สิทธิประโยชน์ทางภาษีสรรพากร

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "สิทธิประโยชน์ทางภาษีสรรพากร"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 สิทธิประโยชน์ทางภาษีสรรพากร
Revenue Tax Benefit

2 Abbreviation in this Presentation
ภาษีสรรพากร WT. : Withholding Tax PIT : Personal Income Tax CIT : Corporate Income Tax VAT : Value Added Tax SBT : Specific Business Tax SD : Stamp Duty DTA : Double Taxation Agreement ภาษีอากรประเภทอื่น CD : Customs Duty ET : Excise Tax LT : Local Tax

3 Tax Planning, Tax Avoidance & Tax Evasion
Correction Tax Planning Accuracy Tax Conditions Completion – Evidences Economy/ Save Reasonable Tax Avoidance Loophole Tax Evasion Illegal; Penalty, Surcharge, Fine & Imprison

4 Tax Evasion การหลีกเลี่ยงภาษีอากร คือ การเจตนาหรือจงใจหลีกเลี่ยงภาษีอากรหรือหนี้ภาษีอากรโดยทุจริต ผิดกฎหมาย อาทิ 1. เจตนาแจ้งข้อความเท็จ ในการยื่นแบบแสดงรายการเพื่อเสียภาษีอากร หรือให้ถ้อยคำหรือตอบคำถามด้วยถ้อยคำอันเป็นเท็จ หรือนำพยานหลัก ฐานเท็จไปแสดงต่อเจ้าพนักงาน เพื่อหลีกเลี่ยงการเสียภาษีอากรหรือโดยความเท็จ โดยฉ้อโกงหรืออุบายหรือโดยวิธีอื่นใดทำนองเดียวกัน หลีกเลี่ยง หรือพยายามหลีกเลี่ยงภาษีอากร

5 Tax Evasion (2) 2. เจตนาละเลยไม่ยื่นรายการที่ต้องยื่นเพื่อหลีกเลี่ยงหรือพยายามหลีกเลี่ยงภาษีอากร 3. ในระบบภาษีมูลค่าเพิ่ม ผู้ประกอบการจดทะเบียนหรือบุคคลอื่นใดโดยเจตนาหลีกเลี่ยง หรือพยายามหลีกเลี่ยงภาษีมูลค่าเพิ่ม 4. โดยเจตนาทุจริตมีแสตมป์ปลอม หรือค่าแสตมป์ใช้แล้วหรือเลิกใช้แล้ว

6 Tax Evasion (3) ผู้หลีกเลี่ยงภาษีอากร ต้องรับโทษทางภาษีอากร โดยต้องเสียตามจำนวนเงินที่หลีกเลี่ยง พร้อมทั้งเบี้ยปรับ และเงินเพิ่ม ซึ่งเป็นบทลงโทษทางแพ่ง โดยไม่อาจลดหย่อนผ่อนโทษลงได้แล้ว ยังต้องรับผิดตามบทกำหนดโทษทางอาญา ทั้งจำคุก และค่าปรับ อีกด้วย ซึ่งผู้หลีกเลี่ยงไม่อาจนำค่าใช้จ่ายอันเกิดจากบทลงโทษดังกล่าว ไปถือเป็นรายจ่ายในการคำนวณกำไรหรือขาดทุนทางภาษีอากรได้

7 Tax Avoidance การหลบหลีกภาษีอากร คือ การนำช่องโหว่ (Loophole) ที่กฎหมายภาษีอากรเปิดช่องให้กระทำได้ โดยไม่ผิดกฎหมาย มาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุดในการประกอบธุรกิจ และการเสียภาษีอากร เพื่อให้จำนวนภาระภาษีอากรที่ต้องเสียลดน้อยลงไปจากการดำเนินการปกติธุรกิจทั่วไป การหลบหลีกภาษีอากรถือเป็นส่วนหนึ่งของการวางแผนภาษีอากร

8 Tax Loophole: PIT (1) 1. การตั้งห้างหุ้นส่วนสามัญหรือคณะบุคคลที่มิใช่นิติบุคคล สำหรับการประกอบธุรกิจอื่น 2. ไม่นำเงินได้พึงประเมินจากต่างประเทศเข้ามาในประเทศไทยภายในปีภาษีเดียวกับปีที่เกิดเงินได้ 3. การใช้สิทธิเกี่ยวเครดิตภาษีตามมาตรา 47 ทวิ สำหรับเงินปันผล หรือเงินส่วนแบ่งของกำไรจากบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายไทย

9 Tax Loophole: PIT (2) 4. การใช้สิทธิเลือกเสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา
5. การใช้สิทธิหักลดหย่อนบุตร 6. การใช้สิทธิหักลดหย่อนดอกเบี้ยเงินกู้ยืมเพื่อที่อยู่อาศัย 7. การใช้สิทธิหักลดหย่อนเบี้ยประกันชีวิต 8. การใช้สิทธิหักลดหย่อนบุพการี

10 ช่องโหว่ของกฎหมายภาษีเงินได้นิติบุคคลตามประมวลรัษฎากร
1. การคิดดอกเบี้ยเงินกู้ยืมที่บริษัทกู้ยืมจากผู้ถือหุ้น กรรมการ หรือผู้เป็นหุ้นส่วน 2. การเปิดประมูล กรณีที่ไม่อาจทราบราคาตลาดที่แน่นอน 3. ตั้งบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลในเครือเดียวกัน เพื่อประกอบกิจการ (1) กิจการรับทำการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยี (พรฎ.(297)) (2) กิจการ In-house Training เพื่อฝึกอบรมและพัฒนาเฉพาะพนักงานหรือลูกจ้างของบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลในเครือเดียวกัน (พรฎ.(284)) (3) กิจการโรงเรียนเอกชน หรือสถาบันอุดมศึกษาเอกชน (4) กิจการให้เช่ารถยนต์นั่ง หรือรถยนต์โดยสารที่มีที่นั่งไม่เกิน 10 คน (พรฎ.(315)) (5) กิจการเรือเดินทะเล (พรฎ.(314))

11 ประเด็นพิจารณาการคิดดอกเบี้ยสำหรับ เงินกู้ยืมจากกรรมการหรือผู้เป็นหุ้นส่วน
รายการ CIT PIT 1. เกณฑ์รับรู้รายได้ รายจ่าย (ความ แตกต่างด้านเวลา) บริษัท/ ห้างฯรับรู้ดอกเบี้ยจ่ายตามเกณฑ์สิทธิ = ถือเป็นรายจ่ายได้ทันที เป็นผลให้ประหยัดภาษี 30% ไปจนกว่าจะจ่ายดอกเบี้ย กรรับรู้เงินได้ตามเกณฑ์เงินสด = ถือเป็นเงินได้ต่อเมื่อได้รับจริง 2. ความแตกต่างใน จำนวนเม็ดเงิน ภาษี โดยทั่วไปอัตรา 20% ของ NP และในส่วนที่เป็นเงินปันผลของผู้ถือหุ้นอีก 7% ของ NP รวมเป็น 27% ของ NP ถูกหัก WT.15% ตามม. 50(2) มีสิทธิเลือกเสีย PITตามม.48(3) =Final Tax เป็นผลให้ประหยัดภาษีได้ ถึง 22%

12 ช่องโหว่ของกฎหมายภาษีเงินได้นิติบุคคลตามประมวลรัษฎากร
4. การใช้สิทธิจำหน่ายหนี้สูญ สำหรับลูกหนี้ที่ไม่เกิน 100,000 บาท โดยไม่ต้องดำเนินคดีทางศาลต่อลูกหนี้ - กรณีที่ไม่คุ้ม 5. การเลือกใช้สิทธิทำลายสินค้า แทนการบริจาค 6. การเลือกใช้สิทธิหักค่าสึกหรอและค่าเสื่อมราคาสำหรับเครื่องจักร และอุปกรณ์ของเครื่องจักรที่ใช้ในการทำวิจัยและพัฒนา หรือเครื่องบันทึกการเก็บเงินเพื่อการออกใบกำกับภาษีอย่างย่อ 7. การควบคุมจำนวนรายจ่ายค่ารับรองที่กฎหมายยอมให้หัก 8. การใช้สิทธิหักรายจ่ายค่าบริจาคเป็นสองเท่าของจำนวนค่าใช้จ่ายแต่ไม่เกิน 10% ของกำไรสุทธิ (พรฎ. (420, 428)) 9. การการควบคุมจำนวนรายจ่ายค่าการกุศลสาธารณะ หรือรายจ่ายเพื่อการสาธารณประโยชน์ และรายจ่ายเพื่อการศึกษาหรือเพื่อการกีฬา

13 ช่องโหว่ของกฎหมายภาษีเงินได้นิติบุคคลตามประมวลรัษฎากร
10. การใช้สิทธินำผลขาดทุนสุทธิจากการประกอบกิจการที่ได้เข้าไปลงทุน ไปใช้เป็นรายจ่าย 11. การสร้างหลักฐานในการประกอบกิจการให้ครบถ้วนสมบูรณ์ และสอดคล้องกับหลักเกณฑ์ และเงื่อนไขแห่งประมวลรัษฎากร 12. การใช้สิทธิในการลดอัตราภาษีเงินได้นิติบุคคลสำหรับบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายไทย ที่มีทุนจดทะเบียนชำระแล้วในวันสุดท้ายของรอบระยะเวลาบัญชีไม่เกิน 5 ล้าน

14 ช่องโหว่ของกฎหมายภาษีเงินได้นิติบุคคลตามกฎหมายอื่น
1. การใช้สิทธิประโยชน์ตามกฎหมายว่าด้วยการส่งเสริมการลงทุน กฎหมายว่าด้วยการนิคมอุตสาหกรรม กฎหมายว่าด้วยศุลกากร - ยกเว้น CIT 3 – 8 ปี - ยกเว้นภาษีศุลกากรสำหรับเครื่องจักรและวัตถุดิบที่นำเข้ามาใช้ผลิตสินค้าตามโครงการ - วางหลักประกัน สำหรับ VAT ของเครื่องจักรและวัตถุดิบที่ นำเข้ามาใช้ผลิตสินค้าตามโครงการ 2. การใช้สิทธิในการหักรายจ่ายเพื่อการคำนวณภาษีเงินได้นิติบุคคลตามกฎหมายว่าด้วยการฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการ โดยการจ้างพนักงานที่เป็นคนพิการ 1 คนต่อกรณีที่บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลนั้นมีพนักตั้งแต่ 200 คนขึ้นไป และการจัดอุปกรณ์อำนวยความสะดวกโดยตรงแก่คนพิการในอาคาร สถานที่ ยานพาหนะ หรือบริการสาธารณะอื่นๆ

15 ช่องโหว่ของกฎหมายภาษีเงินได้นิติบุคคลตามกฎหมายอื่น
3. การใช้สิทธิประโยชน์ตามกฎหมายว่าด้วยศุลกากร สำหรับการประกอบกิจการในเขตปลอดอากร (Free Zone: FZ) ได้แก่ คลังสินค้าทัณฑ์บนตามกฎหมายว่าด้วยศุลกากร และ EPZ (Export Processing Zone: เขตอุตสาหกรรมส่งออก) ตามกฎหมายว่าด้วยการนิคมอุตสาหกรรม (กนอ.) ประหยัดต้นทุนและค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับภาษีศุลกากร

16 Tax Loophole: WT (1) 1. การแยกกิจการขายสินค้าต่างหากจากกิจการรับจ้างทำของ 2. การแยกกิจการขนส่งออกต่างหากจากกิจการจ้างทำของ กิจการให้เช่าทรัพย์สิน เพื่อใช้ภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย อัตราต่ำ 3. การประกอบกิจการเซอร์วิสอพาร์ทเมนท์ครบวงจร 4. การประกอบกิจการการโฆษณา แทนการให้เช่าทรัพย์สิน

17 Tax Loophole: WT (2) 5. การจ่ายเงินผ่านธนาคาร เพื่อลดภาระหน้าที่เกี่ยวกับภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย 6. การเลื่อนจุดการจ่ายเงินได้ 7. การใช้ภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่ายเพื่อการเสียภาษีเงินได้นิติบุคคลครึ่งปี และประจำปี 8. ประมาณการจากจำนวนภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย

18 Tax Loophole: VAT (1) 1. การแถมสินค้าพร้อมกับการขายหรือการให้บริการ
2. การให้รางวัลแก่ลูกจ้างหรือพนักงาน หรือรางวัลในการประกวด การแข่งขัน การชิงโชคเป็นเงินสด แทนการให้รางวัลเป็นสินค้าหรือเป็นสิ่งของ 3. การบริจาคเงินสด แทนการบริจาคเป็นสิ่งของ 4. การให้ลูกค้าไปออกของ ณ ด่านศุลกากรและชำระภาษี มูลค่าเพิ่ม สำหรับสินค้าที่นำเข้ามาเพื่อขายให้แก่ลูกค้า 5. การเลื่อนจุดความรับผิดในการเสียภาษีมูลค่าเพิ่ม 6. การใช้สิทธิในภาษีซื้อในอาคารที่ก่อสร้างเพื่อใช้ในกิจการที่ต้องเสียภาษีมูลค่าเพิ่มให้ครบสามปี

19 Tax Loophole: SBT 1. การใช้สิทธิรับโอนการเป็นผู้ถือหุ้น หรือการเป็นหุ้นส่วนแทนการซื้อขายอสังหาริมทรัพย์ 2. การให้กู้ยืมเงินแก่ “บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลในเครือเดียวกัน” เพื่อใช้สิทธิยกเว้นภาษีธุรกิจเฉพาะ 3. การชะลอการจดทะเบียนสิทธิหรือนิติกรรมสำหรับการขายอสังหาริมทรัพย์ 4. การเลือกรับรู้รายรับเพื่อการคำนวณภาษีธุรกิจเฉพาะ ตามเกณฑ์เงินสดแทนการใช้เกณฑ์สิทธิ 5. การประกอบกิจการชั่วคราวโดยไม่ต้องจดทะเบียน

20 ความแตกต่างด้านรายได้ทางบัญชีกับ ทางภาษีอากร
1. เกณฑ์รับรู้รายได้ตามหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไปกับเกณฑ์รับรู้รายได้ทางภาษีอากรตามประมวลรัษฎากร อาทิ (1) การรับรู้รายได้จากการขายอสังหาริมทรัพย์, (2) การรับรู้รายได้เงินปันผลหรือเงินส่วนแบ่งของกำไร ตาม เกณฑ์ Equity (3) การรับรู้รายได้ของกิจการสันทนาการ, (4) การรับรู้รายได้เงินประกันหรือเงินมัดจำ 2. ปัญหาการรับรู้รายได้จากการโอนทรัพย์สินหรือสินค้า การให้ บริการ และการให้กู้ยืมเงินตามราคาตลาด ตามม.65 ทวิ (4) 3. การยกเว้นรายได้ที่เป็นเงินปันผลหรือเงินส่วนแบ่งของกำไร 4. กรณีที่กฎหมายกำหนดให้ถือเป็นการขายสินค้าตามม.70 ตรี 5. รายได้ที่ได้รับยกเว้นภาษีตามประมวลรัษฎากร 6. รายได้ที่รับยกเว้นภาษีตามพระราชบัญญัติส่งเสริมการลงทุน

21 ความแตกต่างด้านรายจ่ายทางบัญชีกับ ทางภาษีอากร
1. หลักเกณฑ์เกี่ยวกับการหักค่าสึกหรอและค่าเสื่อมราคาทรัพย์สิน 2. หลักเกณฑ์เกี่ยวกับการจำหน่ายหนี้สูญ 3. รายจ่ายต้องห้ามโดยผลของกฎหมายตามมาตรา 65 ตรี ดังนี้ (2) เงินสมทบกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ (4) ค่ารับรอง หรือค่าบริการ (6) เบี้ยปรับ เงินเพิ่ม ค่าปรับทางอาญา และภาษีเงินได้นิติบุคคลที่คำนวณจากฐานกำไรสุทธิ (6 ทวิ) ภาษีมูลค่าเพิ่มที่พึงชำระ (8) เงินเดือนของผู้ถือหุ้นหรือผู้เป็นหุ้นส่วนเฉพาะส่วนที่จ่าย เกินสมควร (9) รายจ่ายซึ่งควรจะได้จ่ายในรอบระยะเวลาบัญชีอื่น (12) ผลเสียหายอันอาจได้กลับคืนเนื่องจากการประกัน/ สัญญาคุ้มกันใดๆ

22 ความแตกต่างด้านรายจ่ายทางบัญชีกับ ทางภาษีอากร
3. รายจ่ายต้องห้ามโดยผลของกฎหมายตามมาตรา 65 ตรี ดังนี้ (15) ค่าซื้อทรัพย์สินและรายจ่ายเกี่ยวกับการซื้อหรือขาย ทรัพย์สินในส่วนที่เกินปกติโดยไม่มีเหตุผลอันสมควร (17) ค่าของทรัพย์สินนอกจากสินค้าที่ตีราคาต่ำลง การด้อยค่า (18) รายจ่ายซึ่งพิสูจน์ไม่ได้ว่าใครเป็นผู้รับ (19) รายจ่ายใดๆ ที่กำหนดจ่ายจากผลกำไรที่ได้เมื่อสิ้นสุดรอบ ระยะเวลาบัญชีแล้ว (20) มูลค่าต้นทุนของรถยนต์นั่งและรถยนต์โดยสารที่มีที่นั่งไม่ เกิน 10 คน เฉพาะส่วนที่เกินหนึ่งล้านบาท และค่าเช่า รถยนต์นั่งและรถยนต์โดยสารที่มีที่นั่งไม่เกิน 10 คนเฉพาะ 36,000 บาท/เดือน 1,200 บาท/วัน

23 ความแตกต่างด้านการตีราคาทรัพย์สินและหนี้สินทางบัญชีกับทางภาษีอากร
1. การตีราคาทรัพย์สินเพิ่มขึ้น ตามมาตรา 65 ทวิ (3) 2. การตีราคาเงินตรา ทรัพย์สิน และหนี้สินที่มีค่าหรือราคาเป็นเงินตราต่างประเทศตามมาตรา 65 ทวิ (5) 3. การตีราคาทรัพย์สิน ณ วันเลิกกิจการ ควบกิจการ หรือโอนกิจการตามมาตรา 74(1)

24 ความแตกต่างของรายได้ตาม ภ.ง.ด.50 กับรายได้ตาม ภ.พ.30
1. เกณฑ์รับรู้รายได้ 2. มูลค่าของฐานภาษี กรณีส่งออกสินค้า 3. มูลค่าของฐานภาษี กรณีขายทรัพย์สิน 4. มูลค่าของฐานภาษี กรณีไม่นับรวมเป็นมูลค่าของฐาน VAT และรายได้ที่ไม่อยู่ในข่ายที่ต้องเสีย VAT 5. มูลค่าของฐานภาษี กรณีเงินมัดจำค่าบริการ 6. มูลค่าของฐานภาษี กรณีรายได้รับล่วงหน้า 7. มูลค่าของฐานภาษี กรณีรายได้ค้างรับ 8. กำไรจากอัตราแลกเปลี่ยน 9. กรณีกฎหมายกำหนดให้ถือเป็นการขายตาม ม.70 ตรี (CIT) 10. กรณีกฎหมายกำหนดให้ถือเป็นการขายสินค้าหรือให้บริการ (VAT)

25 ความแตกต่างของรายได้ตาม ภ.ง.ด.50 กับรายได้ตาม ภ.พ.30
รายการ CIT VAT 1. การขายสินค้า - หลักทั่วไป - เงินมัดจำ/รายได้ รับล่วงหน้า เกณฑ์สิทธิ ตั้งพักเป็นเจ้าหนี้ เมื่อส่งมอบสินค้า รับรู้ VAT ซึ่งจะกลายเป็นความแตกต่างเมื่อส่งมอบ 2. เช่าซื้อ ตามงวดทีถึงกำหนดชำระ เช่นเดียวกัน ดู ป.36/2536 ประกอบ 3. กรณีส่งออก - ราคา - อัตราแลกเปลี่ยน รับรู้รายได้เมื่อส่งมอบหรือโอนความเสี่ยง ตามที่ตกลงกัน ณ วันที่ส่งมอบหรือโอนความเสี่ยงในสินค้า รับรู้ VAT เมื่อผ่านพิธีศุลกากร FOB มาตรา 79/4(1)

26 ความแตกต่างของรายได้ตาม ภ.ง.ด. 50 กับรายได้ตาม ภ.พ. 30
รายการ CIT VAT 4. กรณีฝากขายสินค้า - หลักทั่วไป รับรู้รายได้เมื่อตัวแทนขายสินค้าได้ มาตรา 78(3) ประกาศVAT (ฉบับที่ 8) 5. การให้บริการ (รายได้ค้างรับ) - เงินมัดจำ/ รายได้ รับล่วงหน้า เกณฑ์สิทธิ ตามส่วนของงานที่ทำเสร็จ ตั้งพักเป็นเจ้าหนี้ เมื่อรับชำระราคา รับรู้ VAT ซึ่งจะกลายเป็นความแตกต่างเมื่อรับชำระราคา 6. รางวัลจากการ ส่งเสริมการขาย รับรู้รายได้ ไม่นับเป็นฐานภาษี 7. ค่าปรับ/ สินไหม

27 ความแตกต่างของรายได้ตาม ภ.ง.ด. 50 กับรายได้ตาม ภ.พ. 30
รายการ CIT VAT 8. กำไรจากอัตรา แลกเปลี่ยน รับรู้รายได้ ไม่นับเป็นฐานภาษี 9. กรณีถือเป็นการ ขายสินค้า(ม.70ตรี) ส่งออกอัตรา 0 10. ขายทรัพย์สินเก่า รับรู้เฉพาะส่วนที่เป็นกำไร รับรู้ VAT ทั้งจำนวน 11. บริจาคสินค้า ถือเป็นรายจ่าย รับรู้ VAT (บางกรณี) 12. แจกสินค้า รับรู้ VAT 13. นำสินค้าไปใช้ใน กิจการ Non VAT รับรู้ VAT (ถือเป็นการขายสินค้าหรือให้บริการ) 14. ดอกเบี้ย,เงินปันผล

28 ภาษีอากรที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจ
ภาษีเงินได้นิติบุคคล – บริษัทหรือห้างฯ นิติบุคคล ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาหัก ณ ที่จ่าย ภาษีเงินได้นิติบุคคลหัก ณ ที่จ่าย ภาษีมูลค่าเพิ่ม ภาษีธุรกิจเฉพาะ อากรแสตมป์ ภาษีศุลกากร ภาษีสรรพสามิต ภาษีอากรประเภทอื่น ภาษีรถยนต์ ภาษีโรงเรือนและที่ดิน ภาษีป้าย และภาษีบำรุงท้องที่

29 หน้าที่เกี่ยวกับภาษีเงินได้นิติบุคคล
หน้าที่ในการจัดทำบัญชีตามกฎหมายว่าด้วยการบัญชี หน้าที่ในการคำนวณภาษีเงินได้นิติบุคคล หน้าที่ในการยื่นแบบและชำระภาษีเงินได้นิติบุคคล หน้าที่ในการพิสูจน์ความมีเหตุอันสมควร หน้าที่ให้ความร่วมมือกับทางราชการ

30 ประเด็นการวางแผน ภาษีเงินได้นิติบุคคล

31 หลักเกณฑ์เกี่ยวกับรอบระยะเวลาบัญชี
รายการ <12 ด. =12 ด. >12 ด. 1. เริ่มประกอบกิจการ (มาตรา 65) - 2. ที่ดำเนินกิจการเป็นปกติ (มาตรา 65) 3. ได้รับอนุมัติให้เปลี่ยนแปลงวันสุดท้าย ของรอบระยะเวลาบัญชี (มาตรา 65)  ? 4. เลิกกิจการ (มาตรา 72) ควบโอนกิจการ (มาตรา 73) 5. ได้รับอนุมัติให้ขยายรอบระยะเวลาบัญชี (มาตรา 72)  รอบระยะเวลาบัญชีที่ไม่ต้องยื่นแบบ ภ.ง.ด.51  รอบระยะเวลาบัญชีที่ต้องยื่นแบบ ภ.ง.ด.51 ? รอบระยะเวลาบัญชีที่ต้องยื่นแบบ ภ.ง.ด.51 เฉพาะในกรณีที่มี กำหนดเวลาเกินกว่า 6 เดือนเท่านั้น

