งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

กิจกรรมกลุ่มควบคุมคุณภาพ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "กิจกรรมกลุ่มควบคุมคุณภาพ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 กิจกรรมกลุ่มควบคุมคุณภาพ
Basic QC Circle QCC

2 วัตถุประสงค์ของการฝึกอบรม QCC
องค์กร

3 Outline พื้นฐาน QCC 7 QC TOOLS 7 New QC TOOLS

4 หลักการของ QCC คุณภาพสินค้าหรือบริการที่ดี คืออะไร
“คุณภาพสินค้าหรือบริการที่ถูกต้องตามวัตถุประสงค์ ในการใช้และตรงตามเงื่อนไขของผู้ใช้สินค้าหรือผู้รับ บริการด้วยค วามพึงพอใจอย่างสูง” ซึ่งการทำให้สินค้าหรือบริการสามารถตอบสนองความ พึงพอใจของลูกค้าได้อย่างสูงสุด จำเป็นต้องอาศัยวิธีการควบคุมคุณภาพ

5 ลูกค้า หลักการของ QCC คุณภาพสินค้าหรือบริการที่ดี
คุณภาพสินค้า/บริการที่ลูกค้าต้องการ ลูกค้า คุณภาพสินค้า/บริการเป้าหมาย คุณภาพสินค้า/บริการที่ผลิตได้

6 คุณภาพสินค้า/บริการที่ลูกค้าต้องการ
หมายถึง คุณภาพของสินค้า/บริการที่ผู้บริโภค ผู้ใช้ หรือลูกค้าเรียกร้องหรือเรียกว่า “คุณภาพของสินค้า/ บริการ ของตลาด” เป็นข้อมูลที่ได้มาโดยอาจยังไม่มีรายละเอียดทางเทคนิคของ สินค้า/บริการ

7 คุณภาพสินค้า/บริการเป้าหมาย
หมายถึง คุณภาพของสินค้า/บริการที่องค์กรพิจารณากำหนดใน รายละเอียดว่าควรจะผลิตสินค้า/นำเสนอบริการอย่างไร เพื่อตอบสนองความต้องการของลูกค้าให้ได้มากที่สุด หรือเรียกว่า “คุณภาพสินค้า/บริการของการออกแบบ”

8 คุณภาพสินค้า/บริการที่ผลิตได้
หมายถึงคุณภาพของ สินค้า/บริการที่ได้จากกระบวน การผลิต หรือกระบวนการส่งมอบบริการ ที่เปรียบเทียบกับ คุณภาพของสินค้า/บริการเป้าหมายและคุณภาพของสินค้า/ บริการที่ลูกค้าต้องการซึ่งทั้งนี้มีผลเกี่ยวข้องกับการจัดการ/ การเตรียมพร้อมวัตถุดิบ เครื่องมือ เครื่องจักร อุปกรณ์ สถานที่ การกำหนดวิธีการปฏิบัติการบริหารความพร้อม ของบุคลากร และประสิทธิภาพของการควบคุมคุณภาพ

9 การควบคุมคุณภาพอย่างมีประสิทธิภาพ
จำเป็นต้องมีแนวคิดในการควบคุมคุณภาพ ดังนี้ การคำนึงถึงความสำคัญในการสร้างความพึงพอใจให้แก่ผู้ที่รับงานถัดไป “ลูกค้าภายใน – ลูกค้าภายนอก” การให้ความสำคัญต่อการนำเครื่องมือพื้นฐานในการ ควบคุมคุณภาพไปใช้ 5W 1H วงจร P-D-C-A

10 5 W 1 H Who - ใคร What - อะไร Where - ที่ไหน When - เมื่อไร Why - ทำไม
How - อย่างไร (How Much - เท่าไร)

11 P-D-C-A Cycle (Deming Cycle)
วางแผน : จัดเตรียมบุคคล, วัตถุดิบ, เครื่อง จักร และวิธีการ กำหนดเกณฑ์/มาตรฐาน Plan Do Check Act ปฏิบัติ : ดำเนินงานตามแผนงาน/มาตรฐาน ที่กำหนด ไว้ ทบทวน/แก้ไข/ปรับปรุง : ทบทวนผลการ ดำเนินงาน, ถ้าพบข้อบกพร่องให้หาสาเหตุ และกำหนดการแก้ไข/ปรับปรุง ตรวจสอบ : ตรวจสอบตามมาตรฐาน และ บันทึกผล

