้รับยาฉีด ควรปรึกษาแพทย์ก่อนการให้รับประทานกระเทียมเสริม เนื่องจากกระเทียมมีฤทธิ์ลดระดับน้ำตาลในเลือด 6. ไม่แนะนำสำหรับผู้ที่แพ้กระเทียม
30
ส่วนประกอบของนิวทริไลท์การ์ลิค
ส่วนประกอบใน 3 เม็ด ผงกระเทียมสกัด มก. ลิโคริซ มก. แต่งกลิ่นและสีธรรมชาติ
31
เลซิติน(Lecithin) เลซิตินเป็นสารไขมันชนิดพิเศษที่สามารถละลายได้ทั้งในน้ำและน้ำมัน เป็นไขมันฟอสโฟไลปิดส์ ชนิดฟอสฟาทิดิลโคลีน(PC) แหล่งสำคัญของเลซิติน : ไข่แดง ตับ ถั่วเหลือง ถั่วลิสง จมูกข้าวสาลี เป็นต้น
32
ประโยชน์ของเลซิติน 1. เป็นส่วนประกอบของเยื่อบุผิวเซลล์และส่วนย่อยของเซลล์ 2. ทำหน้าที่ในการช่วยขนส่งไขมัน โดยอาศัยสมบัติพิเศษของการเป็นสารอิมัลซิไฟเออร์(Emulsifier) 3. ช่วยย่อยไขมันในทางเดินอาหาร
33
ประโยชน์ของเลซิติน 4. ช่วยลดคอเลสเตอรอลในเลือดโดย
4.1 ลดการดูดซึมของไขมัน 4.2 เร่งการกำจัดคอเลสเตอรอลในเลือด 4.3 การเพิ่มเอชดีแอล 5. เลซิตินกับนิ่วในถุงน้ำดี
34
ประโยชน์ของเลซิติน 6. เลซิตินกับสมอง
6.1 เป็นองค์ประกอบของเยื่อบุผิวของเซลล์สมอง 6.2 ช่วยทำให้ระดับของอะเซติลโคลีน(สารสื่อประสาทในสมอง)ในสมองเพิ่มมากขึ้น 7. เลซิตินกับการทำงานของตับ
35
ข้อแนะนำในการบริโภคเลซิติน
ปริมาณที่แนะนำไม่เกิน 1-2 กรัมต่อวัน หากเกินปริมาณ 20 เท่าของที่แนะนำอาจก่อให้เกิดผลข้างเคียงได้ เช่น ปวดศีรษะ ท้องเสีย น้ำลายไหลมาก เหงื่อออกมาก คลื่นไส้ มึนงง ซึมเศร้า ปัสสาวะหรืออุจจาระมีกลิ่นคาวปลา
36
ส่วนประกอบของนิวทริไลท์เลซิตินอี
1 เม็ดประกอบไปด้วย เลซิตินจากถั่วเหลือง มก. ฟอสฟาทิดิลโคลีน มก. วิตามิน อี ไอยู
37
น้ำมันปลา(Fish oil) เป็นผลิตภัณฑ์เสริมอาหารประเภทไขมัน
มีฤทธิ์ทางเภสัชวิทยาจากสารที่ชื่อว่า “กรดโอเมกา-3(Omega-3)” เป็นกรดไขมันไม่อิ่มตัวสูงที่มีประโยชน์ต่อร่างกาย เป็นกรดไขมันจำเป็นต่อร่างกาย แหล่งที่พบ : ได้จากปลาทะเล เช่น ปลาซาดีน แมคเคอเรล ทูน่า เป็นต้น
38
กรดโอเมกา-3(Omega-3) ให้สารสำคัญ 2 ชนิด คือ
1. กรดอีพีเอ (EPA : Eicosapentaenoic acid) 2. กรดดีเอชเอ (DHA : Docohexaenoic acid)
39
ประโยชน์ของน้ำมันปลา
1. ลดไตรกลีเซอไรด์ 1.1 ยับยั้งการสังเคราะห์ไตรกลีเซอไรด์ที่ตับ 1.2 ยับยั้งการสังเคราะห์โปรตีนที่ใช้ในการสร้างวีแอลดีแอล 2. ลดการสร้างลิ่มเลือด 2.1 เพิ่มการสังเคราะห์ TX A3 2.2 เพิ่มการสร้าง PGI3
40
ประโยชน์ของน้ำมันปลา
3. ลดการอักเสบ 3.1 ลดอาการอักเสบของโรครูมาตอยด์ 3.2 บรรเทาอาการของโรคผิวหนังบางชนิด โดยการเปลี่ยนอีพีเอ ไปเป็นลิวโคไตรอีน 4. การพัฒนาการทางสมองและดวงตาของเด็กทารก
41
กลไกการเกิดการแข็งตัวของเกล็ดเลือด
18:3n – :3n - 3 (LA) (โอเมกา 3) PGE PGE2 - 20:3n – PGH :5n – PGH PGD2 - - (DGLA) PGD (EPA) TXA3 + PGI3 - - PGE :6n - 3 20:4n – PGH PGD (DHA) (AA) TXA2 +++ PGI
42
ความต้องการกรดไขมันโอเมกา-3
ความต้องการที่เหมะสม ความต้องการน้อยที่สุด กรดเอแอลเอ มิลลิกรัมต่อวัน ร้อยละของพลังงาน อีพีเอ + ดีเอชเอ มิลลิกรัมต่อวัน – 200 ร้อยละของพลังงาน กรดไขมันโอเมกา-3 อีพีเอ + ดีเอชเอ + เอแอลเอ(มิลลิกรัมต่อวัน) หญิงปรกติ ,200 หญิงตั้งครรภ์ ,360 หญิงให้นมบุตร ,450