32 การเลือกรอบระยะเวลาบัญชี
ควรเลือกรอบระยะเวลาบัญชีที่ตรงกับปีปฏิทิน เพราะ ความสะดวก และง่ายต่อการจดจำ ในทุกครั้งที่มีการเปลี่ยนแปลงหลักเกณฑ์ทางภาษีเงินได้นิติบุคคลมักจะกำหนดให้มีผลใช้บังคับกับรอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่มในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม มีความเป็นสากลนิยม สามารถเปรียบเทียบผลการดำเนินงานกับกิจการอื่นได้ เว้นแต่กรณีที่จำเป็นต้องใช้รอบระยะเวลาเป็นอย่างอื่นก็ให้เลือกปฏิบัติตามความต้องการ เช่น การผลิตตามฤดูกาล การเป็นส่วนหนึ่งของบริษัทร่วมบริษัทในเครือของบางประเทศ

33 การระวังให้เสียภาษีเงินได้ จากกำไรสุทธิเพียงสองระดับ
โดยทั่วไปภาษีเงินได้นิติบุคคลจัดเก็บจากกำไรสุทธิของ ‘บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล’ ตามมาตรา 65 ส่วน 3 หมวด 3 ลักษณะ 2 ประกอบมาตรา 39 โดยจัดเก็บเป็นสองระดับ คือ ระดับกำไรสุทธิของบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล ระดับเงินปันผลหรือเงินส่วนแบ่งของกำไร หรือการจำหน่ายเงินกำไรสุทธิออกจากประเทศไทย เพื่อจัดเก็บภาษีเงินได้ในอัตรา 35% เท่ากับอัตราสูงสุดของ PIT โดยทั่วไปไม่คำนึงถึงความสามารถในการเสียภาษีแต่อย่างใด 2 levels of Tax Collection from NP Thai Co. Foreign Co. in Thailand 1. ม. 65 NP - CIT 1. ม.65 NP - CIT 2. ม. 40(4)(ข) Dividend – PIT 2. ม.70 ทวิ จำหน่ายเงินกำไร - CIT

34 x ประเทศไทย ต่างประเทศ Thai Co. ltd. ม.65 ทวิ (10) บุคคลธรรมดา F + A.
Part. Gen. Co. Holding Co. Listed Co. Foreign Co. Thai Co. ltd. Co. Ltd. บุคคลธรรมดา เสีย CIT Net Profit ม.65 ทวิ (10) CIT ยกเว้น 50 % ยกเว้น 100 % ยกเว้น 100 % Retained Earnings Dividend WT.10% ม.3 เตรส Non WT. Non WT. WT. ม.70 10% x WT.10% ม.3 เตรส WT.10% ม.3 เตรส WT.10% ม.3 เตรส WT.ม.50(2) 10% WT. ม. 5o(2) 10%

35 การจัดเก็บภาษีเงินได้สองระดับ
บริษัทจำกัดที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายไทยมีผู้ถือหุ้นดังนี้ บุคคลธรรมดาที่เป็นผู้อยู่ในประเทศไทย มูลนิธิหรือสมาคมที่ประกอบกิจการซึ่งมีรายได้แต่มิใช่มูลนิธิหรือสมาคมที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังประกาศกำหนดให้เป็นองค์การกุศลสาธารณะตามมาตรา 47 (7)(ข) ห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายไทย บริษัทจำกัดที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายไทยทั่วไปที่มิใช่ Holding Co. หรือบริษัทจดทะเบียน (Listed Co.) บริษัท Holding Co. บริษัทจดทะเบียน บริษัทจำกัดที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายของต่างประเทศที่ประกอบกิจการในประเทศไทย บริษัทจำกัดที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายของค่างประเทศมิได้ประกอบกิจการในประเทศไทย และ บุคคลธรรมดาที่มิได้เป็นผู้อยู่ในประเทศไทย

36 การจัดเก็บภาษีเงินได้สองระดับ
เมื่อบริษัทจำกัดที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายไทยประกอบกิจการมีกำไรสุทธิ บริษัทมีหน้าที่เสียภาษีเงินได้นิติบุคคล ในอัตรา 30% ของกำไรสุทธิ คงเหลือเป็นกำไรสะสมจำนวน 70% ของกำไรสุทธิ กรณีบริษัทจำกัดที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายไทยนำเงินกำไรสะสมมาจ่ายเงินปันผล ต้องคำนวณหักภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ณ ที่จ่ายตามมาตรา 50(2) จากทั้งผู้ถือหุ้นที่เป็นผู้อย่างในประเทศไทยและมิได้เป็นผู้อยู่ในประเทศไทย ในอัตรา 10% ของเงินปันผล ต้องคำนวณหักภาษีเงินได้นิติบุคคล ณ ที่จ่าย ตามมาตรา 3 เตรส และคำสั่งกรมสรรพากรที่ ท.ป.4/2528 จากผู้ถือหุ้นที่เป็นมูลนิธิหรือสมาคมฯ ห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล บริษัทจำกัดที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายไทย บริษัทจำกัดที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายของต่างประเทศ ที่ประกอบกิจการในประเทศไทยตามมาตรา ในอัตรา 10% ของเงินปันผล

37 การจัดเก็บภาษีเงินได้สองระดับ
กรณีบริษัทจำกัดที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายไทยนำเงินกำไรสะสมมาจ่ายเงินปันผล (ต่อ) ต้องคำนวณหักภาษีเงินได้นิติบุคคล ณ ที่จ่าย ตามมาตรา 70 จากบริษัทจำกัดที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายของต่างประเทศ และมิได้ประกอบกิจการในประเทศไทยในอัตรา 10% ของเงินปันผล ไม่ต้องหักภาษีเงินได้นิติบุคคล สำหรับการจ่ายเงินปันผลให้แก่บริษัท Holding Co และบริษัทจดทะเบียน ทั้งนี้ ตามคำสั่งกรมสรรพากรที่ ท.ป.4/2528 การจัดเก็บภาษีเงินได้จากกำไรสุทธิเป็นสองระดับได้แก่ กรณีบริษัทผู้จ่ายเงินปันผลได้จ่ายเงินปันผลให้แก่ ผู้ถือหุ้นที่เป็นบุคคลธรรมดาทั้งทีเป็นผู้อยู่และมิได้เป็นผู้อยู่ในประเทศไทย มูลนิธิหรือสมาคมฯ และบริษัทที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายของต่างประเทศ มิได้ประกอบกิจการในประเทศไทย เป็นผลให้มีการจัดเก็บภาษีเงินได้ในระดับที่สอง ซึ่งคิดเป็น 7% ของกำไรสุทธิ รวมเป็นภาษีเงินได้ที่เรียกเก็บทั้งสิ้น 37% อันเป็นอัตราภาษีขั้นสูงสุดของการจัดเก็บภาษีเงินได้ตามประมวลรัษฎากร

38 การจัดเก็บภาษีเงินได้สองระดับ
การจัดเก็บภาษีเงินได้จากกำไรสุทธิมากกว่าสองระดับ กรณีบริษัทผู้จ่ายเงินปันผลได้จ่ายเงินปันผลให้แก่ ผู้ถือหุ้นที่เป็นบริษัท Holding Co หรือบริษัทจดทะเบียน ซึ่งบริษัทผู้จ่ายเงินปันผลไม่ต้องคำนวณหักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่าย เพราะผู้ถือหุ้นทั่งสองดังกล่าวได้รับยกเว้นไม่ต้องนำเงินปันผลในกรณีนี้ไปรวมคำนวณเพื่อเสียภาษีเงินได้นิติบุคคล ตามมาตรา 65 ทวิ (10) แต่เมื่อทั้งสองจ่ายเงินปันผลดังกล่าวให้แก่ผู้ถือหุ้นที่เป็นบุคคลธรรมดาทั้งทีเป็นผู้อยู่และมิได้เป็นผู้อยู่ในประเทศไทย มูลนิธิหรือสมาคมฯ และบริษัทที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายของต่างประเทศ มิได้ประกอบกิจการในประเทศไทย บริษัทผู้จ่ายต้องคำนวณหักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่าย เช่นเดียวกับกรณีบริษัทจำกัดที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายไทยเป็นผู้จ่ายเงินปันผลในขั้นตอนแรก ซึ่งเป็นผลให้มีการจัดเก็บภาษีเงินได้ในระดับที่สอง ซึ่งคิดเป็น 7% ของกำไรสุทธิ รวมเป็นภาษีเงินได้ที่เรียกเก็บทั้งสิ้น 37% อันเป็นอัตราภาษีขั้นสูงสุดของการจัดเก็บภาษีเงินได้ตามประมวลรัษฎากร

39 การจัดเก็บภาษีเงินได้สองระดับ
การจัดเก็บภาษีเงินได้จากกำไรสุทธิเกินกว่าสองระดับ (ต่อ) กรณีบริษัท หรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายของต่างประเทศ และประกอบกิจการในประเทศไทย ได้รับเงินปันผลจากบริษัทจำกัดที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายไทย ต้องนำเงินปันผลดังกล่าวไปรวมคำนวณเพื่อเสียภาษีเงินได้นิติบุคคลทั้งจำนวน คิดเป็นภาษีเงินได้นิติบุคคลในชั้นนี้อีก 21% ของเงินกำไร รวมกับจำนวนภาษีเงินได้นิติบุคคลที่บริษัทจำกัดผู้จ่ายเงินปันผลได้ชำระไว้แล้ว 30% เป็น 51% ของกำไรทั้งสิ้น คงเหลือเงินกำไรที่จำหน่ายไปต่างประเทศอีกเพียง 49% เมื่อนำเงินปันผลดังกล่าวมาจำหน่ายกำไรต้องเสียภาษีเงินได้นิติบุคคลอีก 10% คิดเป็น 4.9% ของกำไร รวมเป็นภาษีเงินได้นิติบุคคลทั้งสิ้น 55.9% ของกำไร ซึ่งพิจารณาได้ว่า สูงกว่าอัตราภาษีเงินได้สูงสุด 37% ถึง 18.9% การวางแผนภาษีเงินได้นิติบุคคลในกรณีนี้ คือ ไม่ควรที่บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายของต่างประเทศและเข้ามาประกอบกิจการในประเทศไทยจะลงทุนเพื่อเงินปันผลจากบริษัทจำกัดที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายไทย

40 การจัดเก็บภาษีเงินได้สองระดับ
กรณีไม่ได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลจากฐานกำไรสุทธิ สำหรับบริษัทหรือห้างฯ นิติบุคคลที่ตั้งขึ้นตาม กม.ของต่างประเทศ ส่วนของกำไรที่บริษัทจำกัดที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายไทย จะแบ่งให้แก่บริษัทหรือห้างฯ นิติบุคคลต่างประเทศ % คิดเป็นภาษีเงินได้นิติบุคคล % (1) คงเหลือเป็นเงินปันผล % คิดเป็นภาษีเงินได้จากฐานกำไรสุทธิของบริษัทหรือห้างฯ นิติบุคคลต่างประเทศ (ผู้รับ = 30% ของ 70%) % (2) คงเหลือ % คิดเป็นภาษีเงินได้นิติบุคคลจากการจำหน่ายเงินกำไร 10% 4.9% (3) คงเหลือเงินกำไรที่จำหน่ายสุทธิ % รวมเป็นภาษีเงินได้นิติบุคคลทั้งสิ้น (1) + (2) + (3) % อัตราภาษีเงินได้สูงสุด 37% ภาษีเงินได้สูงกว่าอัตราปกติ 18.9%

41 การจัดเก็บภาษีเงินได้สองระดับ
กรณีไม่ได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลจากฐานกำไรสุทธิสำหรับ เงินปันผลจากบริษัทจำกัดที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายไทย ส่วนของกำไรที่บริษัทจำกัดที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายไทยจะแบ่ง ให้แก่บริษัทหรือห้างฯ นิติบุคคลที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายไทย % คิดเป็นภาษีเงินได้นิติบุคคล % (1) คงเหลือเป็นเงินปันผล % คิดเป็นภาษีเงินได้จากฐานกำไรสุทธิของบริษัทหรือห้างฯ นิติบุคคลที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายไทย (ผู้รับ = 30% ของ 70%) 21% (2) คงเหลือ % คิดเป็นภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาหัก ณ ที่จ่าย (10%) 4.9% (3) คงเหลือเงินปันผลสุทธิ 44.1% รวมเป็นภาษีเงินได้นิติบุคคลทั้งสิ้น (1)+(2)+(3) % อัตราภาษีเงินได้สูงสุด 37% ภาษีเงินได้สูงกว่าอัตราปกติ 18.9%

42 การจัดเก็บภาษีเงินได้สองระดับ
กรณีได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลจากฐานกำไรสุทธิกึ่งหนึ่ง ของเงินปันผล สำหรับบริษัทจำกัดที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายไทย ส่วนของกำไรที่บริษัทจำกัดที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายไทย จะแบ่งให้แก่บริษัทที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายไทย % คิดเป็นภาษีเงินได้นิติบุคคล % (1) คงเหลือเป็นเงินปันผล % คิดเป็นภาษีเงินได้จากฐานกำไรสุทธิของบริษัทที่ตั้งขึ้น ตามกฎหมายไทย (ผู้รับ = 30% ของ (70/2) = 35%) % (2) คงเหลือ % คิดเป็นภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาหัก ณ ที่จ่าย (10%) % (3) คงเหลือเงินปันผลสุทธิ % รวมเป็นภาษีเงินได้นิติบุคคลทั้งสิ้น (1) + (2) + (3) % อัตราภาษีเงินได้สูงสุด 37% ภาษีเงินได้สูงกว่าอัตราปกติ 9.45%

43 ประเทศไทย ต่างประเทศ บุคคลธรรมดา Group of Person F & A Thai Co Part
J.V. Co(1) Co(2) Branch ม.66 Agent ม.76 ทวิ Gen Business International Transportation ยกเว้น CIT พรฎ. (10) ม.5 ทวิ (1) ยกเว้น CIT NP NP Gross Income CIT 30% CIT 30% CIT 3% No Tax R/E R/E Non WT. CIT ม.70ทวิ 10% ภ.ง.ด.54 ส่วน ข Non WT. WT. 10% 3 เตรส WT. ม % ภ.ง.ด.54 ส่วน ก WT. 10% ม.50(2) WT. 10% ม.50(2)

44 ความรู้เกี่ยวกับผู้มีหน้าที่เสียภาษีเงินได้นิติบุคคล
มาตรา 39 นิยาม “บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล” ขยายความ ส่วน 3 หมวด 3 ลักษณะ 2 บริษัท/ห้างฯ นิติบุคคล ที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายไทย บริษัท/ห้างฯ นิติบุคคล ที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายต่างประเทศ (ดู มาตรา 66 วรรคแรก, มาตรา 66 วรรคสอง, มาตรา 67, มาตรา 76 ทวิ, มาตรา 70 รวมทั้งมาตรา 70 ทวิ ประกอบ) กิจการที่ดำเนินงานเป็นทางการค้า /หากำไร โดยรัฐบาล ต่างประเทศ องค์การของรัฐบาลต่างประเทศ /นิติบุคคลอื่นที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายต่างประเทศ Joint Venture เทียบกับ Consortium มูลนิธิ/ สมาคมไทย ที่ประกอบกิจการซึ่งมีรายได้ เว้นแต่องค์การสาธารณกุศล

45 บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล ที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายไทย
ห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่ตั้งขึ้นตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ห้างหุ้นส่วนจำกัด ห้างหุ้นส่วนสามัญนิติบุคคล บริษัทที่ตั้งขึ้นตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บริษัทจำกัด - บริษัทเอกชน บริษัทที่ตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจำกัด (พ.ศ. 2535) บริษัทมหาชนจำกัด บริษัทจดทะเบียนตามพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (พ.ศ. 2535)

46 มูลนิธิหรือสมาคมที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายไทย
ถูกกำหนดให้เป็นบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลตามมาตรา 39 แห่งประมวลรัษฎากร เพื่อให้เป็นผู้มีหน้าที่เสี่ยภาษีเงินได้นิติบุคคลตามส่วน 3 หมวด 3 ในลักษณะ 2 แห่งประมวลรัษฎากร ทั้งนี้ เว้นแต่มูลนิธิหรือสมาคมที่ได้รับการประกาศกำหนดให้เป็นองค์การกุศลสาธารณะตามมาตรา 47(7)(ข) มูลนิธิหรือสมาคมที่ประกอบกิจการซึ่งมีรายได้ต้องเสียภาษีเงินได้นิติบุคคลจากยอดเงินได้พึงประเมินในอัตราดังต่อไปนี้ สำหรับเงินได้ตามมาตรา 40(2) – (7) 10% สำหรับเงินได้ตามมาตรา 40(8) 2% มูลนิธิหรือสมาคมมีหน้าที่เสียภาษีเงินได้นิติบุคคลรอบระยะเวลาบัญชีละครั้ง โดย ยื่นแบบ ภ.ง.ด.55 ภายใน 150 วันนับแต่วันสุดท้ายของรอบระยะเวลาบัญชี ตามมาตรา 68 มาตรา 69

47 มูลนิธิหรือสมาคมที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายไทย
มูลนิธิหรือสมาคมที่ประกอบกิจการซึ่งมีรายได้ต้องถูกหักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่าย ตามมาตรา 3 เตรส ประกอบคำสั่งกรมสรรพากรที่ ท.ป.4/2528 สำหรับเงินได้ตามมาตรา 40(2) – (8) เว้นแต่เงินได้จากการรับจ้างทำของ มาตรา 69 ทวิ 1% ของเงินได้ กรณีได้รับเงินได้จากส่วนราชการ มาตรา 69 ตรี 1% ของเงินได้ กรณีได้รับเงินได้จากการขายอสังหาริม ทรัพย์ รายได้ที่มูลนิธิหรือสมาคมได้รับยกเว้นไม่ต้องนำไปรวมคำนวณเพื่อเสียภาษีเงินได้นิติบุคคล เงินได้ตามที่ระบุไว้ในมาตรา 65 ทวิ (13) ได้แก่ ค่าลงทะเบียน ค่าบำรุงสมาชิก เงินหรือทรัพย์สินที่ได้จากการบริจาคหรือจากการให้โดยเสน่หา เงินได้จากการประกอบกิจการโรงเรียนเอกชน หรือสถาบันอุดมศึกษาเอกชนตามมาตรา 5 นว แห่งพรฎ. (ฉ.10) เงินได้ที่เป็นรางวัลสลากการกุศลงวดพิเศษตามมาตรา 5 จตุทศ แห่งพรฎ. (ฉบับที่ 10)

48 มูลนิธิหรือสมาคมที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายไทย
หลักเกณฑ์การพิจารณาประกาศกำหนดองค์การสถานสาธารณกุศล ตามมาตรา 47(7)(ข) แห่งประมวลรัษฎากร มูลนิธิที่ประสงค์จะขอให้พิจารณาประกาศเป็นองค์การหรือสถานสาธารณกุศล จะต้องมีฐานะเป็นนิติบุคคล และมีคำขอเป็นลายลักษณ์อักษรยื่นต่อกรมสรรพากร เพื่อพิจารณาเสนอกระทรวงการคลัง (ข้อ 2) วัตถุประสงค์ของมูลนิธิเพื่อการกุศลสาธารณะในประเทศไทยเท่านั้น และรายได้ของมูลนิธิจะต้องมิใช่เป็นการได้มาจากการซื้อขายหรือการให้บริการโดยมีค่าตอบแทนเป็นปกติธุระ เว้นแต่การซื้อขายหรือการให้บริการนั้นเกี่ยวข้องกับการศาสนา การศึกษา การสถานพยาบาล หรือการสังคมสงเคราะห์ และไม่นำรายได้ดังกล่าวไปจ่ายในทางอื่น (ข้อ 3) ชื่อมูลนิธิจะต้องไม่เป็นชื่อการค้าหรือเครื่องหมายการค้า (ข้อ 4) มูลนิธิที่จัดตั้งขึ้นยังไม่ครบ 3 ปี จะไม่พิจารณาประกาศให้ (ข้อ 6) องค์การสถานสาธารณกุศลใดที่มิได้มีฐานะเป็นมูลนิธิจะไม่พิจารณาประกาศให้ เว้นแต่จะมีวัตถุประสงค์และการดำเนินงานเช่นเดียวกับมูลนิธิจะพิจารณาประกาศให้เป็นรายๆ ไป ในหลักเกณฑ์เดียวกันหรือตามที่เห็นสมควร (ข้อ 7)

49 มูลนิธิหรือสมาคมที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายไทย
หลักเกณฑ์การพิจารณาประกาศกำหนดองค์การสถานสาธารณกุศล ตามมาตรา 47(7)(ข) แห่งประมวลรัษฎากร (ต่อ) กรมสรรพากรจะตรวจสอบเอกสารหลักฐานต่างๆ เกี่ยวกับการดำเนินงานของมูลนิธินั้นก่อน เช่น งบดุลและบัญชีรายได้รายจ่าย ซึ่งมีผู้สอบบัญชีรับรองแล้วโดยจะตรวจสอบย้อนหลังไปไม่ต่ำกว่า 3 ปี ถ้าปรากฏดังต่อไปนี้จะไม่ประกาศให้ (1) การดำเนินงานของมูลนิธิไม่ตรงตามวัตถุประสงค์หรือมีการใช้ชื่อมูลนิธิดำเนินงานเพื่อหาประโยชน์ส่วนตัว (2) รายได้ของมูลนิธิได้นำไปเป็นรายจ่ายเพื่อการกุศลสาธารณะน้อยกว่าร้อยละ 60 ของรายได้ทั้งสิ้นในสามรอบระยะเวลาบัญชีที่แล้วมา เว้นแต่ (2.1) ตราสารจัดตั้งระบุว่า ให้นำดอกผลมาเป็นรายได้เท่านั้นหรือให้นำดอกผลมาใช้จ่ายเท่านั้น (2.2) กรณีมีเหตุจำเป็นต้องเก็บสะสมรายได้เพื่อดำเนินการตามโครงการตามวัตถุประสงค์ของมูลนิธิ

50 มูลนิธิหรือสมาคมที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายไทย
หลักเกณฑ์การพิจารณาประกาศกำหนดองค์การสถานสาธารณกุศล ตามมาตรา 47(7)(ข) แห่งประมวลรัษฎากร (ต่อ) ถ้าปรากฏดังต่อไปนี้จะไม่ประกาศให้ (ต่อ) (3) รายจ่ายของมูลนิธิเป็นรายจ่ายเพื่อการกุศลสาธารณะน้อยกว่าร้อยละ 75 ของรายจ่ายทั้งสิ้นในสามรอบระยะเวลาบัญชีที่แล้วมา และรายจ่ายดังกล่าวได้นำไปเป็นรายจ่ายเพื่อการกุศลสาธารณะน้อยกว่าร้อยละ 65 ของรายจ่ายทั้งสิ้นในแต่ละรอบระยะเวลาบัญชี (4) รายจ่ายเพื่อการกุศลสาธารณะของมูลนิธิควรกระจายเป็นการทั่วไปตามวัตถุประสงค์ที่ได้จดแจ้งไว้ และต้องมิใช่เพื่อวัตถุประสงค์ใดวัตถุประสงค์หนึ่งที่จะให้ประโยชน์เฉพาะแก่บุคคล คณะบุคคล หรือหน่วยงานใดหน่วยงานหนึ่งหรือเป็นส่วนใหญ่ (ข้อ 5) มูลนิธิ องค์การ สถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล หรือสถานศึกษาใดที่ไม่เข้าหลักเกณฑ์ตามข้อ 2 ถึงข้อ 7 จะไม่ประกาศให้ เว้นแต่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังจะพิจารณาเห็นสมควร (ข้อ 8)

51 มูลนิธิหรือสมาคมที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายไทย
หลักเกณฑ์การพิจารณาประกาศกำหนดองค์การสถานสาธารณกุศล ตามมาตรา 47(7)(ข) แห่งประมวลรัษฎากร (ต่อ) มูลนิธิ หรือสมาคม ที่ได้รับการประกาศให้เป็นองค์การกุศลสาธารณะให้ไปแล้ว จะต้องปฏิบัติดังต่อไปนี้ (1) ใบรับที่ออกให้แก่บุคคล คณะบุคคล หรือหน่วยงานใดหน่วยงานหนึ่งซึ่งบริจาคเงินหรือทรัพย์สิน ให้ระบุลำดับที่ได้รับการประกาศด้วย (2) ส่งรายงานการประชุมใหญ่ งบดุลและบัญชีรายได้รายจ่าย พร้อมทั้งรายงานการดำเนินงานของกิจการสำหรับรอบปีบัญชีที่ผ่านไป ของผู้รับอนุมัติให้กรมสรรพากรทราบภายใน 150 วันนับแต่วันสิ้นรอบระยะเวลาบัญชี (ข้อ 9) องค์การสถานสาธารณกุศลที่ประกาศไปแล้ว ให้กรมสรรพากรดำเนิน การตรวจสอบเอกสาร หลักฐานเกี่ยวกับผลการดำเนินงาน หากปรากฏว่าผลการดำเนินงานไม่เป็นไปตามหลักเกณฑ์หรือคุณสมบัติที่กำหนดข้างต้น หรือไม่ปฏิบัติตามข้อ 9 โดยไม่มีเหตุอันสมควร ก็ให้เพิกถอนการประกาศฯ ทั้งนี้ให้มีผลตั้งแต่ปีถัดจากปีที่ประกาศเพิกถอนในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป (ข้อ 10)