12 เวลาหรือชั่วโมงทำงาน
ความสำคัญของการวางแผนในการแก้ไขปัญหา เลว Check Action Do Plan ดี เวลาหรือชั่วโมงทำงาน

13 การคำนึงถึงความพึงพอใจของลูกค้า
ลูกค้าภายนอก ลูกค้าภายใน

14 การเพิ่มความพึงพอใจของลูกค้า
การเพิ่มความพึงพอใจของลูกค้าภายนอก จำเป็น อย่างยิ่งที่พนักงานทุกคนซึ่งถือเป็นลูกค้าภายในของกันและ กันจะต้องมีส่วนร่วมในการควบคุมคุณภาพของการผลิต/ การบริการขององค์กร หรือมีการดำเนินงานที่เรียกว่า ”การควบคุมคุณภาพที่ทุกคนมีส่วนร่วม” (Total Quality Control ; TQC) โดยอาศัยกิจกรรมที่เรียกว่า “กิจกรรมกลุ่มควบคุมคุณภาพ” (QC Circle ; QCC) กลับสู่ Main

15 กิจกรรมกลุ่มควบคุมคุณภาพ (QC Circle ; QCC)
หมายถึง กิจกรรมที่มีลักษณะการดำเนินการ ดังนี้ ดำเนินการอย่างสมัครใจ โดยกลุ่มคนที่อยู่ในสถานที่ ทำงานเดียวกัน ส่งเสริมให้ทุกคนมีส่วนร่วม และเกิดความร่วมมือกัน มีจุดมุ่งหมายเพื่อวิเคราะห์ ควบคุม และปรับปรุงการ ดำเนินการต่างๆ ในสถานที่ทำงาน ใช้วิธีการ/เครื่องมือทาง QC (QC Tool) มีการใช้ P-D-C-A ในการดำเนินงานอย่างมีระบบ และต่อเนื่อง

16 ประโยชน์ของการทำกิจกรรม QCC
เพื่อประโยชน์ในการวิเคราะห์ ควบคุม และปรับปรุง /พัฒนาองค์กร (โดยทุกคนมีส่วนร่วม) ส่งเสริมให้เคารพในความเป็นมนุษย์และสร้างบรรยากาศ การทำงานให้มีชีวิตชีวาและกระตือรือร้น สร้างโอกาสในการใช้ความสามารถอย่างเต็มที่ และดึง ความสามารถที่ซ่อนเร้นของพนักงานซึ่ง มีอยู่อย่าง ไม่มีที่สิ้นสุดออกมาใช้ประโยชน์

17 ขั้นตอนการทำกิจกรรม QCC - (QC Story)
1. ค้นหาปัญหา กำหนดหัวข้อเรื่องที่ต้องการปรับปรุง 7. กำหนดมาตรการในการป้องกันการเกิดซ้ำ 2. กำหนดดัชนีชี้วัด และเป้าหมายในการดำเนินการ P D C A 6. ทบทวนกำหนดเป็นมาตรฐานการปฏิบัติงาน 3. วางแผนการดำเนินการ 4. ดำเนินการตามแผนที่วางไว้ 5. ติดตามประเมินผลในสิ่งที่ได้ดำเนินการ

18 1. การค้นหาปัญหา กำหนดหัวข้อเรื่องที่ต้องการปรับปรุง
“ปัญหา” คือ ผลของการทำงานที่ไม่เป็นไปตามที่คาด หวัง/ไม่เป็นไปตามที่ต้องการ ระดับเป้าหมาย ที่ตั้งให้สูงขึ้น สภาพปกติในปัจจุบัน ระดับเป้าหมายในปัจจุบัน ผลของการทำงาน ที่ต่ำกว่าเป้าหมาย

19

20

21 1. การค้นหาปัญหา กำหนดหัวข้อเรื่องที่ต้องการปรับปรุง
การกำหนดหัวข้อ พิจารณา ดังนี้ ปัญหาที่กำหนดเพื่อให้บรรลุนโยบายหรือเป้าหมายของ ผู้บังคับบัญชา ปัญหาที่กำหนดเพื่อแก้ไขกรณีที่เกิดขึ้นอย่างเร่งด่วน ซึ่งมีผลกระทบต่อกระบวนการ ผลิตภัณฑ์ หรือบริการ ปัญหาที่ค้นพบได้เองเพื่อต้องการปรับปรุงให้มีวิธีที่ดี กว่าเดิมประเด็นหัวข้อที่ควรพิจารณา ได้แก่ Q C D S M E