43
ส่วนประกอบของนิวทริไลท์ โอเมกา-3
1 แคปซูลประกอบด้วย: น้ำมันปลา มก. อีพีเอ มก. ดีเอชเอ มก. วิตามินอี IU
44
ใยอาหาร(Fiber) จัดเป็นสารอาหารประเภทคาร์โบโฮเดรตที่ไม่ใช่แป้ง(Non Starch Carbohydrates) ไม่สามารถถูกย่อยได้โดยน้ำย่อยในกระเพาะอาหาร แต่อาจถูกย่อยได้โดยแบคทีเรียในลำไส้ใหญ่ได้บ้าง แบ่งได้เป็น 2 ชนิด 1. ใยอาหารชนิดละลายน้ำ(Water soluble-fiber) 2. ใยอาหารชนิดที่ไม่ละลายน้ำ(Non water soluble-fiber)
45
ใยอาหารชนิดละลายน้ำ พบมากในอาหารจำพวกผลไม้ ถั่วเมล็ดเปียก เป็นใยอาหารที่มีลักษณะคล้ายเจล ถูกย่อยสลายด้วยแบคทีเรียในลำไส้ใหญ่ เกิดเป็นกรดไขมันห่วงโซ่อาหารขนาดสั้น สามารถถูกดูดซึมได้และถูกเปลี่ยนเป็นพลังงานในร่างกายได้ แต่ให้พลังงานที่น้อยมาก เมื่อเทียบกับแหล่งพลังงานอื่น ยกตัวอย่างเช่น แพคติน กัม มิวซิเลซ เป็นต้น
46
ใยอาหารชนิดไม่ละลายน้ำ
พบมากในอาหารเยื่อหุ้มของเมล็ดพืช เช่น ข้าว ข้าวโอ๊ต ข้าวบาร์เลย์ ข้าวโพด เป็นต้น ช่วยเพิ่มมวลของกากอาหาร กระตุ้นการบีบตัวของลำไส้ ไม่ถูกย่อยโดยแบคทีเรียในลำไส้ใหญ่ ยกตัวอย่างเช่น เซลลูโลส เฮมิเซลลูโลส ลิกนิน เป็นต้น
47
ประโยชน์ของใยอาหาร 1. ลดการดูดซึมไขมัน 2. ลดการดูดซึมกลูโคสในเลือด
3. ผลต่อระบบทางเดินอาหาร 4. การป้องกันมะเร็ง
48
ข้อแนะนำในการบริโภค สำหรับคนไทย RDI แนะนำให้บริโภคใยอาหารประมาณวันละ กรัม สัดส่วนของใยอาหารคือ 25 : 75 (ใยอาหารที่ละลายน้ำ : ใยอาหารที่ไม่ละลายน้ำ)
49
นิวทริไลท์ เนเจอรัล มัลติไฟเบอร์
50
นิวทริไลท์ เนเจอรัล มัลติ ไฟเบอร์
1 เม็ดประกอบด้วย ใยอาหารจากเลมอน % รำข้าวโพด % ผงอะเซโลราเชอร์รี % รำข้าวบาร์เลย์ % รำถั่วเหลือง % รำข้าวโอ๊ต เปลือกเมล็ดโซเลียม % ผงแครอท % กัวร์กัม % อะคาเซียกัม % 3.71%
51
นิวทริไลท์ เลสเตอรอล สารสกัดในที่ออกฤทธิ์ชาเขียว : ธีอะฟลาวินส์
คะเตชิน 2 แคปซูลให้สารธีอะฟลาวินส์เทียบเท่ากับ ชาดำประมาณ 7-14 ถ้วย ชาเขียวประมาณ 100 ถ้วย
52
ธีอะฟลาวินส์(Theaflavins)
เป็นสารกลุ่มโพลีฟีนอล พบในชาเขียว ชาอู่หลง และชาดำ ปริมาณเพิ่มขึ้นจากการบ่มใบชาเพิ่มขึ้น เป็นสารให้สีและรสชาติในชา
53
กลไกการทำงานของเลส-เตอรอล แอลดีแอล คอลเลสเตอรอล
ธีอะฟลาวินส์ HEADLINE of SLIDE 2. ธีอะฟลาวินส์ ช่วยส่งเสริมการเก็บกลับแอลดีแอล คอเลสเตอรอล และกำจัดออกทางตับ คอเลสเตอรอล Slide text. 1. ธีอะฟลาวินส์ ลดการดูดซึมคอเลสเตอรอลในอาหาร 3. คอเลสเตอรอลจากอาหารและจากร่างกายถูกกำจัดทางอุจจาระ.
54
Les-terol Animation HEADLINE of SLIDE Slide text.
55
นิวทริไลท์ เลสเตอรอล 2 แคปซูลประกอบด้วย: สารสกัดชาเขียว 412 มก.
สารสกัดชาเขียว มก. เลซิตินจากถั่วเหลือง มก. วิตามินอี IU
56
ผล Cholesterol LDL-C HDL TG ผลอื่นๆ ผลิตภัณฑ์ Garlic เสริมการทำงาน
หลอดเลือดหัวใจ ควบคุมความดันโลหิตสูง Omega การทำงานเกร็ดเลือดปกติ Lecithin E ป้องกันการจับคอเลสตอรอล กับผนัง Fiber Lesterol
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.