52 ผู้มีหน้าที่เสียภาษีเงินได้นิติบุคคล
บริษัท/ห้างฯ นิติบุคคล ที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายต่างประเทศจะเสีย CIT ในประเทศไทยก็ต่อเมื่อ มาตรา 66 วรรคแรก กระทำกิจการในไทยแห่งเดียวโดยเฉพาะ มาตรา 66 วรรคสอง กระทำกิจการในทีอื่นรวมทั้งในไทย มาตรา 67 กระทำกิจการในทีอื่นรวมทั้งในไทย ในประเภทกิจการขนส่งระหว่างประเทศ มาตรา 76 ทวิ กระทำกิจการในไทยผ่าน ลูกจ้าง ผู้ทำการแทนหรือผู้ทำการติดต่อ (Agent) มาตรา 70 มิได้กระทำกิจการในไทยแต่ได้รับเงินได้ตามมาตรา 40 (2)(3)(4)(5) หรือ (6) ที่จ่ายจากหรือในไทย (ภาษีเงินได้ ณ ที่จ่าย: ภาษีเสร็จเด็ดขาด) รวมทั้งมาตรา 70 ทวิ กรณีจำหน่ายเงินกำไรไปต่างประเทศ

53 ผู้มีหน้าที่เสียภาษีเงินได้นิติบุคคล จากฐานกำไรสุทธิ
1. บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายไทย ไม่ว่าจะประกอบกิจการประเภทใด หรือ ณ ที่ใด 2. บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายของต่าง ประเทศ และเข้ามาประกอบกิจการในไทย ในกิจการที่มิใช่การขนส่งระหว่างประเทศ 3. กิจการที่ดำเนินเป็นทางค้าหรือหากำไรโดยรัฐบาล ตปท. องค์การของรัฐบาล ตปท. หรือนิติบุคคลอื่นที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายของ ตปท. และเข้ามาประกอบกิจการในไทย ในกิจการที่มิใช่การขนส่งระหว่างประเทศ 4. กิจการร่วมค้า (Joint Venture) (ดูกิจการ Consortium)

54 กิจการร่วมค้า (Joint Venture: JV.)
มีสถานะเป็นห้างหุ้นส่วนสามัญไม่จดทะเบียนตามมาตรา 1012 แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ลักษณะของกิจการร่วมค้า ต้องมีการร่วมกันดังนี้ ลงทุนร่วมกัน ดำเนินกิจการร่วมกันเป็นทางค้าหรือหากำไร ร่วมกันในผลการดำเนินงาน – กำไรหรือขาดทุน ร่วมรับผิดต่อบุคคลภายนอกโดยไม่จำกัดจำนวน ผู้เข้าร่วมค้า ตามมาตรา 39 แห่งประมวลรัษฎากร บริษัทกับบริษัท (ไม่ว่าจะเป็นบริษัทไทยหรือบริษัทต่างประเทศ) บริษัทกับห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล ห้างหุ้นสวนนิติบุคคลกับห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล บริษัทและหรือห้างหุ้นสวนนิติบุคคลกับ บุคคลธรรมดา คณะบุคคล ห้างหุ้นส่วนสามัญ หรือนิติบุคคลอื่น

55 กิจการร่วมค้า (Joint Venture: JV)
ความจำเป็นในการจัดตั้งกิจการร่วมค้า เนื่องจากความต้องการ ด้านเงินทุน ด้านเทคโนโลยี ด้านบุคลากร ความประสงค์ของคู่สัญญา ถูกกำหนดให้เป็น “บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล” ตามม. 39 แห่งประมวลรัษฎากร เพื่อให้มีหน้าที่เสียภาษีเงินได้นิติบุคคล ถือเป็นหน่วยทางภาษีเงินได้นิติบุคคล ที่ต้องมีและใช้เลขประจำตัวผู้เสียภาษีอากร และหน้าที่อื่นทางภาษีอากร เช่น เกี่ยวกับการหักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่าย มีหน้าที่จัดทำบัญชีและส่งงบดุลบัญชีกำไรขาดทุน ตามกฎหมายว่าด้วยการบัญชี

56 กิจการร่วมค้า (Joint Venture: JV)
ให้ยกเว้น CIT สำหรับเงินส่วนแบ่งของกำไรของกิจการร่วมค้าที่ประกอบกิจการในประเทศไทยให้แก่ผู้เข้าร่วมค้าดังต่อไปนี้ (มาตรา 5 ทวิ แห่ง พรฎ.(ฉ.10)) บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายไทย บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายของต่างประเทศและประกอบกิจการในประเทศไทย กิจการร่วมค้าแตกต่างจากกิจการ Consortium กิจการ Consortium เป็นกิจการที่เข้าร่วมกันทำสัญญาทางธุรกิจกับคู่สัญญา เพื่อให้ได้มาซึ่งงานที่ต้องทำเป็นสัดส่วนของแต่ละฝ่ายต่างหากจากกันโดยเด็ดขาด ซึ่งแต่ละฝ่ายต่างต้องรับผิดชอบในผลงานของอีกฝ่ายหนึ่งด้วย

57 ห้างหุ้นส่วนสามัญ vs. Joint Venture
รายการ ห้างหุ้นส่วนสามัญ Joint Venture 1. Tax Entity PIT CIT 2. Partner All of them are ordinary person At least 1 partner is ‘Corporate’ 3. Share of Profit ได้รับยกเว้น PIT ตามมาตรา 42(14) เป็นเงินได้ตามมาตรา 40(4)(ข) ดู ม.5 ทวิ พรฎ.(10) ม.47 ทวิ 4. สถานภาพตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ เป็นห้างหุ้นส่วนสามัญไม่จดทะเบียน เช่นเดียวกัน

58 พึงระวังมิให้เป็นตัวแทนในการประกอบกิจการ ของบริษัทต่างประเทศในไทยตามมาตรา 76 ทวิ
เงื่อนไขบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลซึ่งตั้งขึ้นตามกฎหมายของต่างประเทศตามมาตรา 76 ทวิ มีลูกจ้าง หรือผู้ทำการแทน หรือผู้ทำการติดต่อในการประกอบกิจการในประเทศไทย ซึ่งเป็นเหตุให้ได้รับเงินได้หรือผลกำไรในประเทศไทย ให้ถือว่าบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลนั้น ประกอบกิจการในประเทศไทย และ ให้ถือว่าบุคคลผู้เป็นลูกจ้าง หรือผู้ทำการแทน หรือผู้ทำการติดต่อเช่นว่านั้น ไม่ว่าจะเป็นบุคคลธรรมดา หรือนิติบุคคลเป็นตัวแทนของบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล ซึ่งตั้งขึ้นตามกฎหมายของต่างประเทศ และ ให้บุคคลนั้นมีหน้าที่ และความรับผิดในการยื่นรายการและเสียภาษีตามบทบัญญัติในส่วนนี้ เฉพาะที่เกี่ยวกับเงินได้หรือผลกำไรที่กล่าวแล้ว

59 พึงระวังมิให้เป็นตัวแทนในการประกอบกิจการ ของบริษัทต่างประเทศในไทยตามมาตรา 76 ทวิ
(ต่อ) ในกรณีลูกจ้าง หรือผู้ทำการแทน หรือผู้ทำการติดต่อในการประกอบกิจการในประเทศไทย ซึ่งเป็นเหตุให้ได้รับเงินได้หรือผลกำไรในประเทศไทย ซึ่งเป็นบุคคลผู้มีหน้าที่และความรับผิดในการยื่นรายการและเสียภาษีไม่สามารถจะคำนวณกำไรสุทธิเพื่อเสียภาษี ตามบทบัญญัติในส่วนนี้ได้ ให้นำบทบัญญัติว่าด้วยการประเมินภาษีตามมาตรา 71(1) มาใช้บังคับโดยอนุโลม (มาตรา 76 ทวิ วรรคสอง ดูเทียบเคียงกับมาตรา 66 วรรคสอง) ในกรณีการประเมินตามความในมาตรานี้ จะอุทธรณ์การประเมินก็ได้ (มาตรา 76 ทวิ วรรคท้าย)

60 อัตราภาษีเงินได้นิติบุคคล
สำหรับฐานกำไรสุทธิทางภาษีอากร (Taxable Net Profit) กรณีทั่วไป (บัญชีอัตราภาษีเงินได้) 20% NP บริษัท/ห้างฯ ไทยที่มีทุนจดทะเบียน (Capital) > 5 ล้าน บริษัท/ห้างฯ ต่างประเทศ,รัฐบาลต่างประเทศ กิจการร่วมค้า ( Joint Venture) บริษัท/ห้างฯ ไทย ที่มีทุนจดทะเบียนชำระแล้ว ≤ 5 ล้าน (SMEs) พรฎ. (431)) 15,25,30% สำหรับรอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่มใน/หลัง 1 ม.ค. 2547 พรฎ. (564,577,583)) 15,20% สำหรับรอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่มใน/หลัง 1 ม.ค. 2557 SET: Stock Exchange of Thailand (พรฎ. (387)) 25%,20% MAI: Market for Alternative Investment (พรฎ. (387)) 20%

61 ความรู้เกี่ยวกับอัตราภาษีเงินได้นิติบุคคล
สำหรับฐานกำไรสุทธิทางภาษีอากร (Taxable Net Profit) BIBF: วิเทศธนกิจ (Bangkok International Banking Facility) (พรฎ. (260)) 10% ROH: สำนักงานปฏิบัติการภูมิภาค (Regional Operating Headquarter) (พรฎ. (405))10% สำหรับรอบบัญชีที่เริ่มใน/หลัง 16 ส.ค.45 กิจการค้าน้ำมันกลางทะเล (พรฎ. (426)) สำหรับรอบบัญชีที่เริ่มใน/หลัง 1 ม.ค.47 BOI Zone 3 หลังพ้นการส่งเสริมการลงทุนได้รับยกเว้น CIT กึ่งหนึ่งเป็นเวลา 5 ปี

62 บริษัท/ห้างฯนิติบุคคล-ไทย 20% in General 15% 20% SMES พรฎ (394)
พรฎ.(389) SET 20% MAI 20% BIBF,ROH 10% BOI ยกเว้น,ลด พรฎ (10, 284) ยกเว้น กำไรสุทธิ CIT R/E:กำไรสะสม การจัดสรรกำไร ALLOCATED Legal Reserve esp. Co. 5% of NP until LS. is 10% of capital -Dividend - Share of Profit (ม.40(4)(ข) Co. Part.

63 ความรู้เกี่ยวกับอัตราภาษีเงินได้นิติบุคคล
สำหรับฐานรายได้ก่อนหักรายจ่ายใดๆ (Gross Income) มาตรา % บริษัท ตปท. ประกอบกิจการขนส่งระหว่างประทศ มาตรา 71(1) – อำนาจเจ้าพนักงานประเมิน % มาตรา 66 วรรคสอง , มาตรา 76 ทวิ % บริษัทหรือห้างฯ นิติบุคคล ตปท.ไม่สามารถคำนวณกำไรสุทธิได้ ดูคำสั่งกรมสรรพากรที่ ป.13/2529 ประกอบ กรณีมูลนิธิหรือสมาคมฯ ที่ประกอบกิจการซึ่งมีรายได้ มาตรา 40(2) - (7) %, มาตรา 40(8) % ฐานตามมาตรา 70 ค่าเช่าเรือเดินทะเลตาม พรฎ. (ฉ.425) % เงินปันผลหรือเงินส่วนแบ่งของกำไร 10% เงินได้อื่นๆ % ฐานตามมาตรา 70 ทวิ %

64 อัตราภาษีเงินได้นิติบุคคลจาก ฐานรายได้ก่อนหักรายจ่ายใดๆ
สำหรับ บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายของต่างประเทศ กระทำกิจการขนส่งผ่านประเทศต่างๆ ให้เสียภาษีเฉพาะกิจการขนส่งตามเกณฑ์ในมาตรา 67 ดังต่อไปนี้ ในกรณีรับขนคนโดยสาร ให้เสียภาษีในอัตราร้อยละ 3 ของค่าโดยสารค่าธรรมเนียม และประโยชน์อื่นใดที่เรียกเก็บในประเทศไทยก่อนหักรายจ่ายใดๆ เนื่องในการรับขนคนโดยสารนั้น ในกรณีรับขนของ ให้เสียภาษีในอัตราร้อยละ 3 ของค่าระวาง ค่าธรรมเนียม และประโยชน์อื่นใดที่เรียกเก็บไม่ว่าในหรือนอกประเทศไทยก่อนหักรายจ่ายใดๆ เนื่องในการรับขนของออกจากประเทศไทยนั้น

65 อัตราภาษีเงินได้นิติบุคคลจาก ฐานรายได้ก่อนหักรายจ่ายใดๆ
ในกรณีต่อไปนี้เจ้าพนักงานประเมินมีอำนาจประเมินภาษีในอัตราร้อยละ 5 ของยอดรายรับก่อนหักรายจ่ายใดๆ หรือยอดขายก่อนหักรายจ่ายใดๆ ของรอบระยะเวลาบัญชี แล้วแต่อย่างใดจะมากกว่า... (มาตรา 71) บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลใด ไม่ยื่นรายการซึ่งจำเป็นต้องใช้ในการคำนวณภาษีตามบทบัญญัติในส่วนนี้ หรือ มิได้ทำบัญชี หรือทำไม่ครบตามที่กำหนดไว้ในมาตรา 17 และมาตรา 68 ทวิ หรือ ไม่นำบัญชี เอกสารหรือหลักฐานอื่นมาให้เจ้าพนักงานประเมินทำการไต่สวนตามมาตรา 19 หรือมาตรา 23 (มาตรา 71(1)) มิได้ปฏิบัติตามคำสั่งของอธิบดีกรมสรรพาการซึ่งสั่งตามมาตรา 17 หรือจัดบุคคลไปปฏิบัติตามคำสั่งของอธิบดีกรมสรรพากร ณ สำนักงานของเจ้าพนักงานประเมิน ให้เสร็จภายในเวลาที่กำหนด (มาตรา 71(3))

66 อัตราภาษีเงินได้นิติบุคคลจาก ฐานรายได้ก่อนหักรายจ่ายใดๆ
กรณีต่อไปนี้ ให้นำบทบัญญัติว่าด้วยการประเมินภาษีตามมาตรา 71 (1) มาใช้บังคับโดยอนุโลม บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายของต่างประเทศ และกระทำกิจการในที่อื่นๆ รวมทั้งในประเทศไทย (มาตรา 66) หรือกระทำกิจการในประเทศไทยผ่านลูกจ้าง ผู้ทำการแทน หรือผู้ทำการติดต่อ (มาตรา 76 ทวิ) ไม่สามารถคำนวณกำไรสุทธิจากกิจการ หรือเนื่องจากกิจการที่ได้กระทำในประเทศไทยในรอบระยะเวลาบัญชี ตามมาตรา 65 และมาตรา 65 ทวิได้ สำหรับมูลนิธิหรือสมาคมที่ประกอบกิจการซึ่งมีรายได้อันมิใช่รายได้ตามมาตรา 65 ทวิ (13) ให้เสียภาษีเงินได้นิติบุคคลจากรายได้ก่อนหักรายจ่ายใดๆ ในอัตราดังต่อไปนี้ สำหรับเงินได้พึงประเมินตามมาตรา 40(2) – (7) ร้อยละ 10 สำหรับเงินได้พึงประเมินตามมาตรา 40(8) ร้อยละ 2

67 การคำนวณภาษีเงินได้นิติบุคคล
วิธีการคำนวณจำนวนภาษี (1) In general CIT amount = CIT Base x CIT Rate (2) Taxable NP Conditions - ม.65 ประเภทรายได้ เกณฑ์รับรู้รายได้ รายจ่าย - ม.65 ทวิ เงื่อนไขในการคำนวณกำไรขาดทุนสุทธิ - ม.65 ตรี รายจ่ายต้องห้าม - บทขยายความม.65 ทวิ(1) - ม.65 จัตวา ซื้อบุหรี่จากโรงงานยาสูบ กระทรวงการคลัง - ม.70 ตรี กรณีถือเป็นการขาย (Deemed Sale) - ม.74 เงื่อนไขในการคำนวณกำไรขาดทุนสุทธิ กรณีเลิกกิจการ (Dissolved) ตามมาตรา 72 หรือควบ โอนกิจการ (Amalgamation or Transferred) ตาม มาตรา 73

68 อัตราภาษีเงินได้นิติบุคคล จากฐานกำไรสุทธิ

69 บริษัทจำกัดที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายไทย
จัดตั้งตาม ปพพ. จัดตั้งตาม พรบ. บริษัทมหาชนจำกัด ทุนจดทะเบียนชำระ แล้วไม่เกิน 5 ล้าน ทุนจดทะเบียนชำระ แล้วเกินกว่า 5 ล้าน บริษัทจดทะเบียน Listed Co. บริษัทมหาชนทั่วไป SMEs ได้รับการลดอัตรา ฐานกำไรสุทธิตาม พรฎ. (ฉ.431) CIT 30% NP MAI: Market for Alternative Investment SET: Stock Exchange of Thailand Capital ≥ 300M ตั้งแต่ 6 ก.ย.2544 พรฎ. (ฉ.387) 20M ≥ Capital < 300M

70 บริษัทจดทะเบียน (Listed Co.)
N Y ระหว่าง 6 ก.ย.2544 ถึง 31 ธ.ค.2548 ก่อน 6 ก.ย.44 พรฎ. (ฉ.387) หลัง 31 ธ.ค.48 MAI * พรฎ. (ฉ.387) SET พรฎ. (ฉ.387) SET เสีย CIT ในอัตรา 25% NPจำนวน 300 ล้านบาทเป็นเวลา 5 ปีตั้งแต่รอบระยะ เวลาบัญชีที่เริ่มในหรือหลัง 6 ก.ย.44 ทั้ง MAI และ SET ไม่ได้รับการลดอัตรา CIT ยังคงเสียในอัตรา 30% NP เสีย CIT ในอัตรา 20% NP เป็นเวลา 5 ปีตั้งแต่รอบระยะ เวลาบัญชีที่เริ่มในหรือหลังวันที่จดทะเบียน MAI เสีย CIT ในอัตรา 25% NP เป็นเวลา 5 ปีตั้งแต่รอบระยะ เวลาบัญชีที่เริ่มในหรือหลังวันที่จดทะเบียน SET * MAI ถือเป็นกิจการ SMEs ประเภทหนึ่ง

71 บริษัทจดทะเบียน (Listed Co.)
ยื่นคำขอระหว่าง 1 ม.ค.2550 ถึง 31 ธ.ค.2550 และจดทะเบียนภายใน 31 ธ.ค.2551 ทั้ง MAI และ SET ไม่ได้รับการลดอัตรา CIT ยังคงเสียในอัตรา 30% ของ NP N Y เสีย CIT ในอัตรา 20% NP เป็นเวลา 3 ปีตั้งแต่รอบระยะ เวลาบัญชีที่เริ่มในหรือหลังวันที่จดทะเบียน MAI MAI* ตาม พรฎ. (ฉ.467) พ.ศ. 2550 Y N เสีย CIT ในอัตรา 25% NP เป็นเวลา 3 ปีตั้งแต่รอบระยะ เวลาบัญชีที่เริ่มในหรือหลังวันที่จดทะเบียน SET SET ตาม พรฎ. (ฉ.467) พ.ศ. 2550 Y * MAI ถือเป็นกิจการ SMEs ประเภทหนึ่ง

72 บริษัทจดทะเบียน (Listed Co.)
N ยื่นคำขอระหว่าง 1 ม.ค.2550 ถึง 31 ธ.ค.2550 จดทะเบียนภายใน 31 ธ.ค.2551 Y ไม่ได้ยื่นคำขอระหว่าง 1 ม.ค.2550 ถึง 31 ธ.ค. 48 และหรือไม่ได้จดทะเบียนภายใน 31 ธ.ค. 2551 MAI * พรฎ. (ฉ.467) SET พรฎ. (ฉ.467) เสีย CIT ในอัตรา 20% NP เป็นเวลา 3 ปีตั้งแต่รอบระยะ เวลาบัญชีที่เริ่มในหรือหลังวันที่จดทะเบียน MAI เสีย CIT ในอัตรา 25% NP เป็นเวลา 5 ปีตั้งแต่รอบระยะ เวลาบัญชีที่เริ่มในหรือหลังวันที่จดทะเบียน SET ทั้ง MAI และ SET ไม่ได้รับการลดอัตรา CIT ยังคงเสียในอัตรา 30% ของ NP * MAI ถือเป็นกิจการ SMEs ประเภทหนึ่ง

73 อัตราภาษีเงินได้นิติบุคคล จากฐานกำไรสุทธิ
3. สำหรับบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล SMEs ที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายไทย ซึ่งมีทุนจดทะเบียนชำระแล้ว ณ วันสุดท้ายของรอบระยะ เวลาบัญชีที่เริ่มในหรือหลัง 1 ม.ค เป็นต้นไป ไม่เกิน 5 ล้าบาท ให้เสียภาษีเงินได้นิติบุคคลในอัตราดังนี้ (พรฎ. (ฉบับที่ 431) พ.ศ. 2545) - สำหรับกำไรสุทธิในส่วนที่ไม่เกิน 1 ล้านบาท ให้เสียในอัตรา 15% ของ กำไรสุทธิ - สำหรับกำไรสุทธิในส่วนที่เกิน 1 ล้านบาท แต่ไม่เกิน 3 ล้าน บาท ให้ เสียในอัตรา 25% ของกำไรสุทธิ - สำหรับกำไรสุทธิในส่วนที่เกิน 3 ล้านบาท ให้เสียในอัตรากติ 30% ของกำไรสุทธิ

74 อัตราภาษีเงินได้นิติบุคคล จากฐานกำไรสุทธิ
4. สำหรับบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล ที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายไทย (ตามพรฎ. (ฉบับที่ 466) พ.ศ. 2550) ที่ประกอบกิจการใน “เขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจ” หรือท้องที่จังหวัดนราธิวาส จังหวัดปัตตานี จังหวัดยะลา จังหวัดสงขลาเฉพาะในท้องที่อำเภอจะนะ อำเภอนาทวี อำเภอสะบ้าย้อย และอำเภอเทพา และจังหวัดสตูล ให้เสียภาษีเงินได้นิติบุคคลในอัตราร้อยละ 3.0 ของกำไรสุทธิ ให้แก่บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลซึ่งมีสถานประกอบกิจการตั้งอยู่ในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจและมีรายได้ที่เกิดขึ้นจากการผลิตสินค้า หรือการขายสินค้าในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจ หรือการให้บริการในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจ ตั้งแต่รอบระยะเวลาบัญชี 2550 ที่เริ่มในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2550 ถึงรอบระยะเวลาบัญชี 2552 ที่สิ้นสุดภายในหรือหลังวันที่ 31 ธันวาคม 2552 ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่อธิบดีประกาศกำหนด

75 CIT ในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจ
การประกอบกิจการของบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจตามพรฎ. (ฉบับที่ 466) พ.ศ. 2550) คำว่า “การขาย” หมายความว่า การจำหน่าย จ่าย หรือโอนสินค้า โดยมีหรือไม่มีประโยชน์หรือค่าตอบแทน สัญญาให้เช่าซื้อสินค้า สัญญาซื้อขายผ่อนชำระที่กรรมสิทธิ์ในสินค้ายังไม่โอนไปยังผู้ซื้อเมื่อมีการส่งมอบสินค้าให้แก่ผู้ซื้อ และการส่งสินค้าออกนอกราชอาณาจักร แต่ทั้งนี้ไม่รวมถึงการขายสินค้าที่ผู้ขายมิได้เป็นผู้ผลิตสินค้าและมีการส่งออกสินค้าโดยทางน้ำหรือทางอากาศ กรณีการให้บริการ หากผู้ให้บริการมีสถานประกอบกิจการในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจ การใช้บริการต้องเกิดขึ้นในราชอาณาจักร แต่ถ้าผู้ให้บริการมีสถานประกอบกิจการทั้งในและนอกเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจ การให้บริการและการใช้บริการนั้นต้องเกิดขึ้นในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจเท่านั้น