22 1. การค้นหาปัญหา กำหนดหัวข้อเรื่องที่ต้องการปรับปรุง
การเลือกหัวข้อเรื่องที่ต้องการปรับปรุง พิจารณาดังนี้ ความต้องการ/เป้าหมายของงาน ไม่ได้ตามที่ต้องการ/ตามเป้าหมาย สาเหตุ ปัญหา ผลกระทบ ความเป็นไปได้ (D) ความถี่ (O) ความรุนแรง (S) หัวข้อที่ต้องการปรับปรุง พิจารณาจาก D x O x S = RPN

23 ตัวอย่าง หั วข้อเรื่องที่ต้องการปรับปรุง
ลดเวลารอคอยของลูกค้าเมื่อมีการแจ้งซ่อม ลดอัตราของเสียจากการผลิต ลดการส่งมอบระบบที่ล่าช้า ... Q C D S M E

24 2. การกำหนดดัชนีชี้วัด และเป้าหมายในการดำเนินการ
หลักในการกำหนดดัชนีชีวัดและเป้าหมาย “SMART” S = Specific ; เฉพาะ, ชัดเจน M = Measurable ; วัดผลได้ A = Achievable ; บรรลุผลได้ R = Relevant ; สอดคล้องกับปัญหา T = Timing ; มีกำหนดระยะเวลา

25 ตัวอย่าง การกำหนดเป้าหมาย
ลดเวลารอคอยของลูกค้าเมื่อมีการแจ้งซ่อม ไม่เกิน3 ชม ลดอัตราของเสียจากการผลิต ไม่เกิน 2 % ลดการส่งมอบระบบที่ล่าช้า ไม่เกิน 0.5 % ... Q C D S M E

26 3. การวางแผนการดำเนินการ
ขั้นตอนของการวางแผนการดำเนินการ สำรวจสภาพปัจจุบัน ใช้ Check sheet, Pareto, graph วิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหา ใช้ แผนผังก้างปลา, Matrix (กรณีปัญหาหลาย อาการพร้อมกัน) หรือ affinity diagram พิจารณากำหนดมาตรการแก้ไข ทบทวนเป้าหมาย เตรียมความพร้อมด้านทรัพยากร ( 4 M)

27 4. การดำเนินการตามแผนที่วางไว้
ดำเนินการตามมาตรการที่กำหนดไว้ ตรวจสอบผลการปฏิบัติว่า มีปัญหาต่อคุณภาพหรือไม่ มีปัญหาต่อความปลอดภัยหรือไม่ ปฏิบัติงานได้ยากลำบากกว่าเดิมหรือไม่ ผู้ปฏิบัติงานพอใจต่อการปรับปรุงหรือไม่ ส่งผลให้บรรลุได้ตามวัตถุประสงค์/เป้าหมายหรือไม่ ปรับปรุงมาตรการให้เป็นที่ยอมรับ/สอดคล้อง ลงมือปฏิบัติตามมาตรการที่ปรับปรุง บันทึกผลการปฏิบัติงานตามแผนงาน

28 5. การติดตามประเมินผลในสิ่งที่ได้ดำเนินการ
รวบรวมข้อมูลจากการดำเนินงานตามแผน และจาก กระบวนการที่เกี่ยวข้อง วิเคราะห์ข้อมูล ทำการแจกแจงข้อมูลที่รวบรวมมาได้ แยกแยะและเปรียบเทียบกับข้อมูล/ผลของการดำเนิน การก่อนปรับปรุงโดยใช้ PARETO , กราฟ , Histogram หรือ แผนภูมิควบคุม ประเมินผลเทียบกับดัชนี้ชี้วัด/เป้าหมายของการปรับปรุง รวมทั้งสรุปผลในเรื่องค่าใช้จ่ายและยืนยันผลกระทบ ที่มีต่อ คุณภาพ ความปลอดภัย และการปฏิบัติงาน

29 6. การทบทวนกำหนดเป็นมาตรฐานการปฏิบัติงาน
หากผลจากการดำเนินการตามแผนงานเป็นไปตาม เป้าหมาย ให้พิจารณากำหนดวิธีที่ได้ดำเนินการไปแล้วขึ้นเป็นมาตรฐาน ในการปฏิบัติงาน โดย แสดงวิธีการทำงานใหม่ให้ชัดเจน พร้อมทั้งอธิบายเหตุและผลของการปฏิบัติ เน้นจุดสำคัญ ทำให้เข้าใจได้ง่าย เป็นวิธีการที่ปฏิบัติตามได้ อธิบายให้เห็นเป็นรูปธรรม มีการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง

30 7. การกำหนดมาตรการในการป้องกันการเกิดซ้ำ
การป้องกันในที่นี้หมายถึง การทำให้ปัญหาเดียวกันนั้น ไม่เกิดขึ้นซ้ำ และสิ่งที่ปรับปรุงแล้วไม่กลับมามีสภาพเช่นเดิม ซึ่งมีสิ่งสำคัญที่ต้อง พิจารณาดำเนินการ ดังนี้ ทำให้ทุกคนรู้ถึงความสำคัญของการทำเป็นมาตรฐาน ทำให้ทุกคนรักษาปฏิบัติตามมาตรฐาน โดยอาศัยการอบรม ทำการดูแล ตรวจสอบ การปฏิบัติให้เป็นไปตามมาตรฐาน พิจารณาวางมาตรการเพิ่มเติม หากไม่ปฏิบัติตาม ทำการประสานงานกับหน่วยงาน หรือกระบวนการ ที่เกี่ยวข้องเพื่อติดตามผลการปฏิบัติงานที่มีแนวโน้ม เป็นปัญหา

31 ข้อเท็จจริง (การควบคุมคุณภาพ = การบริหารโดยข้อเท็จจริง)
ข้อมูล แจกแจงปัญหา หลังจากการรวบรวม ท้อมูลที่เป็นตัวเลข ข้อมูลที่เป็นตัวเลข ข้อมูลที่เป็นคำพูด แจกแจงปัญหาก่อน ที่จะรวบรวมข้อมูล ที่เป็นตัวเลข เครื่องมือดั้งเดิม 6 แบบ เครื่องมือใหม่ 6 แบบ จัดระเบียบ สำหรับก่อให้เกิดการออก ความคิดเห็นและจัดทำแผน โดยใช้แนวทางการออกแบบ สำหรับชี้บ่งปัญหา โดยใช้ แนวทางการวิเคราะห์ ข้อมูลข่าวสาร (ความรู้ที่ต้องการเพื่อให้บรรลุเป้าหมาย) ความสัมพันธ์ระหว่างเครื่องมือใหม่ 7 แบบ

32 เครื่องมือที่จะใช้ตั้งแต่นี้ไป เครื่องมือที่ใช้มาแล้ว
เครื่องมือสำหรับอนาคต การวางแผนขั้นที่ 1 ค้นหาความซับซ้อนและความสับสน แล้วแจกแจงปัญหา Affinity Diagram (ขึ้นอยู่กับความรู้สึก) Relations Diagram (ขึ้นอยู่กับเหตุผล) Cause and effect Diagrams Matrix Data Analysis (แสดงระดับความสัมพันธ์ ระหว่างตัวแปร) Matrix Diagram (สำหรับสำรวจความสัมพันธ์ระหว่างวัตถุประสงค์และกลยุทธ์) Tree Diagram (สำหรับแยกขอบวัตถุประสงค์ออกเป็นวัตถุประสงค์หรือกลยุทธ์ย่อย 1-6 จะบอก What,How,Why (เพื่อให้การวางแผนกลยุทธ์) Arrow Diagram จะบอก Who,Where,When (ถูกใช้ในการวางแผนกลยุทธ์) Arrow Diagram (เพิ่มประสิทธิภาพการวางแผน ขั้นต้นสำหรับเหตุการณ์ที่อธิบายไว้) PDPC (การวางแผนฉุกเฉินและความไม่แน่นอนที่คาดไว้ล่วงหน้าโดยรวบรวม ข้อมูลที่ขั้นตอนหนึ่ง ๆ ของโครงการ และคิดแผนที่ดีที่สุดจากจุดนั้นเป็นต้นไป) Checksheets, Histograms, graphs Pareto Diagram, control chart, Scattered ตำแหน่งของเครื่องมือใหม่ 7 แบบสำหรับควบคุมคุณภาพและเครื่องมือสำหรับควบคุมคุณภาพแบบดั้งเดิม

33 สรุปการใช้เครื่องมือ QC ในกิจกรรม QCC
O การดำเนิน การงานและ ติดตามผล กำหนดมาตรการแก้ไข การวิเคราะห์สาเหตุ การสำรวจ สภาพปัจจุบัน กำหนด เป้าหมาย การค้นหา ปัญหา แผนภูมิ ควบคุม พาเรโต ผังเหตุ และผล กราฟ ฮีสโต แกรม ผังการกระจาย Check Sheet ขั้นตอนการทำ QCC กลับสู่ Main


ดาวน์โหลด ppt กิจกรรมกลุ่มควบคุมคุณภาพ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google