76 CIT ในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจ
การคำนวณกำไรและขาดทุนของบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่มีสถานประกอบกิจการตั้งอยู่ในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจ ต้องเป็นไปตามหลักเกณฑ์และเงื่อนไขในมาตรา 65 มาตรา 65 ทวิ และมาตรา 65 ตรี กรณีบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลซึ่งประกอบกิจการทั้งที่มีรายได้จากการประกอบกิจการตั้งอยู่ในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจ และรายได้จากกิจการอื่น (รายได้ของกิจการซึ่งไม่ใช่รายได้ที่ได้รับการลดอัตราภาษีเงินได้ตามมาตรา 5 แห่งพรฎ (ฉบับที่ 466) พ.ศ. 2550) ให้บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลดังกล่าวคำนวณกำไรสุทธิและขาดทุนสุทธิของแต่ละกิจการแยกต่างหากจากกัน หากรายจ่ายใดไม่สามารถแยกกันได้โดยชัดแจ้งว่าส่วนใดเป็นรายจ่ายของกิจการใด ให้บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลเฉลี่ยรายจ่ายดังกล่าวตามส่วนของรายได้ระหว่างรายได้จากการประกอบกิจการตั้งอยู่ในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจ และรายได้จากกิจการอื่น ประกาศอธิบดีกรมสรรพากร เกี่ยวกับภาษีเงินได้ (ฉบับที่ 164) ลงวันที่ 18 ตุลาคม 2550

77 CIT ในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจ
ให้ผู้ประกอบกิจการผลิตสินค้า การขายสินค้าหรือการให้บริการที่มีสถานประกอบกิจการตั้งอยู่ในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจ ยื่นแบบแสดงรายการ ภ.ง.ด.50 พร้อมทั้งบัญชีงบดุล และบัญชีกำไรขาดทุน ภายใน 150 วันนับแต่วันสุดท้ายของรอบระยะเวลาบัญชีพร้อมกับชำระภาษีตามมาตรา 68 และมาตรา 69 และ ยื่นแบบแสดงรายการ ภ.ง.ด.51 ภายในสองเดือนนับแต่วันสุดท้ายของรอบระยะเวลาหกเดือนนับแต่วันแรกของรอบระยะเวลาบัญชี พร้อมกับชำระภาษีตามมาตรา 67 ทวิ กรณีที่มีรายได้จากการประกอบกิจการตั้งอยู่ในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจ และรายได้จากกิจการอื่น ให้บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลดังกล่าวยื่นแบบแสดงรายการภาษีเงินได้ของบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลและให้ใช้เลขประจำตัวผู้เสียภาษีอากรเดียวกัน โดยให้แยกกระดาษทำการซึ่งแสดงรายละเอียดการคำนวณกำไรขาดทุนของแต่ละกิจการออกจากกัน

78 สรุปการลดอัตราภาษีสำหรับการประกอบกิจการในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจ
ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาสำหรับการขายสินค้าหรือการให้บริการที่มีสถานประกอบกิจการตั้งอยู่ในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจ สำหรับเงินได้พึงประเมินตามมาตรา 40 (7) และ (8) เมื่อถึงกำหนดยื่นรายการเพื่อเสียภาษีเงินได้ จะเลือกเสียภาษีเงินได้ในอัตรา 0.1% ของเงินได้พึงประเมินโดยไม่ต้องนำไปรวมคำนวณเพื่อเสียภาษีตามมาตรา 48 (1) และ (2) ก็ได้ ทั้งนี้ สำหรับเงินได้ที่เกิดขึ้นตั้งแต่ปี 2550 ถึง 2552 (มาตรา 4) ลดอัตราภาษีเงินได้ในการหักภาษี ณ ที่จ่าย ตามมาตรา 50 (5) และคงจัดเก็บในอัตราไม่เกิน 0.1% ของเงินได้ สำหรับเงินได้พึงประเมินที่ได้รับจากการขายอสังหาริมทรัพย์ที่ตั้งอยู่ในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจ ทั้งนี้ สำหรับเงินได้ที่เกิดขึ้นตั้งแต่ปี 2550 ถึง 2552 (มาตรา 6) และให้มีสิทธิเลือกเสียภาษีเงินได้เท่าที่ถูกหัก ณ ที่จ่ายดังกล่าว โดยไม่ต้องนำเงินได้ไปรวมคำนวณเพื่อเสียภาษีเงินได้ตามมาตรา 48 (1)(2) และ (4) ทั้งนี้ เฉพาะกรณีที่ผู้มีเงินได้ไม่ขอรับเงินภาษีที่ถูกหักไว้คืนหรือไม่ขอเครดิตเงินภาษีที่ถูกหักไว้นั้นไม่ว่าทั้งหมดหรือบางส่วน (มาตรา 7)

79 สรุปการลดอัตราภาษีสำหรับการประกอบ กิจการในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจ
ภาษีเงินได้นิติบุคคล สำหรับการขายสินค้าหรือการให้บริการที่มีสถานประกอบกิจการตั้งอยู่ในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจ ให้ลดอัตราภาษีเงินได้นิติบุคคล สำหรับบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลทีมีทุนจดทะเบียนชำระแล้วไม่เกิน 5 ล้านบาทในวันสุดท้ายของรอบระยะเวลาบัญชี และคงจัดเก็บในอัตรา 3.0% ของกำไรสุทธิ ให้แก่บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลซึ่งมีสถานประกอบกิจการตั้งอยู่ในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจและมีรายได้ที่เกิดขึ้นจากการผลิตสินค้า หรือการขายสินค้าในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจ หรือการให้บริการในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจ ตั้งแต่รอบระยะเวลาบัญชี 2550 ที่เริ่มในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2550 ถึงรอบระยะเวลาบัญชี 2552 ที่สิ้นสุดภายในหรือหลังวันที่ 31 ธันวาคม 2552 ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขตามประกาศอธิบดีกรม สรรพากร เกี่ยวกับภาษีเงินได้ (ฉบับที่ 164) ลงวันที่ 18 ตุลาคม 2550

80 สรุปการลดอัตราภาษีสำหรับการประกอบ กิจการในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจ
สรุปการลดอัตราภาษีสำหรับการประกอบ กิจการในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจ ภาษีธุรกิจเฉพาะ สำหรับการขายอสังหาริมทรัพย์ที่ตั้งอยู่ในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจ ให้ลดอัตราภาษีธุรกิจเฉพาะตามมาตรา 91/6 (3) และคงจัดเก็บในอัตรา 0.1% สำหรับรายรับจากการขายอสังหาริมทรัพย์เป็นทางค้าหรือหากำไรตามมาตรา 91/2 (6) ทั้งนี้ เฉพาะการขายอสังหาริมทรัพย์ที่ตั้งอยู่ในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจที่ได้กระทำในระหว่างวันที่ 1 มกราคม 2550 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2552

81 เปรียบเทียบจำนวน CIT ช่วงกำไรสุทธิ Difference % CIT Amnt. 1-1,000,000
1,000,001-3,000,000 3,000,001… 15 25 30 150,000 500,000 - 300,000 600,000 50,000 Total 650,000 900,000 250,000 SMEs General

82 เปรียบเทียบจำนวน CIT: SMEs vs PIT
% CIT Amount 10% Dividend Total PIT Amount ,000 100, ,000 500,001- 1,000,000 1,000,001- 3,000,000 3,000,001- 4,000,000 15 25 30 15,000 60,000 75,000 500,000 300,000 8,500 34,000 42,500 150,000 70,000 23,500 94,000 117,500 650,000 370,000 5 10 20 - 40,000 100,000 600,000 54,000 17,500 50,000 950,000 305,000 1.255,000 1040,000 215,000 4,000,001… 30% 7% 37% 37 ช่วงกำไรสุทธิ Difference

83 รายการเปรียบเทียบสิทธิประโยชน์ทางภาษี CIT
บริษัท/ ห้างฯ ไทย บริษัท/ ห้างฯ ตปท. 1. ทุนจดทะเบียนชำระแล้ว ณ วัน สุดท้ายของรอบบัญชี ≤ 5M CIT อ้ตราก้าวหน้าตาม พรฎ. (ฉ.431) 30% NP 2. ประกอบกิจการโรงเรียนเอกชน, In-house Training ยกเว้น CIT ตาม พรฎ. (ฉ.284) 2538 เช่นเดียวกัน 3. ประกอบกิจการที่ได้รับการ ส่งเสริมการลงทุน ยกเว้น CIT ตาม พรบ. BOI 2520 4. ประกอบกิจการ BIBF 10% NP ตาม พรฎ. (ฉ.260) 2535 5. ประกอบกิจการขนส่งระหว่าง ประเทศทางทะเล ยกเว้น CIT ตาม พรฎ. (ฉ.314)2540 CIT 3% ตามม.67 (ดู DTA) 6. ประกอบกิจการ ROH 10% NP ตาม พรฎ. (ฉ.405) 2545 ไม่ได้สิทธิประ โยชน์ 7. ประกอบกิจการค้าน้ำมันกลาง ทะเล 10% NP ตาม พรฎ. (ฉ.426) 2547

84 ผู้สอบ บ/ช เฉพาะห้างฯ ไม่ต้องมี CPA
SMEs (Small & Medium Enterprises) พรบ.การบัญชี 2543 พรฏ, (ฉ.431) พรฏ (ฉ.145) (395) ม.4 จัตวา , 4ฉ ม.3 สัตต แห่ง ปรก. ม.81/1 พรฎ (ฉ432) บ./ห้างฯ ไทย 1.Capital ≤ 5M 2.Income≤ 30M 3.Assets ≤ 30M เฉพาะห้างฯ ไทย 1.Capital ≤ 5M 2.Income≤ 30M 3.Assets ≤ 30M บ./ห้างฯ -ไทย Capital ≤ 5 M Eff. รอบ บ/ช ที่ เริ่ม/ใน/หลัง 1 ม.ค. 2547 บ./ห้างฯ ใดๆ 1. ลูกจ้าง≤200 คน 2. A/S ไม่รวมที่ดิน ≤ 200 ล้าน Eff. 31 ม.ค. 2545 กิจการขยาดย่อม รายได้จากการ ขาย ส/ค ส่งออกและให้บริการ ≤ 1.8 M/ปี จะใช้ CPA หรือ TA ทำการตรวจสอบและรับรอง บ/ช ก็ได้ ผู้ทำบัญชี ปวส.(บ/ช) ลด CIT 15%,25%, 30% Comp. ไม่รวม Software Plant Machine ยกเว้น VAT ม.81/3(2) มีสิทธิขอเสีย VAT ผู้สอบ บ/ช เฉพาะห้างฯ ไม่ต้องมี CPA ดู ทป.98/2544 ท.ป.122/2545 ท.ป.123/2545 Initial 40% Bal 3 ปี Initial 25% Bal 20 ปี Initial 40% Bal 5 ปี

85 การวางแผนปรับปรุงกำไรสุทธิทางบัญชี ให้เป็นกำไรสุทธิทางภาษีอากร
กำไรสุทธิหรือขาดทุนสุทธิทางภาษีอากร หมายถึง กำไรสุทธิหรือขาดทุนสุทธิที่คำนวณได้จากรายได้จากกิจการ หรือรายได้เนื่อง จากกิจการที่ได้กระทำในรอบระยะเวลาบัญชี ซึ่งรับรู้ตามเกณฑ์สิทธิ (Accrual Basis) หรือเกณฑ์อื่นตามคำสั่งกรมสรรพากรที่ ท.ป.1/2528 หักด้วยรายจ่ายทั้งสิ้นที่เกี่ยวกับรายได้ (Matching Principle) ซึ่งเป็นไปตามมาตรา 65 ทวิ และมาตรา 65 ตรี แห่งประมวลรัษฎากร มาตรา 65 ทวิ = กฎหมายทั่วไป มาตรา 65 จัตวา มาตรา 70 ตรี และมาตรา 74 = กฎหมายพิเศษ

86 ความสัมพันธ์ของกำไรสุทธิทางบัญชีกับกำไรสุทธิทางภาษีอากร
Financial Transactions GAAP : Generally Accepted Accounting Principle บันทึกรายการทางการเงินที่เกิดขึ้นในรอบ ระยะเวลาบัญชีทุกรายการตามหลักการ บัญชีคู่ (Double Entry A/C System) งบดุล งบกำไรขาดทุน (กำไรสุทธิหรือขาดทุนสุทธิทางบัญชี/ การเงิน) ตรวจสอบและรับรองบัญชีโดย CPA/ TA นำเสนอต่อผู้เป็นเจ้าของ สาธารณชนโดย ผ่านกระทรวงพาณิชย์ และกรมสรรพากร 1 2 3 ปรับปรุงให้เป็นไปตาม Tax Issues เงื่อนไขทางภาษีอาการตามมาตรา 65, 65 ทวิ, 65 ตรี, 65 จัตวา, 70 ตรี, 74 เงื่อนไขเกี่ยวกับรายได้ เงื่อนไขเกี่ยวกับรายจ่าย หลักเกณฑ์ ในการตีราคา ท/ส และหนี้สิน กำไรสุทธิหรือขาดทุนสุทธิทางภาษีอากร นำไปคำนวณภาษีเงินได้นิติบุคคล เพื่อยื่น แบบ ภ.ง.ด.50 และ ภ.ง.ด.51

87 ความแตกต่างของรายได้ รายจ่ายทางบัญชี กับรายได้ รายจ่ายทางภาษีอากร
ความแตกต่างของรายได้ รายจ่ายทางบัญชี กับรายได้ รายจ่ายทางภาษีอากร รายได้ ทางบัญชี (Taxable) รายจ่าย รับรู้ทั้งรายได้และรายจ่าย ไม่รับรู้ทั้งรายได้และรายจ่าย รับรู้ทั้ง และ บัญชี ภาษี บัญชี ภาษี รายได้   (ไม่ต้องปรับปรุงใดๆ) รายได้  ✕ (ปรับปรุงหักออก) รายจ่าย   รายจ่าย  ✕ (ปรับปรุงบวกกลับ) ไม่รับรู้ทั้ง บัญชี ภาษี บัญชี ภาษี รายได้ ✕  (ปรับปรุงบวกเพิ่ม) รายได้ ✕ ✕ รายจ่าย ✕  รายจ่าย ✕ ✕ ทางบัญชี (Financial)

88 เงื่อนไขเกี่ยวกับรายได้
1. มาตรา 65 ประเภทรายได้ รายได้จากกิจการ, รายได้เนื่องจากกิจการ เกณฑ์รับรู้รายได้ (ท.ป.1/2528 ป.36/2536 ป.61/2539 ป.73/2541) 2. มาตรา 65 ทวิ (4) ผลตอบแทนจากการดำเนินกิจการดังต่อไป นี้ต้องเป็นไปตามราคาตลาด โอนทรัพย์สิน (ขายสินค้า) ให้บริการ และ ให้กู้ยืมเงิน 3. มาตรา 65 ทวิ (10) เงินปันผลหรือเงินส่วนแบ่งของกำไร สำหรับบริษัทจำกัดที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายไทย 4. มาตรา 65 ทวิ (11) ดอกเบี้ยที่อยู่ในบังคับที่ต้องถูกหักภาษี ณ ที่จ่ายตามกฎหมายว่าด้วยภาษีเงินได้ปิโตรเลียม

89 เงื่อนไขเกี่ยวกับรายได้ (2)
5. มาตรา 65 ทวิ (12) เงินปันผลที่อยู่ในบังคับที่ต้องถูกหักภาษี ณ ที่จ่ายตามกฎหมายว่าด้วยภาษีเงินได้ปิโตรเลียม 6. มาตรา 65 ทวิ (14) ภาษีขายไม่ใช่รายได้ 7. มาตรา 65 จัตวา เครดิตภาษีที่ได้จากโรงงานยาสูบ 8. มาตรา 70 ตรี กรณีที่กฎหมายกำหนดให้ถือเป็นการขาย เนื่องจากการส่งสินค้าออกไปต่างประเทศ 9. มาตรา 74 การคำนวณกำไรสุทธิ กรณีบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลเลิก ควบ หรือโอนกิจการ

90 เงื่อนไขเกี่ยวกับรายได้ (3)
10. การยกเว้นรายได้ พรฎ. (ฉ.10) - เงินส่วนแบ่งของกำไรจากกิจการร่วมค้า (มาตรา 5 ทวิ) - เงินรางวัลสลากการกุศลงวดพิเศษ (มาตรา 5 จตุทศ) พรฎ. (ฉ.263) เงินปันผลหรือเงินส่วนแบ่งของกำไรจากกองทุนรวมที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พรฎ. (ฉ.284) เงินปันผลหรือเงินส่วนแบ่งของกำไรจากกิจการโรงเรียนเอกชน สถาบันอุดมศึกษาเอกชน และกิจการ In-house Training พรฎ. (ฉ.314) เงินปันผลหรือเงินส่วนแบ่งของกำไรจากกิจการเรือเดินทะเล

91 เงื่อนไขเกี่ยวกับรายจ่าย
1. ประเภทของรายจ่าย รายจ่ายอันมีลักษณะเป็นการลงทุน (มาตรา 65 ตรี (5) พรฎ. (ฉ. 375) ประกาศอธิบดีเกี่ยวกับภาษีเงินได้ (ฉบับที่ 92) รายจ่ายในการดำเนินงาน 2. มาตรา 65 ทวิ (2) ค่าสึกหรอและค่าเลื่อมราคาทรัพย์สิน ดู พรฎ. (ฉ.145) (ฉ.385) (ฉ.395) และ ป. 3/2527 ประกอบ 3. มาตรา 65 ทวิ (7) ราคาทุนของสินค้าที่ส่งเข้ามาจากต่างประเทศ อำนาจเจ้าพนักงานประเมิน - Anti Transfer Pricing 4. มาตรา 65 ทวิ (8) ราคาทุนของสินค้าที่เป็นเงินตราต่างประเทศ การบันทึกราคาซื้อสินค้าที่นำเข้า 5. มาตรา 65 ทวิ (9) การจำหน่ายหนี้สูญออกจากบัญชีลูกหนี้ ดูกฎกระทรวง ฉบับที่ 186 ประกอบ

92 เงื่อนไขเกี่ยวกับรายจ่าย
6. มาตรา 65 ทวิ (1) = มาตรา 65 ตรี (1) – (20) รายจ่ายต้องห้าม 7. มาตรา 74 การคำนวณกำไรสุทธิ กรณีบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลเลิก ควบ หรือโอนกิจการ 8. รายจ่ายที่หักได้เพิ่มขึ้น มาตรา 65 ตรี (12) ผลขาดทุนสุทธิยกมาไม่เกิน 5 ปี พรฎ. (ฉ.437) - Public Training - In-house Training - ฝึกอบรมอาชีพแก่บุคคลภายนอก พรฎ. (ฉ.297) R&D Fee พรบ. ฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการ (พ.ศ.2534) พรบ. ส่งเสริมการลงทุน – ค่าขนส่ง และค่า Infra Structure

93 หลักเกณฑ์ในการตีราคาทรัพย์สินและหนี้สิน
1. มาตรา 65 ทวิ (3) การตีราคาสินค้าอย่างอื่นที่ไม่ใช่เงินตราต่างประเทศและสินค้าคงเหลือ 2. มาตรา 65 ทวิ (5) การตีราคาเงินตรา ทรัพย์สิน หรือหนี้สินที่มีค่าหรือราคาเป็นเงินตราต่างประเทศ เพียง ณ วันสุดท้ายของรอบระยะเวลาบัญชี ณ วันที่ได้มาหรือจ่ายไประหว่างรอบระยะเวลาบัญชี 3. มาตรา 65 ทวิ (6) การตีราคาสินค้าคงเหลือ 4. มาตรา 74(1) การตีราคาทรัพย์สินเพื่อการคำนวณกำไรสุทธิ กรณีบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลเลิก ควบ หรือโอนกิจการ

94 เงื่อนไขในการคำนวณกำไรสุทธิ (1)
เงื่อนไขเกี่ยวกับ (1) = 65 ตรี (1) – (20) รายจ่ายต้องห้าม (2) ค่าสึกหรอและค่าเสื่อมราคาทรัพย์สิน (3) การตีราคาทรัพย์สินอย่างอื่นที่มิใช่สินค้าคงเหลือ (4) การรับรู้รายได้ตามราคาตลาด (5) ตีราคาเงินตรา ทรัพย์สิน หนี้สินที่มีค่าหรือราคา เป็นเงินตรา ตปท. (6) การตีราคาสินค้าคงเหลือ (7) ราคาทุนของสินค้าที่ส่งเข้ามาจาก ตปท. (8) ราคาทุนของสินค้าที่เข้ามาจาก ตปท. (9) การจำหน่ายหนี้สูญจากบัญชีลูกหนี้ (10) เงินปันผลหรือเงินส่วนแบ่งของกำไรสำหรับ บริษัทไทย หลักเกณฑ์ตามมาตรา 65 ทวิ รายได้ รายจ่าย ตีราคา ท/ส น/ส (Anti Transfer Pricing)

95 เงื่อนไขในการคำนวณกำไรสุทธิ (1)
เงื่อนไขเกี่ยวกับ (11) ดอกเบี้ยที่อยู่ในบังคับที่ต้องหักภาษี ณ ที่จ่าย ตามกม.ภาษีเงินได้ปิโตรเลียม (12) เงินปันผลที่อยู่ในบังคับที่ต้องหักภาษี ณ ที่จ่าย (13) รายได้ของมูลนิธิหรือสมาคม (14) ภาษีขายไม่ใช่รายได้ - มาตรา 65 จัตวา รายได้เครดิตภาษีจากการซื้อบุหรี่ ของโรงงานยาสูบ มาตรา 70 ตรี กรณีที่กม.ถือเป็นการขาย มาตรา 74 การคำนวณกำไรขาดทุน กรณีเลิกกิจการ ควบกิจการ หรือโอนกิจการ หลักเกณฑ์ตามมาตรา 65 ทวิ รายได้ รายจ่าย ตีราคา ท/ส น/ส Deemed Sale

96 ประเภทรายได้และเกณฑ์รับรู้รายได้รายจ่าย
ประเภทรายได้ทางภาษีอากร จำแนกออกเป็น 2 ประเภท คือ 1. รายได้จากกิจการ หมายถึง รายได้จากการดำเนินกิจการตามกรอบวัตถุประสงค์ เช่น การขายสินค้า การให้บริการ การส่งออก 2. รายได้เนื่องจากกิจการ หมายถึง รายได้ที่ไม่ได้มุ่งประสงค์จะก่อให้เกิดขึ้นโดยตรงจากประกอบกิจการ เช่น กำไรจากการขายทรัพย์สิน กำไรจากอัตราแลกเปลี่ยน ค่าปรับเนื่องจากการผิดสัญญา เกณฑ์รับรู้รายได้-รายจ่าย เป็นไปตามมาตรา 65 คำสั่งกรมสรรพากรที่ ท.ป.1/2528 (ดู ป.39/2536 ป.61/2539 และ ป.73/2541 ประกอบ)

97 เกณฑ์รับรู้รายได้รายจ่าย
เกณฑ์รับรู้รายได้รายจ่ายในการคำนวณกำไรสุทธิเพื่อการเสียภาษีเงินได้นิติบุคคล เป็นไปตามม. 65 ซึ่งมีผลใช้บังคับตั้งแต่ 1 มกราคม 2528 เป็นต้นมา ที่โดยทั่วไปกำหนดให้ใช้เกณฑ์สิทธิ เว้นแต่ในกรณีจำเป็น ผู้มีเงินได้จะขออนุมัติต่ออธิบดีเพื่อเปลี่ยน แปลงเกณฑ์และวิธีการทางบัญชี เพื่อคำนวณรายได้และรายจ่ายดังกล่าวก็ได้

98 ม.77/1(8)(ข) ม.78(3) ม.78(1) ตัวการ (Principal) Consignor ฝากขายสินค้า
Consignment Sale ตัวแทน (Agent) Consignee Discount Store Department Store Convenience Store ม.77/1(8)(ข) ถือเป็นการขายสินค้า (Deemed Sale) ม.78(3) ม.78(1) Y เป็นไปตามประกาศ VAT (ฉบับที่ 8) N - Tax Point: เมื่อตัวแทนส่งมอบ สินค้าให้ลูกค้า - ตัวแทนต้องออกใบกำกับแบบ เต็มรูปเท่านั้น - ตัวแทนต้องจัดทำรายงานสินค้า และวัตถุดิบแทนตัวการ Tax Point: เมื่อส่งมอบสินค้า ให้ตัวแทน ออกใบกำกับภาษี ออกใบลดหนี้เมื่อคืนสินค้า ดูข้อ 3.3 วรรคสอง ของคำสั่ง กรมสรรพากรที่ ท.ป.1/2528 ดูข้อ 3.3 วรรคแรก ของคำสั่ง กรมสรรพากรที่ ท.ป.1/2528

99 เกณฑ์รับรู้รายได้รายจ่าย
2. เกณฑ์เงินสด (Cash Basis) หมายถึง เกณฑ์รับรู้รายได้ที่เกิดขึ้นในรอบระยะเวลาบัญชี เฉพาะที่ได้รับชำระแล้ว มาถือเป็นรายได้ในรอบระยะเวลาบัญชีนั้น และรับรู้รายจ่ายทั้งสิ้นที่เกี่ยวกับรายได้ซึ่งเป็นไปตามเงื่อนไขในมาตรา 65 ทวิ และมาตรา 65 ตรี ไม่ว่าจะได้ชำระหนี้แล้วหรือไม่ มาถือเป็นรายจ่ายในรอบระยะเวลาบัญชีนั้น เกณฑ์เงินสดให้ใช้กับกิจการดังต่อไปนี้ (1) กิจการธนาคารพาณิชย์ บริษัทเงินทุน หลักทรัพย์ เครดิต ฟองซิเอร์ เฉพาะรายได้ที่เป็นดอกเบี้ยค้างรับหลังจากที่ลูกหนี้ผิดนัดชำระหนี้ติดต่อกันเกินกว่า 3 เดือน (ข้อ 3.1 วรรคแรก)

100 เกณฑ์รับรู้รายได้รายจ่าย
2. เกณฑ์เงินสด (ต่อ) (2) กิจการประกันภัย ธุรกิจบัตรเครดิต หรือกิจการอื่นทำนองเดียวกัน เฉพาะรายได้ที่ เป็นดอกเบี้ยค้างรับหลังจากที่ลูกหนี้ผิดนัดชำระหนี้ติดต่อกันเกินกว่า 6 เดือน โดยลูกหนี้ดังกล่าว เป็นลูกหนี้ที่คาดหมายได้แน่นอนว่าจะไม่ได้รับชำระหนี้ และ มีกรณีที่แสดงให้เห็นชัดแจ้งว่า ลูกหนี้ไม่มีเงินหรือทรัพย์สินเพียงพอที่จะชำระหนี้ เช่น มีหลักประกันไม่คุ้มกับหนี้ที่ต้องชำระ ดำเนินกิจการขาดทุนติดต่อกันหลายปี หรือเลิกกิจการ อยู่ระหว่างชำระบัญชี ได้ดำเนินคดีแพ่งหรือได้ยื่นคำขอเฉลี่ยแล้ว ได้ดำเนินคดีล้มละลาย หรือได้ยื่นคำขอรับชำระหนี้แล้ว (ข้อ 3.1 วรรคสอง)

101 การรับรู้ดอกเบี้ยเงินให้กู้ยืมค้างรับ
ส่วนที่เกินกว่า 3 เดือนให้รับรู้รายได้ตามเกณฑ์เงินสด ตามเกณฑ์ในข้อ 3.1 วรรคแรก ธนาคารพาณิชย์ บริษัทเงินทุน บริษัทหลักทรัพย์ บริษัทเครดิต ฟองซิเอร์ Y N บริษัทประกันภัย ธุรกิจบัตรเครดิต ส่วนที่เกินกว่า 6 เดือนให้รับรู้รายได้ตามเกณฑ์เงินสด ตามเกณฑ์ในข้อ 3.1 วรรคสอง Y N บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลอื่นใดนอกจากที่กล่าวข้างต้น ให้รับรู้รายได้ตามเกณฑ์เงินสด ตามเกณฑ์สิทธิในข้อ 2.

102 เกณฑ์รับรู้รายได้รายจ่าย
2. เกณฑ์เงินสด (ต่อ) (3) กิจการประกันชีวิต สำหรับรายได้ค่าเบี้ยประกันชีวิต (4) บริษัทบริหารสินทรัพย์ เฉพาะสำหรับรายได้จากการบริหารสินทรัพย์ด้อยคุณภาพที่รับโอนจากสถาบันการเงิน (5) กิจการวิชาชีพอิสระ กำหนดให้เลือกรับรู้รายได้ตามเกณฑ์เงินสด หรือเกณฑ์สิทธิ ตั้งแต่เริ่มรอบระยะเวลาบัญชีปีแรก และถือปฏิบัติตามเกณฑ์ที่เลือกนั้นตลอดไป นับแต่รอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่มในหรือหลัง 1 ม.ค เป็นต้นไป ไม่มีสิทธิเลือกรับรู้รายได้ดังกล่าว ต้องใช้เกณฑ์สิทธิในการคำนวณรายได้และรายจ่ายเท่านั้น

103 เกณฑ์รับรู้รายได้รายจ่าย
3. เกณฑ์ผ่อนชำระ (Installment Method) (1) กิจการให้เช่าซื้อ หรือซื้อขายผ่อนชำระที่กรรมสิทธิ์ยังไม่โอนไปยังผู้ซื้อ และมีอายุสัญญาเกินหนึ่งรอบระยะเวลาบัญชี ก่อนรอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่มในหรือหลัง 1 ม.ค.2550 ให้รับรู้รายได้ตามเกณฑ์ผ่อนชำระ โดยให้นำกำไรขั้นต้นมาจัดสรรเป็นรายได้ในแต่ละรอบระยะเวลาบัญชีตามงวดที่ถึงกำหนดชำระ ตั้งแต่รอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่มในหรือหลัง 1 ม.ค.2550 ให้รับรู้รายได้ตามเกณฑ์ผ่อนชำระ โดยต้องนำกำไรที่เกิดจากการขายมารวมคำนวณเป็นรายได้ทั้งจำนวนในรอบระยะเวลาบัญชีที่มีการให้เช่าซื้อหรือขายผ่อนชำระ สำหรับดอกผลเช่าซื้อหรือขายผ่อนชำระให้นำมารวมคำนวณเป็นรายได้แต่ละงวดตามวิธีการทางบัญชีที่รับรองทั่วไป

104 เกณฑ์รับรู้รายได้รายจ่าย
3. เกณฑ์ผ่อนชำระ (Installment Method) ตั้งแต่รอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่มในหรือหลัง 1 ม.ค.2550 (ต่อ) คำว่า “กำไรที่เกิดจากการขาย” หมายความว่า ผลต่างระหว่างราคาขายเงินสดกับต้นทุนของทรัพย์สินที่ให้เช่าซื้อหรือขายผ่อนชำระ คำว่า “ดอกผลเช่าซื้อหรือขายผ่อนชำระ” หมายความว่า ผลต่างระหว่างจำนวนเงินทั้งสิ้นที่ต้องจ่ายตามสัญญากับราคาขายเงินสด (2) กิจการให้เช่าซื้อ หรือซื้อขายผ่อนชำระที่กรรมสิทธิ์ยังไม่โอนไปยังผู้ซื้อทันที ให้นำรายได้จากการขายมารวมคำนวณเป็นรายได้ทั้งจำนวนในรอบระยะเวลาบัญชีที่มีการขายสินค้า (ข้อ 3.5 ของคำสั่งกรมสรรพากรที่ ท.ป.1/2528 แก้ไขเพิ่มเติมโดยคำสั่งกรมสรรพากรที่ ท.ป.155/2549)

105 เกณฑ์รับรู้รายได้รายจ่าย
4. เกณฑ์ผ่อนชำระ สำหรับธุรกิจค้าอสังหาริมทรัพย์ ธุรกิจค้าอสังหาริมทรัพย์ ได้แก่ การขายที่ดิน การขายที่ดินพร้อมสิ่งปลูกสร้าง การขายสิ่งปลูกสร้าง และการขายอาคารชุดการขายที่ดิน การขายที่ดินพร้อมสิ่งปลูกสร้าง การขายสิ่งปลูกสร้าง และการขายอาคารชุด (1) ก่อนรอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่มในหรือหลัง 1 ม.ค. 2550 ให้ธุรกิจค้าอสังหาริมทรัพย์รับรู้รายได้และรายจ่ายที่เกี่ยวข้อง ตามเกณฑ์สิทธิ เว้นแต่กรณีทำสัญญาจะซื้อจะขายให้รับรู้รายได้ตามเกณฑ์ผ่อนชำระ ทั้งนี้ตามแนวทางปฏิบัติตามคำสั่งกรมสรรพากรที่ ป.61/2539

106 เกณฑ์รับรู้รายได้รายจ่าย
4. เกณฑ์ผ่อนขำระ สำหรับธุรกิจค้าอสังหาริมทรัพย์ (ต่อ) (2) ตั้งแต่รอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่มในหรือหลัง 1 ม.ค เป็นต้นไป ให้ใช้เกณฑ์สิทธิ โดยให้ถือปฏิบัติเกี่ยวกับการคำนวณรายได้และรายจ่ายในการคำนวณกำไรสุทธิเพื่อเสียภาษีเงินได้ดังต่อไปนี้ (ก) ให้คำนวณรายได้และรายจ่ายที่เกี่ยวข้องเป็นรายได้และรายจ่ายทั้งจำนวนเมื่อมีการจดทะเบียนโอนกรรมสิทธิ์ในอสังหาริมทรัพย์ เฉพาะกรณีที่มีการจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรมเกี่ยวกับอสังหาริมทรัพย์ในรอบระยะ เวลาบัญชีเดียวกันกับการขายนั้น (ข) ให้คำนวณรายได้และรายจ่ายที่เกี่ยวข้องตามอัตราส่วนของงานที่ทำเสร็จในแต่ละรอบระยะเวลาบัญชีมารวมคำนวณเป็นรายได้และรายจ่ายในรอบระยะเวลาบัญชีนั้น หรือ (ค) ให้คำนวณรายได้และรายจ่ายที่เกี่ยวข้องตามงวดที่ถึงกำหนดชำระโดยให้ใช้วิธีการคำนวณตามอัตรากำไรขั้นต้น

107 เกณฑ์รับรู้รายได้รายจ่าย
5. เกณฑ์สัญญาระยะยาว (Long-term Contract Method) (1) ก่อนรอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่มในหรือหลัง 1 ม.ค ให้ใช้กับกิจการรับเหมาก่อสร้าง, การให้บริการที่ตามสภาพกิจการไม่มีสินค้าคงเหลือ และกิจการนายหน้าตัวแทน โดยให้รับรู้รายได้และรายจ่ายที่เกี่ยวข้อง ตามส่วนของงานที่ทำเสร็จในแต่ละรอบระยะเวลาบัญชี (Percentage of Work Completion Method) (2) ตั้งแต่รอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่มในหรือหลัง 1 ม.ค.2550 เป็นต้นไป ให้ใช้กับเฉพาะกิจการรับเหมาก่อสร้าง (ข้อ 3.6 ของคำสั่งกรมสรรพากรที่ ท.ป.1/2528 แก้ไขเพิ่มเติมโดยคำสั่งกรมสรรพากรที่ ท.ป.155/2549)

108 เกณฑ์รับรู้รายได้รายจ่าย
6. เกณฑ์เฉลี่ยรายได้ (Average Income Method) สำหรับกิจการสนามกอล์ฟ กิจการให้บริการตามสัญญาระยะยาวแก่สมาชิก กิจการสันทนาการ (Sport/ Entertainment Club) ให้รับรู้รายได้โดยให้นำรายได้ที่เป็นค่าสมาชิก เงินประกัน เงินมัดจำ เงินจ่ายล่วงหน้าเพื่อเป็นค่าใช้จ่ายดังนี้ เฉลี่ยตามอายุของสมาชิกแต่ไม่เกิน 10 ปี หรือ เลือกรับรู้รายได้ทั้งสิ้นในรอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่มให้บริการ กรณีที่ได้มีการจ่ายคืนเงินดังกล่าวตามข้อตกลงหรือสัญญา ให้นำมาถือเป็นรายจ่ายในการคำนวณกำไรสุทธิเพื่อเสียภาษีเงินได้ในรอบระยะเวลาบัญชีที่ได้จ่ายคืนเงิน (ข้อ 3.7 ของคำสั่งกรมสรรพากรที่ ท.ป.1/2528 แก้ไขเพิ่มเติมโดยคำสั่งกรมสรรพากรที่ ท.ป.155/2549)

109 เกณฑ์รับรู้รายได้รายจ่าย
7. เกณฑ์ราคาปิดของกิจการ Short Sale สำหรับทั้งกิจการขายหลักทรัพย์ที่ต้องยืมหลักทรัพย์มาเพื่อการส่งมอบ และกิจการซื้อหรือขายหลักทรัพย์โดยมีสัญญาขายหรือซื้อคืน ให้รับรู้ต้นทุนของหลักหลักทรัพย์ที่ยืม และรายได้จากการขายคืนหลักทรัพย์ตามราคาปิดของหลักทรัพย์นั้นๆ ในวันที่ยืมหลักทรัพย์ (ข้อ 3.10 และ 3.11 ของคำสั่งกรมสรรพากรที่ ท.ป.1/2528 แก้ไขเพิ่มเติมโดยคำสั่งกรมสรรพากรที่ ท.ป.155/2549)

110 Life Insurance Co. , Other Insurance Co. ,Rice Exporter Co.
ป.115/2545 Life Insurance Co. , Other Insurance Co. ,Rice Exporter Co. commission Staff นาย ก Broker, Agent PIT Co.ltd , Part , F& A Foreign Co. ม.40(2) Group ม.40(2) ม.40(1) No Yes ม.70 WT 3% มูลนิธิ 10% Business ม.40(2) DTA Yes No No Yes ม.40(2) ม.40(8) Non WT WT 15% Non VAT VAT หาลูกค้าในตปท. Non VAT หาลูกค้าในไทย VAT

111 Lease Hire Purchase Normal Rent Leasing ท.ป.1/2528 Installment Method
TAS #37 Accrual Basis Capital /Financial Lease Operating Lease Both Immovable & Movable Both Immovable & Movable Movable Movable Non W.T. ดู ท.ป.4/2528 Non :W.T. ดูท.ป.4/2528 Non W.T. ท.ป.4/2528 W.T. 5% VAT: Movable ป.36/2536 VAT Non SD VAT Non SD VAT: Movable Immovable SD Over 3 yrs. have to Registration SBT: Immovable SD: 1000/1 B

112 การวางแผนรับรู้รายได้ตามราคาตลาด ตามมาตรา 65 ทวิ (4)
การวางแผนรับรู้รายได้ตามราคาตลาด ตามมาตรา 65 ทวิ (4) ราคาตลาด ณ วันที่เกิดรายได้ อำนาจเจ้าพนักงานฯ ตามม. 65 ทวิ (4) โอนทรัพย์สิน (ขายสินค้า) ให้บริการ ให้กู้ยืมเงิน ค่าตอบแทน (ขาย) ค่าบริการ ดอกเบี้ย กิจกรรมทางเศรษฐกิจ มีเหตุอันสมควร ไม่เป็นไปตาม ราคาตลาด ณ วันที่เกิดรายได้ Finished ไม่มีเหตุอันสมควร - ไม่มีค่าตอบแทน ค่าบริการ หรือดอกเบี้ย - มีค่าตอบแทน ค่าบริการ หรือดอกเบี้ย แต่ต่ำกว่าราคาตลาด

113 มาตรา 65 ทวิ (4) A. co. ltd B. co. ltd - Anyone Finished Finished
Supply of Goods Sale Supply of Services Service Fee Lend Interest B. co. ltd - Anyone Cost of goods Sold, Cost of Services, Interest on Loan Y Different Finished Market Value Criteria Get profit N Y Relation with Contractor (M2C) N - Management - Controlled - Capital Y Y Reasonable Reasonable N Finished N Transfer Pricing ป.113/2545 ม.65 ทวิ (4) -CUP Method -Resale Price Method -Cost Plus Method -Other Method

114 ราคาตลาดตาม ป.113/2545 “ราคาตลาด” หมายความว่า
ราคาของค่าตอบแทน ค่าบริการ หรือดอกเบี้ย ซึ่งคู่สัญญาที่เป็นอิสระต่อกันพึงกำหนดโดยสุจริตในทางการค้า กรณีโอนทรัพย์สิน ให้บริการ หรือให้กู้ยืมเงินที่มีลักษณะ ประเภท และชนิดเช่นเดียวกัน ณ วันที่โอนทรัพย์สิน ให้บริการ หรือให้กู้ยืมเงิน (Comparable Uncontrolled Price: CUP) “คู่สัญญาที่เป็นอิสระต่อกัน” หมายความว่า คู่สัญญาที่ไม่มีความ สัมพันธ์ระหว่างกันในการจัดการ การควบคุม หรือร่วมทุน โดยทางตรงหรือโดยทางอ้อม

115 ได้รับดอกเบี้ย บ. A. จก. บุคคลใดๆ เงินกู้ยืม Y Non SBT N Y Non SBT
ป. 26/2534 Staff Welfare Fund Y Non SBT N Finance Institute Y Non SBT WT 1% N - 25% Holder - at least 6 ms before loan Affiliated Co. Y Non SBT WT 1% N - Board - Shareholders - Customers Others Y SBT 3.3% WT 1% ?

116 เหตุอันสมควรตาม ป.64/2539 ให้ถือว่าการโอนทรัพย์สินที่เข้าลักษณะดังต่อไปนี้ เป็นการโอนทรัพย์สินโดยมีเหตุอันสมควร ตามมาตรา 65 ทวิ (4) (1) ผู้รับโอนต้องเป็นบริษัทที่จดทะเบียนจัดตั้งขึ้นใหม่ เพื่อการรับโอนกิจการโดยเฉพาะ และ (2) ผู้รับโอนต้องเป็นบริษัทที่มีวัตถุประสงค์ประกอบกิจการผลิตสินค้าหรือการให้บริการค้นคว้า วิจัยและพัฒนาเทคโนโลยี และต้องได้รับโอนทรัพย์สินก่อนเริ่มประกอบกิจการ และ (3) ผู้โอนต้องถือหุ้นในบริษัทผู้รับโอนไม่น้อยกว่าร้อยละ 99 ของหุ้นทั้งหมดที่มีสิทธิออกเสียงในบริษัทผู้รับโอน และ (4) ผู้โอนและผู้รับโอนต้องดำเนินการโอนและรับโอนทรัพย์สินในราคา ไม่ต่ำกว่าราคาตามมูลค่าที่ปรากฏในบัญชี (Book Value) ณ วันโอน และ (5) ผู้โอนจะต้องไม่เป็นลูกหนี้ภาษีอากรค้างของกรมสรรพากร ณ วันที่โอน เว้นแต่ได้จัดให้มีธนาคารหรือหลักทรัพย์ค้ำประกันหนี้ภาษีอากรค้าง และค่าใช้จ่ายในการบังคับหนี้ดังกล่าวแล้ว และ (6) ผู้โอนต้องแจ้งการโอนทรัพย์สินดังกล่าวให้กรมสรรพากรทราบล่วงหน้าก่อนวันที่โอนไม่น้อยกว่า 7 วัน

117 เหตุอันสมควรตาม ป.95/2543 ให้ถือว่าการโอนทรัพย์สินหรือการให้บริการภายใต้เงื่อนไขการปรับปรุงโครงสร้างหนี้ของสถาบันการเงินที่ธนาคารแห่งประเทศไทยประกาศกำหนด และการปรับปรุงโครงสร้างหนี้ดังกล่าวเป็นเหตุ การโอนทรัพย์สินหรือการให้บริการดังกล่าวไม่มีค่าตอบแทน หรือมีค่าตอบแทนหรือค่าบริการต่ำกว่าราคาตลาด เป็นการโอนทรัพย์สินหรือการให้บริการโดยมีเหตุอันสมควร ตามมาตรา 65 ทวิ (4) ทั้งนี้ เฉพาะการปรับปรุงโครงสร้างหนี้ที่กระทำระหว่างวันที่ 1 ตุลาคม 2542 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2549

118 เหตุอันสมควรตาม ป.127/2545 B A. co., ltd Unreasonable Unreasonable
Supply of Services without Service Fee or under Market Value B ให้บริการแก่หน่วยงานราชการที่ กระทำกิจการตามนโยบายของรัฐบาล N Unreasonable Y เฉพาะการดำเนินงานตามวัตถุประสงค์ ของโครงการพิเศษที่จัดตั้งขึ้นโดยรัฐบาล N Unreasonable Y Reasonable ใช้บังคับตั้งแต่ 15 ธันวาคม 2545 เป็นต้นไป

119 ข้อสรุปเกี่ยวกับวางแผนเกี่ยวกับรายได้
รับรู้รายได้ให้ถูกตามเกณฑ์หรือถูกวิธีที่กำหนด หลักการจับคู่ของรายจ่ายกับรายได้ (Matching Principle) สำหรับต้นทุนสินค้าที่ขายหรือต้นทุนบริการ เกณฑ์สิทธิ (Accrual Basis) สำหรับการรับรู้รายได้ และรายจ่าย เกณฑ์อื่นใดตามที่กฎหมายกำหนด รับรู้รายได้ให้ถูกต้องตรงตามรอบระยะเวลาบัญชี รับรู้รายได้ให้ถูกต้องตามจำนวนที่กำหนด หรือให้เป็นไปตามราคาตลาด มาตรา 65 ทวิ (4)

120 เงินปันผลหรือเงินส่วนแบ่งของกำไร (1)
1. ผู้ได้รับสิทธิประโยชน์ตามมาตรา 65 ทวิ (10) ได้แก่ บริษัทที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายไทยทั่วไป บริษัท Holding Company - One Way & 25% Holder 3. บริษัทจดทะเบียน (Listed Company) 2. ผู้จ่ายเงินปันผลหรือเงินส่วนแบ่งของกำไร ได้แก่ 1. บริษัทที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายไทย กองทุนรวมที่ตั้งขึ้นโดยบริษัทจัดการกิจการลงทุน 3. IFCT (บรรษัทเงินทุนอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย) 4. กิจการร่วมค้า (Joint Venture)

121 เงินปันผลหรือเงินส่วนแบ่งของกำไร (2)
3. เงื่อนไขการได้สิทธิประโยชน์ตามมาตรา 65 ทวิ (10) วันประกาศจ่ายเงินปันผล/เงินส่วนเบ่งกำไร ถือหุ้น/ หน่วยลงทุน โอนหุ้น/ หน่วยลงทุน 3 เดือน 3 เดือน * กรณีไม่เข้าเงื่อนไข จะไม่ได้สิทธิประโยชน์ตามม. 65 ทวิ (10) * สำหรับเงินส่วนแบ่งของกำไรจากกิจการร่วมค้า (Joint Venture) ที่บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายไทยหรือที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายของต่างประเทศได้รับ ให้ได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล ตามมาตรา 5 ทวิ แห่งพระราชกฎีกาฯ (ฉบับที่ 10)

122 เงินปันผลหรือเงินส่วนแบ่งของกำไร (3)
4. สรุปการได้สิทธิประโยชน์ ตามมาตรา 65 ทวิ (10) ผู้รับเงินปันผลหรือ เงินส่วนแบ่งของกำไร ผู้จ่ายเงินปันผลหรือเงินส่วนแบ่งของกำไร บจ. ไทย MF ม.39* IFCT JV 1. บริษัทไทยทั่วไป ยกเว้น 50% ยกเว้น100% 2. Holding Co. 3. บริษัทจดทะเบียน 4. ห้างฯ ไทย ไม่ยกเว้น 5. บจ./ ห้างฯ ตปท. * MF ม.39 หมายถึง กองทุนรวมตามมาตรา 39

123 การได้รับสิทฺธิประโยชน์ตามมาตรา 65 ทวิ (10)
ผู้จ่าย Dividend ผู้รับ บ.ไทย Mutual Fund JV บริษัทโรงเรียนเอกชน, In-house Training เรือเดินทะเล BOI Other - Part - Foreign ตาม ม.39 ตาม พรบ. หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ 1. General Thai Co 50% 100% Taxable 2. Holding Co ดู ข้อ 1. ดู ขัอ 1. 3. Listed Co. 4. กรณี 1,2,3 ที่ไม่เข้าเงื่อนไขม.65ทวิ (10) 5. Juristic Partnership 6.Foreign Co., Ltd. - Operate in Thailand - Non operate in Thailand

124 บทบัญญัติที่เกี่ยวข้อง
รายได้เงินปันผลหรือเงินส่วนแบ่งของกำไรที่ได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล ผู้รับปันผล ผู้จ่ายปันผล บริษัทไทย ห้างฯ นิติบุคคลไทย บริษัท/ ห้างฯ ตปท. บทบัญญัติที่เกี่ยวข้อง บริษัทไทยทั่วไป Holding Co., Ltd. Listed Co., Ltd. ประกอบกิจการในไทย มิได้ประ กอบการในไทย 1. บริษัทไทย 50% 100% - ม.65 ทวิ (10) 2. กองทุนรวม ม.39 3. IFCT 4. กิจการร่วมค้า ม.5 ทวิพรฎ.10 5. กองทุนรวมตาม พรบ. หลักทรัพย์ฯ พรฎ. (263) 6. กิจการ BOI พรบ. BOI 7. รร. เอกชน, In- house Training พรฎ. (284) 8. บ.เรือเดินทะเลไทย พรฎ. (314) 9. ห้างฯ ไทย, บริษัท/ ห้างต่างประเทศ

125 Co. Part. -DIVIDEND SHARE OF PROFIT (ม.40(4)(ข) Co. Co. Co. Co.
เป็นผู้อยู่ในไทย /มีภูมิลำเนาในไทย ไม่เป็นผู้อยู่ในไทย/ไม่มีภูมิ ลำเนาในไทย Co. Co. Co. Co. SET Holding General Foreign W.T. 10% ม.50(2) W.T. 10% ม.50(2) Non WT ท.ป.4/28 Non WT ท.ป.4/28 10% ม.3 เตรส 10%ม.70 ม. 47 ทวิ TAX Cr. PIT ยกเว้น CIT ม.65ทวิ(10) ยกเว้น CIT ม.65ทวิ(10) CIT ครึ่งหนึ่ง ม.65ทวิ(10) Final Tax ม.48(3)

126 IFCT: (Industrial Finance Corporation of Thailand)
เป็นนิติบุคคลตามกฎหมายพิเศษ มิใช่นิติบุคคลตาม ม.39 MF: Mutual Fund มาตรา 39 ป.119/2545 ข้อ 3. NP ยกเว้น CIT จ่าย Dividend มาตรา 40(4)(ข) MOF PIT เป็นผู้ อยู่ในไทย PIT ไม่เป็น ผู้อยู่ในไทย Listed Co. (SET,MAI) Thai Co. Thai Part. Foreign Co. WT.10% WT.10% ม.3 เตรส , ท.ป.4/28 WT.10% WT.10% 10% ม.70 Final Tax Final Tax ม.48(3) Final Tax ม.48(3) ยกเว้น CIT ม.65ทวิ (10) ยกเว้น 50% CIT No Tax Cr. No Tax Cr.

127 ป.119/2545 ข้อ 4,5 Mutual Fund : MF กองทุนรวม
ตาม ม.39 แห่งปรก. บทนิยามศัพท์ ตาม พรบ.หลักทรัพย์และ ตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 สถานภาพ (Status) จัดตั้งโดยคณะบุคคลใด ๆ นิติบุคคล ยกเว้น CIT สถานภาพ (Status) จัดตั้งโดย IFCT คณะบุคคล ม.42 (24) ยกเว้น PIT General MF. - กองทุนบัวหลวง กองทุนรวงข้าว - กองทุนวายุภักษ์ Specific MF - RMF - ส่วนบุคคล - LTF etc. Dividend ม.40(4)(ข) Dividend ม.40(8) Dividend ม.40(8) ยกเว้น PIT CIT ดู Chart IFCT No Tax Cr. พรฎ (262) -ยอมให้หัก WT 10% จะได้สิทธิเลือกเสีย PIT พรฎ (263) ยกเว้นCITให้แก่ บ.ไทย ม.70 Non WT

128 Fund for Saving Promotion (กองทุนเพื่อส่งเสริมการออม)
Provident Fund (กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ) กบข. GPF RMF (Retirement Mutual Fund) LTF (Long-term Equity Mutual Fund) ม.65ตรี (2) + กฎกระทรวง ฉ.183 ม.47(1)(ช) ค่าลดหย่อน กฎกระทรวง ฉ.126 ข้อ2 (35)(36) ยกเว้น PIT กฎกระทรวง 126 ข้อ 2 (43)(44) กฎกระทรวง 126 ข้อ 2 (55)(56)(65) กฎกระทรวง 126 ข้อ 2 (66)(67) ผู้มีเงินได้ประเมิน 40 Employee (ลูกจ้าง) Employer (นายจ้าง) 15 % ของผู้มีเงินได้ แต่ไม่เกิน 300,000 บาท * Saving ≥3%wage สมทบ≥ saving ของ Employee Benefit (หาประโยชน์) * เงินลงทุนใน RMF ต้องนำไปรวมกับ Provident Fund หรือ กบข. 10,000 = ค่าลดหย่อน เกิน 10, ,000 ยกเว้น เงินได้ที่นายจ้างจ่ายให้ครั้งเดียวเพราะเหตุออกจากงาน (one time payment) ม.50(2) ว.3, ม.48(5)

129 การวางแผนเพื่อการจ่าย Dividend
จัดทำบัญชีแยกประเภทย่อยของบัญชีกำไรสะสมตามอัตรา CIT ให้หมายความรวมถึงบัญชีสำรองตามกฎหมายด้วย เพื่อรองรับการจัดสรรเงินกำไรต่อไป 2. ให้มีสิทธิเลือกจ่ายเงินปันผลจากกำไรสะสมในอัตรา CIT ใด เป็นจำนวนเท่าใดก็ได้

130 A. Co., ltd. Investment Over 50% Investment Over 50%, Long term
B. Co., ltd. Co., ltd. Staff Training 200% พรฎ.(437) In-house Tr. C. Co., ltd. Education D. Co., ltd. Sea Freight BOI ... Co., ltd. NP NP CIT 30% Exempt CIT R/E R/E Dividend Dividend Exempt CIT ม.65 ทวิ(10) Exempt CIT พรฎ.(284,314),BOI

131 Affiliated & Holding Company
บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลในเครือเดียวกัน ตามมาตรา 39 (2) นิติบุคคลหนึ่งถือหุ้นในอีกหลายๆ นิติบุคคลหนึ่ง โดยถือเกิน 50% ของแต่ละนิติบุคคล = B,C,D,E,F are each Affiliated Co. (3) นิติบุคคลหนึ่งถือหุ้นในอีกนิติบุคคลหนึ่งเกิน 50% = A is Affiliated & Holding Co. of B,C,D,E,F… ดูสิทธิประโยชน์ทางภาษีเงินได้นิติบุคคลตาม พรฎ.(284, 437)

132 Affiliated & Holding Company
Parent Co. ต้องถือหุ้นไม่น้อยกว่า 25% ของหุ้นที่มีสิทธิ ออกเสียงในบริษัทลูก Parent Co. ถือทางเดียว (..ไม่มีการถือกลับไม่ว่า จะโดย ทางตรงหรือทางอ้อม) การได้สิทธิประโยชน์ทางภาษีเงินได้นิติบุคคลเกี่ยวกับเงินปันผล Parent Co. ถือไว้เป็นเวลาไม่น้อย 3 เดือนก่อนและหลังวันประกาศจ่ายเงินปันผล

133 Affiliated & Holding Company
บริษัทหรือห้างฯ นิติบุคคลที่ถือหุ้นเป็นหุ้นส่วนไม่น้อยกว่า 25% ของหุ้นมีสิทธิออกเสียงในอีกบริษัทหนึ่ง ต้องถือหุ้นหรือเป็นหุ้นส่วนไว้เป็นเวลาไม่น้อย 6 เดือนก่อนการให้กู้ยืมเงิน สิทธิประโยชน์: ได้รับยกเว้น SBT

134 Holding Co. ตามมาตรา 39 “บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลในเครือเดียวกัน” (3) และ (2) (0ver 50% holder) ใช้กับกิจการ In-house Training ตาม พรฎ.(ฉ.284) (ฉ.437) มาตรา 65 ทวิ (10) One Way Holder & at least 25% & Long-term Investment Listed Co. ป.26/2534 25% Holder & up & at least 6 months before loan บูรณาการ

135 การวางแผนภาษีกิจการ Holding Co.
ถือหุ้นเกินกว่า 50% และลงทุนระยะยาว ถ้าเป็นกรณีการให้กู้ยืมต้องถือหุ้นในระหว่างกันไม่น้อยกว่า 6 เดือนก่อนให้กู้ยืมเงิน เพื่อประหยัด SBT ตาม ป.26/2534 สิทธิประโยชน์ทางภาษีอากร เงินปันผลที่ได้จากบริษัทในเครือเดียวกันยกเว้น CIT 100% (มาตรา 65 ทวิ (10)) เงินปันผลที่ได้จากกิจการ In-house Tr. ยกเว้น CIT 100% (มาตรา 4(2) แห่งพรฎ. (ฉ.284) พ.ศ. 2538 เงินปันผลที่ได้จากกิจการโรงเรียนเอกชน ยกเว้น CIT 100% (มาตรา 3(2) แห่งพรฎ. (ฉ.284) พ.ศ. 2538 เงินปันผลที่ได้จากกิจการเรือเดินทะเล (พรฎ.(ฉ.314)) พ.ศ. 2540 ใช้สิทธิในผลขาดทุนโดยการควบหรือโอนกิจการ

136 การวางแผนภาษีกิจการ Holding Co.
สิทธิประโยชน์ทางภาษีอากร (ต่อ) ประหยัดค่าใช้จ่ายในการโอนกรรมสิทธิ์ในอสังหาริมทรัพย์ด้ายการ Take Over (ถือหุ้นแทนผู้ถือหุ้นเดิม) กรณีบริษัท Holding Co. กู้ยืมเงินมาลงทุนในบริษัทในเครือ บริษัท Holding Co. มีสิทธินำดอกเบี้ยมาถือเป็นรายจ่ายได้ ซึ่งบริษัท Holding Co. ต้องหารายได้จากบริษัทในเครือมา ชดเชยโดยการให้บริการต่างๆ อาทิ ค่าบริหารจัดการ ค่าที่ ปรึกษา แต่ต้องระวัง Transfer Price ตามมาตรา 65 ทวิ (4) เงินส่วนแบ่งของกำไรจากกิจการร่วมค้า การประกอบกิจการ ROH (สำนักงานปฏิบัติการภูมิภาค) ตาม พรฎ. (ฉ.405) ได้สิทธิเสีย CIT ในอัตรา 10%NP

137 การยกเว้นรายได้ตาม พรฎ. (ฉบับที่ 284)
ให้ยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล สำหรับเงินได้ของบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล ดังนี้ (มาตรา 3) (1) กำไรสุทธิที่ได้จากกิจการโรงเรียนเอกชนที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายว่าด้วยโรงเรียนเอกชนหรือกิจการสถาบันอุดมศึกษาเอกชนที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายว่าด้วยสถาบันอุดมศึกษาเอกชน แต่ไม่รวมถึงรายได้จากการขายของ การรับจ้างทำของหรือการให้บริการอื่นใดที่ได้รับจากผู้ซึ่งมิใช่นักเรียนหรือนักศึกษาของโรงเรียนเอกชนหรือสถาบันอุดมศึกษาเอกชนดังกล่าว (2) เงินปันผลหรือเงินส่วนแบ่งของกำไรที่ได้จากบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่ประกอบกิจการตาม (1) ทั้งนี้ บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลตามวรรคหนึ่ง จะต้องมิได้ประกอบกิจการอื่นนอกจากกิจการโรงเรียนเอกชนตามกฎหมายว่าด้วยโรงเรียนเอกชนหรือกิจการสถาบันอุดมศึกษาเอกชนตามกฎหมายว่าด้วยสถาบันอุดมศึกษาเอกชน

138 การยกเว้นรายได้ตาม พรฎ. (ฉบับที่ 284)
ให้ยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล สำหรับเงินได้ของบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล ดังนี้ (มาตรา 4) (1) กำไรสุทธิที่ได้จากกิจการสถานฝึกอบรมเพื่อพัฒนาฝีมือแรงงานของลูกจ้างของบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลนั้นหรือของบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลในเครือเดียวกัน (กิจการ In-house Training) (2) เงินปันผลหรือเงินส่วนแบ่งของกำไรที่ได้จากบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่ประกอบกิจการตาม (1) ทั้งนี้ บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลดังกล่าว จะต้องมิได้ประกอบกิจการอื่นนอกจากกิจการสถานฝึกอบรมเพื่อพัฒนาฝีมือแรงงาน

139 การยกเว้นรายได้ตาม พรฎ. (ฉบับที่ 314)
ให้ยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล สำหรับเงินได้จากการขนส่งสินค้าทางทะเลระหว่างประเทศ ให้แก่บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายไทย โดยมีเงื่อนไขดังต่อไปนี้ (มาตรา 3) ต้องใช้เรือที่จดทะเบียนเป็นเรือไทยตามกฎหมายว่าด้วยเรือไทยในการขนส่งสินค้าดังกล่าว ต้องมีคนประจำเรือที่มีสัญชาติไทยในอัตราส่วนที่กำหนดไว้ตาม กฎหมายว่าด้วยเรือไทย การคำนวณกำไรสุทธิเพื่อประโยชน์ในการได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขตามประกาศอธิบดีกรมสรรพากร เกี่ยวกับภาษีเงินได้ (ฉบับที่ 72)) ให้ยกเว้นภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา และภาษีเงินได้นิติบุคคล สำหรับเงินได้พึงประเมินที่เป็นเงินปันผลหรือเงินส่วนแบ่งของกำไรที่ได้ จากบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่ได้รับยกเว้นภาษีเงินได้ตามมาตรา 3 ให้แก่ บุคคลธรรมดาซึ่งเป็นผู้อยู่ในประเทศไทย บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายไทย (มาตรา 4)

140 การยกเว้นรายได้ตาม พรฎ. (ฉบับที่ 10) แก้ไขเพิ่มเติมโดย (ฉบับที่ 396) พ
การยกเว้นรายได้ตาม พรฎ. (ฉบับที่ 10) แก้ไขเพิ่มเติมโดย (ฉบับที่ 396) พ.ศ. 2545 มาตรา 5 เอกูนวีสติ ให้ยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล ให้แก่บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล สำหรับเงินได้พึงประเมิน ดังต่อไปนี้ (1) เงินปันผลที่ได้จากการถือหุ้นในบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลซึ่ง จัดตั้งขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อประกอบกิจการธุรกิจเงินร่วมลงทุน (Venture Capital) และได้รับยกเว้นภาษีเงินได้ตามมาตรา 5 อัฏฐารส (2) ผลประโยชน์ที่ได้จากการโอนหุ้นของบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล ซึ่งจัดตั้งโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อประกอบกิจการธุรกิจเงินร่วมลงทุน และได้รับยกเว้นภาษีเงินได้ตามมาตรา 5 อัฏฐารส

141 การยกเว้นรายได้ตาม พรฎ. (ฉบับที่ 10) แก้ไขเพิ่มเติมโดย (ฉบับที่ 396) พ
การยกเว้นรายได้ตาม พรฎ. (ฉบับที่ 10) แก้ไขเพิ่มเติมโดย (ฉบับที่ 396) พ.ศ. 2545 มาตรา 5 อัฏฐารส ให้ยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล ให้แก่บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล สำหรับเงินได้พึงประเมินที่เป็นเงินปันผลที่ได้รับจากการถือหุ้นในวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม หรือผลประโยชน์ที่ได้จากการโอนหุ้นดังกล่าว ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไข ดังต่อไปนี้ (1) เป็นบริษัทที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายไทย ซึ่งเป็นนิติบุคคลร่วมลงทุนตามประกาศกระทรวงการคลังว่าด้วยกำหนดกิจการจัดการเงินร่วมลงทุนให้เป็นธุรกิจหลักทรัพย์ เพื่อประกอบกิจการธุรกิจเงินร่วมลงทุน และมีทุนจดทะเบียนไม่น้อยกว่าสองร้อยล้านบาท โดยต้องมีการชำระค่าหุ้นครั้งแรกเป็นจำนวนไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของทุนจดทะเบียนและชำระค่าหุ้นที่เหลือทั้งหมด ภายในระยะเวลาสามปีนับแต่วันจดทะเบียน การลดทุนจดทะเบียนให้กระทำได้ เมื่อได้ถือหุ้นในวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมเป็นระยะเวลาไม่น้อยกว่า 7 ปีติดต่อกัน (2) ต้องได้รับการขึ้นทะเบียนกับสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ภายในวันที่ 30 มกราคม พ.ศ. 2551

142 การยกเว้นรายได้ตาม พรฎ. (ฉบับที่ 10) แก้ไขเพิ่มเติมโดย (ฉบับที่ 396) พ
การยกเว้นรายได้ตาม พรฎ. (ฉบับที่ 10) แก้ไขเพิ่มเติมโดย (ฉบับที่ 396) พ.ศ. 2545 มาตรา 5 อัฏฐารส (ต่อ) (3) ต้องถือหุ้นในวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมไม่น้อยกว่าจำนวนร้อยละของทุนจดทะเบียนที่ชำระแล้วของบริษัท ดังนี้ (ก) ร้อยละ 20 สำหรับรอบระยะเวลาบัญชีปีที่หนึ่ง เว้นแต่มีเหตุอัน สมควรและได้รับอนุญาตจากอธิบดี จะมีจำนวนน้อยกว่าร้อยละ 20 ก็ได้ (ข) ร้อยละ 40 สำหรับรอบระยะเวลาบัญชีปีที่สอง (ค) ร้อยละ 60 สำหรับรอบระยะเวลาบัญชีปีที่สาม (ง) ร้อยละ 80 สำหรับรอบระยะเวลาบัญชีปีที่สี่ เป็นต้นไป วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมดังกล่าวต้องเป็นกิจการที่มีสินทรัพย์ถาวรซึ่งไม่รวมที่ดินไม่เกิน 200 ล้านบาท และมีการจ้างแรงงานไม่เกิน 200 คน หรือตามหลักเกณฑ์ที่อธิบดีประกาศกำหนดขึ้นภายหลังจากพระราชกฤษฎีกานี้ใช้บังคับแล้วเป็นเวลาสามปี

143 การยกเว้นรายได้ตาม พรฎ. (ฉบับที่ 10) แก้ไขเพิ่มเติมโดย (ฉบับที่ 396) พ
การยกเว้นรายได้ตาม พรฎ. (ฉบับที่ 10) แก้ไขเพิ่มเติมโดย (ฉบับที่ 396) พ.ศ. 2545 มาตรา 5 อัฏฐารส (ต่อ) (4) ต้องถือหุ้นในวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมเป็นระยะเวลาไม่น้อยกว่า 5 ปีในรอบปีบัญชีต่อเนื่องกัน เว้นแต่ในกรณีดังต่อไปนี้ จะมีระยะ เวลาการถือหุ้นน้อยกว่า 5 ปีในรอบปีบัญชีต่อเนื่องกันก็ได้ (ก) เป็นการถือหุ้นในวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมที่ได้เข้าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (ตลาดหลักทรัพย์ MAI) เป็นระยะเวลาไม่น้อยกว่า 3 ปีในรอบปีบัญชีต่อเนื่องกัน หรือ (ข) เป็นการถือหุ้นในวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมตลอดระยะ เวลาที่วิสาหกิจนั้นมีสินทรัพย์ถาวรซึ่งไม่รวมที่ดินไม่เกิน 200 ล้านบาทและมีการจ้างแรงงานไม่เกิน 200 คน (5) ต้องมีการมอบหมายให้ผู้ได้รับใบอนุญาตประกอบธุรกิจหลักทรัพย์ประเภทการจัดการเงินร่วมลงทุนตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ เป็นผู้จัดการเงินร่วมลงทุนในวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม

144 การยกเว้นรายได้ตาม พรฎ. (ฉบับที่ 10) แก้ไขเพิ่มเติมโดย (ฉบับที่ 442) พ
การยกเว้นรายได้ตาม พรฎ. (ฉบับที่ 10) แก้ไขเพิ่มเติมโดย (ฉบับที่ 442) พ.ศ. 2548 มาตรา 5 วีสติ ให้ยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล ให้แก่บริษัทจำกัดหรือบริษัทมหาชนจำกัดที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายไทย สำหรับเงินปันผลซึ่งได้รับจากบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายของต่างประเทศ ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไข ดังต่อไปนี้ (1) บริษัทจำกัดหรือบริษัทมหาชนจำกัดต้องถือหุ้นในบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลผู้จ่ายเงินปันผลไม่น้อยกว่าร้อยละ 25 ของหุ้นทั้งหมดที่มีสิทธิออกเสียงในบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลนั้น เป็นระยะเวลาไม่น้อยกว่า 6 เดือนนับแต่วันที่ได้หุ้นนั้นมาจนถึงวันที่ได้รับเงินปันผล และ (2) เงินปันผลต้องมาจากกำไรสุทธิที่มีการเสียภาษีในประเทศของบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลผู้จ่ายเงินปันผล โดยอัตราภาษีดังกล่าวต้องไม่ต่ำกว่าร้อยละ 25 ของกำไรสุทธิ ทั้งนี้ ไม่ว่าประเทศของบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลผู้จ่ายเงินปันผลจะมีกฎหมายลดหรือยกเว้นภาษีสำหรับกำไรสุทธิให้แก่บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลนั้นหรือไม่ก็ตาม

145 ได้รับเงินปันผล/เงิน ส่วนแบ่งของกำไรจาก...
บริษัทที่ตั้งขึ้น ตามกฎหมายไทย ได้รับเงินปันผล/เงิน ส่วนแบ่งของกำไรจาก... บริษัทหรือห้างฯ นิติบุคคลต่างประเทศ ถือหุ้น/ เป็นหุ้นส่วนใน บริษัทหรือห้างฯ ผู้จ่ายปันผล ไม่น้อยกว่า 25% N ไม่ได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล Y เป็นระยะเวลาไม่น้อยกว่า 6 เดือนนับแต่วันที่ได้หุ้นนั้นมา จนถึงวันที่ได้รับเงินปันผล N Y เงินปันผลจากกำไรที่ได้ เสียภาษีเงินได้นิติบุคคลแล้ว ไม่น้อยกว่า 25% ของ NP N Y ได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลตามม.5 วีสติ แห่งพรฎ. (ฉ.10) ใช้บังคับตั้งแต่ 24 พ.ย. 2548 เป็นต้นไป

146 รายได้ตามมาตรา 65 ทวิ (11) และ (12)
บริษัทที่มีหน้าที่เสียภาษีเงินได้ปิโตรเลียม จ่ายดอกเบี้ยเงินกู้ยืม จ่ายเงินปันผล หักภาษี ณ ที่จ่ายตามกฎหมายว่าด้วยภาษีเงินได้ปิโตรเลียม (ถ้ามี) หักภาษี ณ ที่จ่ายตามกฎหมายว่าด้วยภาษีเงินได้ปิโตรเลียม (ถ้ามีฝ) ส่วนที่เหลือจากถูกหักภาษี ณ ที่จ่ายตามกฎหมายว่าด้วยภาษีเงินได้ปิโตรเลียม ส่วนที่เหลือจากถูกหักภาษี ณ ที่จ่ายตามกฎหมายว่าด้วยภาษีเงินได้ปิโตรเลียม นำไปรวมคำนวณกำไรขาดทุนสุทธิตามมาตรา 65 ทวิ (11) นำไปรวมคำนวณกำไรขาดทุนสุทธิตามมาตรา 65 ทวิ (12) พิจารณาหลักเกณฑ์การยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลตามมาตรา 65 ทวิ (10)

147 รายได้ตามมาตรา 65 ทวิ (14) ภาษีขายไม่ใช่รายได้
 บัญญัติให้สอดคล้องกับภาษีมูลค่าเพิ่ม ซึ่งกำหนดให้ภาษีมูลค่าเพิ่มเป็นระบบอัตราแยกนอกฐานภาษี  ให้รับรู้รายได้เฉพาะส่วนที่เป็นราคาสินค้าหรือค่าบริการเท่านั้น  เป็นผลให้ไม่ต้องถูกหักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่าย ในส่วนที่เป็น VAT  ให้ปิดอากรแสตมป์ เฉพาะในส่วนของค่าบริการที่ไม่รวม VAT เท่านั้น

148 รายได้ตามมาตรา 65 จัตวา ให้โรงงานยาสูบ กระทรวงการคลัง
เป็นองค์การของรัฐบาลที่ต้องเสียภาษีเงินได้นิติบุคคลแทนผู้ค้าส่งหรือค้าปลีก ซึ่งสินค้ายาสูบ ที่เป็นบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่ซื้อสินค้าจากโรงงานยาสูบตามวิธีการ อัตราที่กำหนดในกฎกระทรวง ฉบับที่ 158 (พ.ศ. 2526) ดังนี้ อัตราร้อยละ 12.5 ของกำไรของผู้ขายส่งไม่ว่าทอดใด และ อัตราร้อยละ 10 ของกำไรของผู้ขายปลีก “กำไร” หมายความว่า ... ผลต่างระหว่างราคาขายกับราคาซื้อที่โรงงานยาสูบกระทรวงการคลัง กำหนดไว้สำหรับผู้ขายส่งแต่ละทอดหรือผู้ขายปลีก แล้วแต่กรณี คูณด้วยปริมาณสินค้าที่โรงงานยาสูบ กระทรวงการคลัง ขายให้ผู้ขายส่งทอดแรก ภาษีที่เสียแทนดังกล่าว ให้ถือเป็นเครดิตของผู้เสียภาษีในการคำนวณภาษี

149 รายได้ตามมาตรา 65 จัตวา โรงงานยาสูบ กระทรวงการคลัง ขายบุหรี่ให้แก่
บริษัทหรือ หุ้นส่วนนิติบุคคล เสียภาษีเงินได้นิติบุคคลแทนผู้ซื้อ ผู้ค้าส่งอัตรา 12.5% ของกำไรของผู้ค้าส่งทุกทอด ผู้ค้าปลีกอัตรา 10% ของกำไรของผู้ค้าปลีก รับรู้รายได้และรวมคำนวณกำไรหรือขาดทุนสุทธิ และถือเป็นเครดิตภาษีเงินได้นิติบุคคลในการ ยืนแบบ ภ.ง.ด.50

150 เงินได้จากการขายบุหรี่ของโรงงานยาสูบ (รยส.)
โรงงานยาสูบ กระทรวงการคลัง ขายบุหรี่ (ยาสูบ) ให้แก่ ผู้มีหน้าที่เสีย PIT ผู้มีหน้าที่เสีย CIT รยส.เสียภาษีเงินได้แทนผู้ซื้อ ตามมาตรา 48 ทวิ และ กฎกระทรวง ฉบับที่ 134 รยส.เสียภาษีเงินได้แทนผู้ซื้อ ตามมาตรา 65 จัตวา และ กฎกระทรวง ฉบับที่ 158 ยกเว้น PIT (กฎกระทรวง ฉบับที่ 126 ข้อ 2(19)) และยกเว้น VAT (ม.81(1) (น) และพรฎ. (239)) CIT ที่เสียแทนถือเป็นรายได้ และเป็นเครดิตภาษี ยกเว้น VAT (ม. 81(1) (น) และพรฎ. (239))

151 เงินชดเชยตามกฎหมายศุลกากร
ชดเชยในรูปของบัตรภาษี (Tax Coupon) ตามมาตรา 19 ทวิ มุมน้ำเงิน นำไปใช้ชำระค่าภาษีอากรที่ต้องเสียให้แก่ทั้ง 3 กรม ภาษีได้แก่ กรมสรรพากร กรมศุลกากร และ กรมสรรพสามิต ต้องถือเป็นรายได้ของผู้ส่งออกที่ได้รับชดเชยในรอบระยะ เวลาบัญชีปีที่ได้รับเงินชดเชยจริง ซึ่งอาจไม่ตรงกับปีที่ส่งออก แม้จะมีการยกหรือโอนให้แก่เจ้าหนี้หรือบุคคลอื่นก็ตาม

152 รายได้ตามมาตรา 70 ตรี รายการ รายละเอียด 1. ผู้ส่งออก
บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่เสีย CIT จากกำไรสุทธิ 2. กิจกรรม ส่งสินค้าออกไปต่างประเทศ โดยมิใช่เพื่อการขายให้แก่บุคคลตามข้อ 3. 3. ผู้รับสินค้าในต่างประเทศ สำนักงานใหญ่ สาขา บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลในเครือเดียวกัน ตัวการ ตัวแทน นายจ้าง หรือลูกจ้าง 4. ผล ให้ถือว่าการที่ได้ส่งสินค้าไปนั้นเป็นการขายในประเทศไทยด้วย และให้ถือราคาสินค้าตามราคาตลาด (FOB) ในวันที่ส่งไปเป็นรายได้ในรอบระยะเวลาบัญชีที่ส่งไปนั้น 5. ข้อยกเว้น: มิให้ใช้บังคับสำหรับสินค้าต่อไปนี้ (1) เป็นของที่ส่งไปเป็นตัวอย่างหรือเพื่อการวิจัยโดยเฉพาะ (2) เป็นของผ่านแดน (3) เป็นของที่นำเข้ามา แล้วส่งกลับออกไปให้ผู้ส่งเข้ามาภายใน 1 ปี นับแต่วันที่สินค้านั้นเข้ามาในราชอาณาจักร (4) เป็นของที่ส่งออกไป แล้วส่งกลับคืนเข้ามาให้ผู้ส่งในราชอาณาจักรภายใน 1 ปี นับแต่วันที่ส่งสินค้าออกไปนอกราชอาณาจักร Bonded Goods

153 รายได้ตามมาตรา 70 ตรี ผู้มีหน้าที่เสีย CIT ในประเทศไทย ส่งสินค้าไปต่าง
ประเทศให้แก่หรือ ตามคำสั่งของ สำนักงานใหญ่ บริษัท/ ห้างฯ ในเครือเดียวกัน สาขา ตัวการ ตัวแทน นายจ้าง ลูกจ้าง ผล 1. ให้ถือเป็นการขายในประเทศ 2. ให้ถือราคาตลาดของสินค้า (FOB) เป็นเงินได้ 3. ให้รับรู้ต้นทุนของสินค้าเป็น รายจ่าย 4. กรณีฝากขายสินค้าหรือส่งสินค้า ไปเพื่อผลิตผสมประกอบ เมื่อมี การขายสินค้านั้นได้ในภายหลัง ให้รับรู้เป็นรายได้ในไทยอีกครั้ง หนึ่ง ข้อยกเว้น ไม่ถือเป็นการขายในกรณีดังนี้ 1. เป็นของตัวอย่างหรือเพื่อการวิจัย โดยเฉพาะ 2. เป็นของผ่านแดน 3. เป็นของที่นำเข้ามาในราชอาณา จักรแล้วส่งกลับไป ให้ผู้ส่งภายใน 1 ปี นับแต่วันที่นำเข้า 4. เป็นของที่ส่งออกไปนอกราชอาณา จักรแล้วส่งกลับมาให้ผู้ส่งภายใน 1 ปี นับแต่วันทีส่งออก Bonded Goods

154 รายได้ที่ได้รับยกเว้น (1)
1. ยกเว้น เงินปันผลหรือเงินส่วนแบ่งของกำไร ที่ได้จากกิจการร่วมค้าที่ประกอบกิจการในประเทศไทย ให้แก่บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายไทย หรือที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายของ ต่างประเทศ และประกอบกิจการในประเทศไทย (พรฎ. (ฉบับที่ 10)) 2. ยกเว้น เงินปันผลหรือเงินส่วนแบ่งของกำไร ที่ได้จากกองทุนรวมที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ให้แก่ บริษัทที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายไทยกึ่งจำนวน และบริษัทจดทะเบียนทั้งจำนวน (พรฎ. (ฉบับที่ 263))

155 รายได้ที่ได้รับยกเว้น
3. ยกเว้น เงินปันผลหรือเงินส่วนแบ่งของกำไร ที่ได้จากบริษัทหรือ ห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายไทยที่ประกอบกิจการ โรงเรียนเอกชนหรือสถาบันอุดมศึกษาเอกชน ให้แก่บริษัทหรือ ห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลทั้งที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายไทย และที่ตั้งขึ้นตาม กฎหมายของ ตปท. (ม.3 พรฎ. (ฉบับที่ 284)) 4. ยกเว้น เงินปันผลหรือเงินส่วนแบ่งของกำไร ที่ได้จากบริษัทหรือ สถานฝึกอบรมเพื่อพัฒนาฝีมือแรงงานของลูกจ้างของตนและ บริษัทในเครือเดียวกัน ให้แก่บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลทั้ง ที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายไทย (ม.4 พรฎ. (ฉบับที่ 284))

156 รายได้ที่ได้รับยกเว้น
5. ยกเว้น เงินปันผลหรือเงินส่วนแบ่งของกำไร ที่ได้จากบริษัทหรือ ห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายไทยที่ประกอบกิจการขนส่งสินค้าทางทะเลระหว่างประเทศ ให้แก่บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลตั้งขึ้นตามกฎหมายไทย (ม.3 พรฎ. (ฉบับที่ 314) พ.ศ.2540) โดย ต้องใช้เรือที่จดทะเบียนเป็นเรือไทย ต้องมีคนประจำเรือที่มีสัญชาติไทยในอัตราส่วนที่กฎหมายกำหนด (ดูประกาศอธิบดีกรมสรรพากรเกี่ยวกับภาษีเงินได้ (ฉบับที่ 72) ประกอบ)

157 การวางแผนเกี่ยวกับรายจ่าย
จำแนกประเภทรายจ่ายทางภาษีอากรให้ชัดแจ้ง 1. รายจ่ายอันมีลักษณะเป็นการลงทุน (Capital Expenditure) ดูมาตรา 65 ตรี (5) พรฎ. (ฉ.375) พ.ศ.2544 และประกาศอธิบดีเกี่ยวกับภาษีเงินได้ (ฉบับที่ 92) ลงวันที่ 16 มีนาคม 2544 2. รายจ่ายในการดำเนินงาน (Operating Expenditure) มาตรา 65 ประกอบมาตรา 65 ทวิ และมาตรา 65 ตรี

158 รายจ่ายอันมีลักษณะเป็นการลงทุน
1. หลักเกณฑ์เกี่ยวกับรายจ่ายอันมีลักษณะเป็นการลงทุน 1.1 หลักกรรมสิทธิ์ (Ownership Principle) รายจ่ายที่ก่อให้ เกิดกรรมสิทธิ์หรือสิทธิใดๆ (เกิดเป็นทุนเป็นรอน) 1.2 หลักประโยชน์ใช้สอย (Benefit Principle) กรรมสิทธิ์ หรือสิทธินั้นมีอายุการใช้งานเกิน 1 รอบระยะเวลาบัญชี 1.3 หลักความมีนัยสำคัญ (Materiality Principle) กล่าว เฉพาะในทางบัญชี กรรมสิทธิ์หรือสิทธินั้นต้องมีจำนวน เงินมากเพียงพอที่จะรับรู้เป็นทรัพย์สิน ซึ่งไม่เป็นที่ยอมรับ ในทางภาษีอากร

159 รายการรายจ่าย X รายจ่ายอันมีลักษณะ เป็นการลงทุน (GAAP)
1. หลักกรรมสิทธิ์ 2. หลักประโยชน์ใช้สอย หลักความมีนัยสำคัญ ไม่ใช่ รายจ่ายในการ ดำเนินกิจการ ไม่เป็นที่ยอมรับ ในทางภาษีอากร 3. ใช่ WIP: Work in Progress รายจ่ายอันมีลักษณะเป็นการลงทุน ทรัพย์สินระหว่าง... บันทึกเป็นทรัพย์สิน ณ วันที่ ทรัพย์สินพร้อมใช้งานได้ตามประสงค์ Time X X X X X X X X X X Capital Exp. ต้นทุน (Cost) เบี้ยประกันภัย (Insurance) ค่าขนส่ง (Freight) ค่าติดตั้ง (Installation Fee) ค่าทดลองเดินเครื่อง (Running Test) หักด้วยรายได้จากการผลพลอยได้ฯ ค่าโสหุ้ย (Overhead) ค่าภาษีอากร (Taxes) รายจ่ายอื่นๆ (etc.) ดอกเบี้ยเงินกู้ยืม (Interest on Loan) Revenue Exp. Depreciation Maintenance Overhead Improvement Exp. ทรัพย์สินรายการใหม่ 1.รายจ่ายในการต่อเติม 2.รายจ่ายในการเปลี่ยนแปลง 3.รายจ่ายในการขยายออก 4.รายจ่ายในการทำให้ ท/สดีขึ้น X X พรฎ.(375) Capital Expenditure Revenue Expenditure

160 รายจ่ายอันมีลักษณะเป็นการลงทุน
2. มูลค่าต้นทุนของรายจ่ายอันมีลักษณะเป็นการลงทุน ประกอบ ด้วยรายจ่ายอันเกี่ยวเนื่องโดยตรงกับการได้มาซึ่งทรัพย์สิน เฉพาะในส่วนที่เป็นรายจ่ายก่อนที่ทรัพย์สินพร้อมจะใช้งานได้ตามประสงค์ อาทิ (1) มูลค่าต้นทุนเพื่อการได้มาซึ่งทรัพย์สิน (2) ค่าขนส่งขาเข้า (3) ค่าเบี้ยประกันภัย ในช่วงเวลาก่อนที่ทรัพย์สินนั้นพร้อมที่ใช้ งานได้ตาม ประสงค์ (4) ค่าภาษีอากร อาทิ ภาษีศุลกากร ภาษีมูลค่าเพิ่ม (5) ค่าติดตั้ง (Installation) (6) ค่าทดลองเดินเครื่องจักร (Running Test) ให้นำรายได้จากการผล พลอยได้มาหักออกจากค่าทดลองเดินเครื่อง (7) ค่าโสหุ้ยต่างๆ เพื่อการได้มาซึ่งทรัพย์สิน อาทิ ค่านายหน้า (8) ดอกเบี้ยเงินกู้ยืมเพื่อการได้มาซึ่งทรัพย์สินก่อนวันที่ทรัพย์สินพร้อมใช้ งานได้ตามประสงค์

161 รายจ่ายอันมีลักษณะเป็นการลงทุน
3. รายจ่ายในการพัฒนาทรัพย์สินดังต่อไปนี้ แม้เกิดขึ้นภายหลังจากทีทรัพย์สินพร้อมใช้งานก็ยังคงถือเป็นรายจ่ายอันมีลักษณะเป็นการลงทุน (ถือเป็นทรัพย์สินใหม่) (1) รายจ่ายในการต่อเติม (Addition) (2) รายจ่ายในการเปลี่ยนแปลงสภาพทรัพย์สิน (Alteration) (3) รายจ่ายในการขยายออกซึ่งทรัพย์สิน (Extension) (4) รายจ่ายในการทำให้ทรัพย์สินดีขึ้น (Betterment) รายจ่ายที่ทำให้ ทรัพย์สินนั้นมีสภาพดีกว่าวันทีได้ทรัพย์สินนั้นมา ที่มิใช่เป็นการ ซ่อมแซมให้คงสภาพเดิม

162 รายจ่ายในการทำให้ดีขึ้นซึ่งทรัพย์สิน
คำว่า “ดีขึ้น” หมายถึง สภาพของทรัพย์สินที่ดีขึ้นกว่าวันที่ได้มาซึ่งทรัพย์สินนั้น รายจ่ายที่ไม่ทำให้ทรัพย์สินดีขึ้นกว่าวันที่ได้รับทรัพย์สินถือเป็นค่าซ่อมแซมให้คงสภาพเดิม สำหรับรายจ่ายที่ทำให้ทรัพย์สินมีสภาพดีขึ้นกว่าวันที่ได้รับทรัพย์สินนั้นมา ให้ถือเป็นทรัพย์สินรายการใหม่ มีสภาพดีกว่า สภาพ ณ วันที่ได้ ทรัพย์สินนั้นมา สภาพ ณ วันที่ได้ ทรัพย์สินนั้นมา X X

163 ดอกเบี้ยเงินกู้ยืมเพื่อซื้อ หรือให้ได้มาซึ่งทรัพย์สิน
เป็นไปตามพรฎ. (ฉบับที่ 375) พ.ศ. 2543 ใช้บังคับสำหรับรอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่มในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2543 เป็นต้นไป ให้ยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล สำหรับเงินได้ของบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล เป็นจำนวนเท่ากับดอกเบี้ยเงินกู้ยืมเพื่อซื้อหรือให้ได้มาซึ่งทรัพย์สิน ทั้งนี้ เฉพาะดอกเบี้ยที่เกิดขึ้นตั้งแต่วันที่ทรัพย์สินดังกล่าวอยู่ในสภาพพร้อมที่จะใช้ได้ตามประสงค์ ดอกเบี้ยที่เกิดขึ้นดังกล่าวให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขตามอธิบดีกรมสรรพากรเกี่ยวกับภาษีเงินได้ (ฉบับที่ 92)

164 หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขเกี่ยวกับ ดอกเบี้ยเงินกู้ยืมเพื่อซื้อหรือให้ได้มาซึ่งทรัพย์สิน
ต้องเป็นดอกเบี้ยที่เกิดขึ้นโดยตรงเนื่องจากการดำเนินธุรกิจการค้าหรือ วิชาชีพหรือเกี่ยวเนื่องโดยตรงต่อทรัพย์สินที่ก่อให้เกิดรายได้ (ข้อ 1) แนวปฏิบัติเกี่ยวดอกเบี้ยเงินกู้ยืมเพื่อซื้อหรือให้ได้มาซึ่งทรัพย์สิน ดอกเบี้ยเงินกู้ยืมที่เกิดขึ้นก่อนวันที่ทรัพย์สินนั้นอยู่ในสภาพพร้อมที่จะใช้ได้ตามประสงค์ ให้ถือเป็นต้นทุนของทรัพย์สินหรือรายจ่ายอันมีลักษณะเป็นการลงทุน ดอกเบี้ยเงินกู้ยืมที่เกิดขึ้นตั้งแต่วันที่ทรัพย์สินนั้นอยู่ในสภาพพร้อมที่จะใช้ได้ตามประสงค์ให้ได้รับสิทธิยกเว้นภาษี กรณีที่เงินกู้มานั้นได้นำไปใช้เพื่อซื้อหรือให้ได้มาซึ่งทรัพย์สินหรือใช้ในกิจการอื่นๆ รวมกัน ให้นำดอกเบี้ยเงินกู้ยืมเฉพาะในส่วนที่ เกี่ยวกับการซื้อหรือให้ได้มาซึ่งทรัพย์สินมาคำนวณเท่านั้น (ข้อ 2)

165 หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขเกี่ยวกับ ดอกเบี้ยเงินกู้ยืมเพื่อซื้อหรือให้ได้มาซึ่งทรัพย์สิน
เมื่อได้ปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ดังกล่าวแล้ว บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลจะต้องไม่นำดอกเบี้ยเงินกู้ยืมดังกล่าวไปรวมคำนวณเป็นต้นทุนของทรัพย์สินหรือรายจ่ายอันมีลักษณะเป็นการ ลงทุน หรือไปหักเป็นรายจ่ายในการคำนวณกำไรสุทธิเพื่อเสียภาษีเงินได้นิติบุคคลอีก (ข้อ 3) ในกรณีที่มีปัญหาในการปฏิบัติ ให้อธิบดีกรมสรรพากรมีอำนาจวินิจฉัยและคำวินิจฉัยของอธิบดีกรมสรรพากรให้ถือเป็นหลัก เกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่กำหนดตามประกาศนี้ด้วย (ข้อ 4) ประกาศอธิบดีกรมสรรพากร เกี่ยวกับภาษีเงินได้ (ฉบับที่ 92) ลงวันที่ 16 มีนาคม 2544

166 รายจ่ายในการดำเนินงาน
รายจ่ายในการดำเนินงานที่ถือเป็นรายจ่ายในการคำนวณกำไรและขาดทุนสุทธิ ต้องเป็นไปตามเงื่อนไขดังต่อไปนี้ เป็นรายจ่ายที่เกี่ยวเนื่องโดยตรงกับการประกอบกิจการ เป็นรายจ่ายเพื่อหากำไรหรือเพื่อกิจการโดยเฉพาะ และจ่ายไปโดยมีเหตุอันสมควร เป็นรายจ่ายที่มีลักษณะสิ้นเปลืองหมดไป ไม่ก่อให้เกิดกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สิน หรือสิทธิใดๆ ซึ่งมีอายุการใช้งานเกินกว่า 1 รอบระยะเวลาบัญชี หรือเป็นรายจ่ายในการซ่อมแซมทรัพย์สินให้คงสภาพเดิม เป็นรายจ่ายที่มีหลักฐานการจ่าย ซึ่งสามารถพิสูจน์ผู้รับได้ เป็นรายจ่ายที่เกี่ยวข้องกับการหารายได้ และเกิดขึ้นในรอบระยะเวลาบัญชีปีใด ให้ถือเป็นรายจ่ายของรอบระยะเวลาบัญชีปีนั้น ไม่เข้าลักษณะเป็นรายจ่ายต้องห้ามตามมาตรา 65 ทวิ และมาตรา 65 ตรี แห่งประมวลรัษฎากร

167 ค่าสึกหรอและค่าเสื่อมราคาทรัพย์สิน
Wear & Tear and Depreciation มาตรา 65 ทวิ (2) ดู พระราชกฤษฎีกาฯ. (ฉบับที่ 145) พ.ศ แก้ไขเพิ่มเติมโดย (ฉบับที่ 395) พ.ศ. 2545 คำสั่งกรมสรรพากรที่ ป. 3/2527 และ พระราชกฤษฎาฯ (ฉบับที่ 385) พ.ศ.2545 1. ในรอบระยะเวลาบัญชีแรกที่ได้ทรัพย์สินนั้นมา 1.1 ให้หักค่าสึกหรอและค่าเสื่อมราคาตามส่วนเฉลี่ยแห่งระยะ เวลาการได้ทรัพย์สิน (เป็นรายวัน – ป.3/2527) 1.2 มีสิทธิเลือกใช้วิธีการทางบัญชีที่รับรองทั่วไป และอัตรา ในการหักค่าสึกหรอและค่าเสื่อมราคาอย่างไรก็ได้ แต่ให้ใช้วิธีการทางบัญชีและอัตราดังกล่าวตลอดไป (Consistency) เว้นแต่จะได้รับอนุมัติจากอธิบดีกรมสรรพากรให้เปลี่ยนแปลง

168 ค่าสึกหรอและค่าเสื่อมราคาทรัพย์สิน
1.3 สำหรับทรัพย์สินชนิดเดียวกันที่ได้มาใหม่ในภายหลัง จะเลือกใช้วิธีการทางบัญชีที่รับรองทั่วไป และอัตรา ในการหักค่าสึกหรอและค่าเสื่อมราคาแตกต่างไปจากวิธีการและอัตราเดิมก็ได้ โดยไม่ต้องขออนุมัติจากอธิบดีกรมสรรพากร 2. วิธีการทางบัญชีที่รับรองทั่วไปในการคิดค่าสึกหรอและค่าเสื่อมราคา ได้แก่ 2.1 วิธีเส้นตรง (Straight Line Method) ต้องไม่เกินอัตราที่กำหนดในมาตรา 4 แห่งพระราชกฤษฎีกาฯ (ฉบับที่ 145) พ.ศ. 2527 - อัตรา % ของ(ต้นทุน – ค่าซาก) คงที่ตลอดอายุการใช้งาน - (ต้นทุน – ค่าซาก) / จำนวนปีอายุการใช้งาน - 100/อัตรา% = จำนวนปีอายุการใช้งาน - 100/ จำนวนปีอายุการใช้งาน = อัตรา%

169 ค่าสึกหรอและค่าเสื่อมราคาทรัพย์สิน
2. วิธีการทางบัญชีที่รับรองทั่วไปในการคิดค่าสึกหรอและค่าเสื่อมราคา (ต่อ) 2.2 วิธีอื่น ซึ่งจำนวนปีที่ใช้ต้องไม่น้อยกว่า 100 หารด้วยอัตราค่าสึกหรอและค่าเสื่อมราคาตามวิธีเส้นตรง อาทิ วิธียอดลดลง (Declining Method)  Sum of the Years’ Digit Method  Declining Balance Method  Double Declining Balance Method ให้ใช้กับทรัพย์สินทุก ประเภท เว้นแต่รถยนต์นั่งหรือรถยนต์โดยสารที่มีที่นั่งไม่เกิน 10 คน (ตั้งแต่ 23 ตุลาคม 2542 เป็นต้นมา)

170 กรณีที่สมควรเลือกปฏิบัติ
ค่าซ่อมแซมบำรุงรักษา การให้ผลตอบแทน Straight Line Method ค่าซ่อมแซมบำรุงรักษา Progressive การให้ผลตอบแทน Declining Method ค่าสึกหรอและค่าเสื่อมราคาตามวิธี Declining Method อาทิ  Sum of the Years’ Digit Method  Declining Balance Method  Double Declining Balance Method

171 กรณีที่สมควรเลือกปฏิบัติ
ค่าซ่อมแซมบำรุงรักษา การให้ผลตอบแทน Straight Line Method ค่าซ่อมแซมบำรุงรักษา การให้ผลตอบแทน Straight Line Method

172 กรณีที่ไม่ควรเลือกปฏิบัติ
ค่าซ่อมแซมบำรุงรักษา การให้ผลตอบแทน Straight Line Method ค่าซ่อมแซมบำรุงรักษา การให้ผลตอบแทน Straight Line Method

173 กรณีที่ไม่ควรเลือกปฏิบัติ
ค่าซ่อมแซมบำรุงรักษา การให้ผลตอบแทน Declining Method ค่าซ่อมแซมบำรุงรักษา การให้ผลตอบแทน

174 ค่าสึกหรอและค่าเสื่อมราคาทรัพย์สิน
2.3 การหักค่าสึกหรือและค่าเสื่อมราคาวิธีพิเศษเพื่อจูงใจให้มีการใช้ทรัพย์สิน (Incentive) ได้แก่ วิธี Initial Depreciation หมายถึง วิธีค่าสึกหรอและค่าเสื่อมราคาเบื้องต้นในวันที่รับทรัพย์สินนั้นมาตามที่ กม. กำหนด สำหรับมูลค่าส่วนที่เหลือให้คำนวณหักตามวิธีปกติสองวิธีข้างต้น ทรัพย์สินที่หักค่าเสื่อมราคาตามวิธี Initial Depreciation ได้แก่ (1) เครื่องจักรและอุปกรณ์ที่ใช้ในการทำ R&D ให้หัก Initial 40% ของมูลค่าต้นทุน ส่วนที่เหลือให้คำนวณหักตามวิธีปกติ 5 ปี (มาตรา 4 ทวิ) (2) เครื่อง Cash Register เพื่อการออกใบกำกับภาษีอย่างย่อ Tax Invoice (Abb.) ให้หัก Initial 40% ของมูลค่าต้นทุน ส่วนที่เหลือให้คำนวณหักตามวิธีปกติ 5 ปี หรือจะเลือกหัก 100% ในระยะเวลา 12 เดือนแรก (มาตรา 4 ตรี)

175 R&D Machines & Equipments เป็นไปตามหลักเกณฑ์ N Y ที่กฎหมายกำหนด
เลือกหักค่าเสื่อมราคา 2 วิธี 1. วิธีปกติ 2. Initial Method 40% เฉพาะวิธีปกติวิธีเดียว

176 Cash Register ได้รับอนุมัติให้ออก N Y Abb. Tax Inv.
เลือกหักค่าเสื่อมราคา 3 วิธี 1. วิธีปกติ 2. Initial Method 40% 3. 100% within 12 m. เฉพาะวิธีปกติวิธีเดียว

177 ค่าสึกหรอและค่าเสื่อมราคาทรัพย์สิน (5)
(3) เครื่อง Computer ส่วนที่เป็น Hardware และอุปกรณ์ต่อเชื่อม  สำหรับบริษัท/ห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลทั่วไป ให้หักค่าสึกหรอและ ค่าเสื่อมราคาตามวิธีปกติ 3 ปี  สำหรับ SMEs* ให้หัก Initial 40% ของมูลค่าต้นทุน ส่วนที่ เหลือ ให้คำนวณหักตามวิธีปกติ 3 ปี ทั้งนี้ ตั้งแต่ 31 ม.ค เป็นต้นไป (มาตรา 4 จัตวา) (4) อาคารโรงงาน (Plant) เฉพาะ SMEs* ให้ หัก Initial 25% ของมูลค่าต้นทุน ส่วนที่เหลือให้คำนวณหักตามวิธีปกติ 20 ปี (5) เครื่องจักร (Machinery) เฉพาะ SMEs* ให้ หัก Initial 40% ของมูลค่าต้นทุน ส่วนที่เหลือให้คำนวณหักตามวิธีปกติ 5 ปี ทั้งนี้ ตั้งแต่ 31 ม.ค เป็นต้นไป (มาตรา 4 ฉ) * SMEs หมายถึง บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่ตั้งขึ้นตาม กม. ไทย และมีการจ้างงานไม่เกิน 200 คน และมีทรัพย์สินรวม (ไม่ รวมที่ดิน) ไม่เกิน 200 ล้านบาท

178 Computer & Equipment Plant and Machinery SMEs: Not over 200 Employees
&200 M. of Assets N เฉพาะวิธีปกติ วิธีเดียว (Excluded Land) Y เลือกหักค่าเสื่อมราคา คอมพิวเตอร์+อุปกรณ์ เลือกหักได้ 2 วิธี 1. วิธีปกติ 2. Initial Method 40% + 3 ปี โรงงาน เลือกหักได้ 2 วิธี 1. วิธีปกติ 2. Initial Method 25% + 20 ปี เครื่องจักร เลือกหักได้ 2 วิธี 1. วิธีปกติ 2. Initial Method 40% + 5 ปี

179 ค่าสึกหรอและค่าเสื่อมราคาทรัพย์สิน (6)
(6) สำหรับบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลทั่วไปที่ได้อาคาร โรงเรือน เพื่อใช้ในการประกอบกิจการ ระหว่าง 6 ก.ย ถึง 5 ก.ย (1 ปี) ให้ หัก Initial 20% ของมูลค่าต้นทุน ส่วนที่เหลือให้คำนวณหัก 20 ปี (พรฎ. (ฉบับที่ 385)) รถยนต์นั่งหรือรถยนต์โดยสารที่มีที่นั่งไม่เกิน 10 คน ให้คำนวณหักค่าสึกหรอและเลื่อมราคาจากมูลค่าต้นทุน เฉพาะส่วนที่ไม่เกิน 1 ล้านบาท (มาตรา 5) ทรัพย์สินที่ได้มาโดยการเช่าซื้อหรือซื้อขายเงินผ่อน ให้คำนวณหักค่าสึกหรอและเลื่อมราคาจากมูลค่าต้นทุนที่พึงชำระทั้งหมด แต่ค่าสึกหรอและเลื่อมราคาละสมจนถึงรอบระยะเวลาบัญชีปีปัจจุบันต้องไม่เกินค่าเช่าซื้อที่ได้ผ่อนชำระไปแล้วทั้งสิ้น (มาตรา 7) การหักค่าสึกหรอและค่าเสื่อมราคาทรัพย์สินจะหักจนหมดมูลค่าต้นทุนของทรัพย์สินนั้นไม่ได้ (เหลือไว้อย่างน้อย 1 บาท) (มาตรา 8)

180 ราคาทุนของสินค้าที่นำเข้าจากต่างประเทศ
มาตรา 65 ทวิ (7) ราคาทุนของสินค้าที่ส่งเข้ามาจากต่างประเทศ เจ้าพนักงานประเมินมีอำนาจเทียบเคียงกับราคาทุนของสินค้าประเภทและชนิดเดียวกันที่ส่งเข้าในประเทศอื่นได้ ทั้งนี้ เพื่อป้องกันการ Transfer Pricing มาตรา 65 ทวิ (8) ราคาทุนของสินค้าที่เป็นเงินตราต่างประเทศ ให้คำนวณเป็นเงินตราไทยตามแลกเปลี่ยนในท้องตลาดของวันที่ได้สินค้านั้นมา (อัตราขายของธนาคารพาณิชย์)  ราคา FOB (Shipping Point) ได้รับสินค้าที่ท่าเรือต่างประเทศ  ราคา CIF (Destination) ได้รับสินค้าที่ท่าเรือไทย

181 แผนผังแสดงการนำเข้าสินค้าตามมาตรา 65 ทวิ (8)
Oversea Thailand L/C T/T Port Shipment Port Clearance Customs B/L Ware- house Paid End of A/C Period FOB (Shipping Point) CIF Record: Import Goods & A/C Payable Selling Rate Gain or Loss of Exchange มาตรา 65 ทวิ(5) Goods in Transit Stock Book Input Book Customs Rate

182 แผนผังแสดงรายการกรณีส่งออกสินค้า
Thailand Oversea L/C T/T Performa Invoice Ware- house Customs B/L Port Shipment Port Clearance Paid End of A/C Period FOB (Shipping Point) CIF Record: A/C Receivable & Export Buying Rate Goods in Transit Gain or Loss of Exchange มาตรา 65 ทวิ(5) Stock Book Output Book 1. Cash Received: Actual Rate ม.79/4(1) 2. Credit Sale: BOT Rate/ Spot Rate at that day

183 Exchange Rate มาตรา 9 เว้นแต่จะมีบัญญัติไว้เป็นอย่างอื่น ถ้าจำเป็นต้องคำนวณเงินตราต่างประเทศเป็นเงินตราไทยเพื่อปฏิบัติการตามลักษณะนี้ ให้คิดตามอัตราแลกเปลี่ยนซึ่งกระทรวงการคลังประกาศเป็นคราว ๆ มาตรา 9 ถ้าไม่มีบัญญัติเป็นอื่นให้ใช้ อัตราที่ กค. ประกาศ ประกาศก.คลัง ลว. 1 ก.ค. 2524 ใช้อัตราที่กรมสรรพากรประกาศกำหนด ใช้บังคับ 1 ก.ค. 2524 ประกาศก.คลัง ลว. 1 พ.ค. 2541 ใช้อัตราอ้างอิงของธนาคารแห่งประเทศไทย ใช้บังคับ 1 พ.ค. 2541 ประกาศก.คลัง ลว. 8 ก.พ. 2548 โดยให้ใช้อัตราอ้างอิง: Actual Rate หรือ BOT Rate และต้องปฏิบัติตามหลักความสม่ำเสมอ (Consistency) ใช้บังคับ 1 มี.ค. 2548

184 Exchange Rate กม. ทั่วไป กม. เฉพาะ CIT: ม. 65 ทวิ
ม. 9 ทวิ ถ้าไม่มีบัญญัติเป็นอื่นให้ใช้ อัตราที่ ก.คลังประกาศ CIT: ม. 65 ทวิ (5) เงินตรา,ท/ส,น/ส ที่เป็นเงินตราต่างประเทศ ที่คงเหลือในวันสุดท้ายของรอบบัญชี หรือ ที่ได้มาหรือจ่ายไปในระหว่างรอบระยะเวลา บัญชี (วันที่เกิดเหตุการณ์) (8) ต้นทุนสินค้าที่นำเข้าจากต่างประเทศ ประกาศก.คลัง ลว.8 ก.พ. 2548 ให้ใช้อัตราอ้างอิง (Reference Rate) เลือกใช้ Actual Rate หรือ BOT Rate ของวันนั้นๆ Consistency VAT: ม.79/4 (1) Export goods รายได้อื่นจากต่างประเทศ (2) Import goods - ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาทุกกรณี - ภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่ายทุกกรณี - ธุรกิจเฉพาะทุกกรณี - อากรแสตมป์ทุกกรณี - VAT นอกจากประเด็น ม.79/4

185 การจำหน่ายหนี้สูญออกจากบัญชีลูกหนี้
มาตรา 65 ทวิ (9) ดู กฎกระทรวง ฉบับที่ 186 (พ.ศ.2534) 1. หนี้สูญที่จะถือเป็นรายจ่ายทางภาษี ต้องเป็นไปตามกฎกระทรวง ฉบับที่ 186 โดยให้ถือเป็นรายจ่ายของรอบระยะเวลาบัญชีที่เป็น ไปตามหลักเกณฑ์ วีการ และเงื่อนไขตามกฎกระทรวงดังกล่าว 2. หนี้สูญที่ได้รับกลับคืนมา ให้นำมาถือเป็นรายได้ในรอบระยะ เวลาบัญชีปีที่ได้รับกลับคืน นั้น 3. หนี้สูญที่ไม่เป็นไปตามหลักเกณฑ์ในกฎกระทรวง ฉบับที่ 186 ซึ่งได้บวกกลับแล้ว หากภายหลังได้รับกลับคืนมา ก็ไม่ต้องนำ มาถือเป็นรายได้ทางภาษีอากรอีก

186 คุณลักษณะของลูกหนี้ที่จะนำมาจำหน่ายหนี้สูญทางภาษีอากร
(1) ต้องเป็นหนี้จากการประกอบกิจการหรือเนื่องจากการประกอบกิจการ หรือหนี้ที่ได้รวมเป็นเงินได้ในการคำนวณกำไรสุทธิ ทั้งนี้ ไม่รวมหนี้ที่ผู้เป็น หรือเคยเป็นกรรมการหรือหุ้นส่วนผู้จัดการ เป็นลูกหนี้ ไม่ว่าหนี้นั้นจะเกิดขึ้นก่อนหรือในขณะที่ผู้นั้นเป็นกรรมการหรือหุ้นส่วนผู้จัดการ (2) ต้องเป็นหนี้ที่ยังไม่ขาดอายุความและ (3) ต้องมีหลักฐานโดยชัดแจ้งที่สามารถฟ้องลูกหนี้ได้ (4) มีหลักฐานการติดตามทวงถามให้ชำระหนี้ตามสมควรแก่กรณีแล้วแต่ไม่ได้รับชำระหนี้

187 หนี้สูญ (Bad Debt) Account Payable : A/P Account Receivable : A/R
เงื่อนไขในการจำหน่ายหนี้สูญเป็นไปตามม. 65 ทวิ(9) จำนวนหนี้ที่ได้รับการ ปลดหรือลดให้ = รายได้ หลักเกณฑ์ในการจำหน่ายหนี้สูญเป็นไปตามกฎกระทรวง ฉบับที่ 186 ได้รับยกเว้น CIT ตามพรฎ. (ฉ.340) การฟื้นฟูกิจการของลูกหนี้ต่อศาลล้มละลายและ การปรับปรุงโครงสร้างหนี้ โดยพรฎ. (ฉ.325) (ฉ.360) (ฉ.399) (ฉ.410) (ฉ.418) (ฉ.433)

188 ตารางสรุปการจำหน่ายหนี้สูญ
วิธีการติดตาม ทวงถาม ลูกหนี้มีจำนวน ไม่เกิน 1 แสน เกินกว่า 5 แสน 1. ทวงถาม ด้วยตนเอง 2. ฟ้องร้องใน คดีแพ่ง ไม่ต้องดำเนินคดี หากมีหลักฐานการ ทวงถามตามสมควร แก่กรณีแล้ว แต่ไม่ ได้รับชำระหนี้ และ หากจะฟ้องต้องเสีย ค่าใช้จ่ายไม่คุ้มกับ หนี้ที่จะได้รับชำระ เมื่อศาลมีคำสั่งรับคำ ฟ้องแล้ว ให้กรรม การหรือหุ้นส่วนผู้ จัดการมีคำสั่งอนุมัติ ให้จำหน่ายหนี้สูญ ภายใน 30 วันนับ แต่วันสุดท้ายของ รอบระยะเวลาบัญชี ต้องดำเนินคดีจน ถึงที่สุด โดยศาลมีคำสั่ง/ คำบังคับแล้ว แต่ลูกหนี้ไม่มีทรัพย์สินใดๆ ชำระหนี้ได้ ต้องดำเนินการจนถึงที่สุด โดยมีหลักฐานการติดตามทวงถามอย่างชัดแจ้ง และไม่ได้รับชำระหนี้ โดยปรากฏว่า (1) ลูกหนี้ตาย/สาบสูญและไม่มีทรัพย์สินใดๆ จะชำระหนี้ได้ (2) ลูกหนี้เลิกกิจการ และเจ้าหนี้อื่นมีบุริมสิทธิเหนือ ทรัพย์สินของลูกหนี้

189 ตารางสรุปการจำหน่ายหนี้สูญ
วิธีการติดตาม ทวงถาม ลูกหนี้มีจำนวน ไม่เกิน 1 แสน เกินกว่า 5 แสน 3. ฟ้องร้องใน คดีล้มละลาย ไม่ต้องดำเนินคดี หากมีหลักฐานการ ทวงถามตามสมควร แก่กรณีแล้วแต่ไม่ ได้รับชำระหนี้ และ หากจะฟ้องต้องเสีย ค่าใช้ จ่ายไม่คุ้มกับ หนี้ที่จะได้รับชำระ เมื่อศาลมีคำสั่งรับ คำฟ้องแล้วให้กรรม-การหรือหุ้นส่วนผู้จัด การมีคำสั่งอนุมัติให้ จำหน่ายหนี้สูญภาย ใน 30 วันนับแต่วันสุดท้ายของรอบระยะ เวลาบัญชี ต้องดำเนินคดีถึงที่สุด 1. มีการประนอมหนี้ โดยศาลมีคำสั่งเห็น ชอบ 2. ศาลพิพากษาให้ลูก หนี้เป็นบุคคลล้มละลายต้องมีการแบ่งเฉลี่ยทรัพย์สินของลูกหนี้ ครั้งแรกแล้ว หนี้ในส่วนที่ได้ปลดหรือประนอมหนี้ให้ลูกหนี้ ให้จำหน่ายหนี้ โดยไม่ต้องดำเนินการตามวิธีที่ 1 ถึงวิธีที่ 3 ข้างต้น 4. กรณีปฏิบัติ ตามแผนฟื้น ฟูกิจการ กรณีธนาคารพาณิชย์ บริษัทเงินทุน หลักทรัพย์ เครดิตฟองซิเอร์ จำนวนลูกหนี้ แต่ละรายเพิ่มจำนวนเป็นไม่เกิน 2 แสนบาท

190 การจำหน่ายหนี้สูญออกจากบัญชีลูกหนี้
มีคุณลักษณะเป็นลูกหนี้ ทีจำหน่ายหนี้สูญได้ N Non Deductible Expense Y N ดำเนินการฟ้องร้อง เป็นคดีทางศาล การติดตามทวงถามต้องดำเนินการจนถึงที่สุดเท่านั้น Y ลูกหนี้มีจำนวนไม่เกิน 100,000 บาทและคุ้มค่า ใช้จ่ายทีจะดำเนินการ N จำหน่ายหนี้สูญทางภาษีอากร Y เมื่อได้รับชำระหนี้ให้นำกลับมาถือเป็นรายได้ในการคำนวณกำไรขาดทุนสุทธิทางภาษีอากร นำไปรวมกับลูกหนี้ที่มีจำนวนไม่เกิน 500,000 บาท

191 การจำหน่ายหนี้สูญออกจากบัญชีลูกหนี้
ลูกหนี้ที่มีจำนวนไม่เกิน 500,000 บาท Y ดำเนินการฟ้องร้อง เป็นคดีทางศาล N ไม่ว่าจะดำเนินการในคดีแพ่งหรือคดีล้มละลาย เมื่อศาลมีคำสั่งรับคำฟ้องจำหน่ายหนี้สูญทันที แต่ไม่เกิน30 วันนับแต่วันสุดท้ายของรอบบัญชี การติดตามทวงถามต้องดำเนินการจนถึงที่สุดเท่านั้น เมื่อได้รับชำระหนี้ให้นำกลับมาถือเป็นรายได้ในการคำนวณกำไรขาดทุนสุทธิทางภาษีอากร

192 การจำหน่ายหนี้สูญออกจากบัญชีลูกหนี้
ลูกหนี้ที่มีจำนวนเกินกว่า 500,000 บาท N ดำเนินการฟ้องร้อง เป็นคดีทางศาล การติดตามทวงถามต้องดำเนินการจนถึงที่สุดเท่านั้น Y Y ดำเนินการฟ้องร้อง ในคดีแพ่ง การติดตามทวงถามต้องดำเนินการจนถึงที่สุดเท่านั้น N ดำเนินการฟ้องร้องในคดีล้มละลาย ต้องดำเนินการจนถึงที่สุด ศาลมีคำสั่งเห็นชอบกับ การประนอมหนี้ ศาลมีคำสั่งเห็นชอบกับ แผนฟื้นฟูกิจการของลูกหนี้ ศาลพิพากษาให้ลูกหนี้เป็นบุคคลล้มละลายและได้มีการแบ่งเฉลี่ยทรัพย์ของลูกหนี้ครั้งแรก เมื่อได้รับชำระหนี้ให้นำกลับมาถือเป็นรายได้ในการคำนวณกำไรขาดทุนสุทธิทางภาษีอากร

193 การปลดหนี้ให้แก่ลูกหนี้
การดำเนินการ ด้านเจ้าหนี้ ด้านลูกหนี้ การประนอมหนี้ตามกฎกระทรวง ฉบับที 186 รับรู้เป็นรายจ่าย รับรู้เป็นรายได้ การลดหนี้ตามแผนฟื้นฟูกิจการของลูกหนี้ตาม พรฎ.(340)2541 รับรู้เป็นรายจ่ายตามกฎกระทรวง ฉบับที 186 ยกเว้น CIT การลดหนี้โดยการปรับโครงสร้างหนี้ตามหลัก เกณฑ์ BOT รับรู้เป็นรายจ่าย... ยกเว้น CIT,VAT,SBT และ SD สำหรับการขายทรัพย์สิน สินค้าหรือการให้บริการ ยกเว้น CIT เฉพาะที่ได้กระทำภายในกำหนด เวลาของกฎหมาย และสิทธิประโยชน์เช่นเดียว กับเจ้าหนี้

194 สำหรับการปลดหนี้ให้แก่
การปลดหนี้ให้แก่ลูกหนี้ ตามกฎกระทรวง ฉบับที่ 186 (พ.ศ. 2534)* และสิทธิประโยชน์ของลูกหนี้และเจ้าหนี้ ตามพระราชกฤษฎีกา ** แก้ไขเพิ่มเติมโดย กฎกระทรวง * โดยพระราชกฤษฎีกา ** สำหรับการปลดหนี้ให้แก่ ลูกหนี้ในระหว่าง ฉบับที่ 225 (2542) ฉบับที่ 237 (2545) ฉบับที่ 242 (2546) ฉบับที่ 243 (2547) ฉบับที่ 251 (2548) (ฉบับที่ 360) 2542 (ฉบับที่ 399) 2545 (ฉบับที่ 410) 2546 (ฉบับที่ 418) 2547 (ฉบับที่ 433) 2548 1 ต.ค ธ.ค. 2544 1 ม.ค ธ.ค. 2545 1 ม.ค ธ.ค. 2546 1 ม.ค ธ.ค. 2547 1 ม.ค ธ.ค. 2549 * สิทธิประโยชน์ของเจ้าหนี้จากการจำหน่ายหนี้สูญ อันเนื่องมาจากการปรับปรุงโครงสร้างหนี้ตามเกณฑ์ของธนาคารแห่งประเทศไทย

195 การปลดหนี้ให้แก่ลูกหนี้ตามแผนฟื้นฟูกิจการของลูกหนี้ ตาม พรฎ
การปลดหนี้ให้แก่ลูกหนี้ตามแผนฟื้นฟูกิจการของลูกหนี้ ตาม พรฎ. (ฉบับที่ 340) พ.ศ.2541: สิทธิประโยชน์ของลูกหนี้ ให้ยกเว้นภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาและภาษีเงินได้นิติบุคคลให้ แก่ลูกหนี้ สำหรับเงินได้ที่ได้รับจากการปลดหนี้หรือการประนอมหนี้ ตามคำขอประนอมหนี้หรือแผนฟื้นฟูกิจการของลูกหนี้ ที่ศาลได้มีคำสั่งเห็นชอบตามกฎหมายว่าด้วยล้มละลาย ให้ยกเว้นภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ภาษีเงินได้นิติบุคคล ภาษี มูลค่าเพิ่ม ภาษีธุรกิจเฉพาะ และอากรแสตมป์ให้แก่ลูกหนี้และเจ้าหนี้ สำหรับเงินได้ที่ได้รับจากการโอนทรัพย์สิน การขายสินค้า หรือการให้บริการ และการกระทำตราสารอันเนื่องมาจากการดำเนินการตามคำขอประนอมหนี้หรือแผนฟื้นฟูกิจการของลูกหนี้ที่ศาลได้มีคำสั่งเห็นชอบ ตามกฎหมายว่าด้วยล้มละลาย ทั้งนี้ ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2541 เป็นต้นไป

196 รายจ่ายต้องห้ามตามมาตรา 65 ตรี
1. รายจ่ายต้องห้ามโดยแท้ หมายถึง รายจ่ายที่ไม่ใช่รายจ่ายเพื่อหากำไรหรือรายจ่ายเพื่อกิจการโดยเฉพาะ ซึ่งในทางบัญชีก็ไม่ได้นำรายการรายจ่ายนี้ไปถือเป็นรายจ่าย 2. รายจ่ายต้องห้ามโดยผลของกฎหมาย หมายถึง รายจ่ายซึ่งโดยปกติทั่วไปถือเป็นรายจ่ายในการคำนวณกำไรหรือขาดทุนทางบัญชี แต่ห้ามมิให้นำมาถือเป็นรายจ่ายในการคำนวณกำไรหรือขาดทุนทางภาษีอากร อย่างไรก็ตาม ด้านตรงข้ามของหลักเกณฑ์เกี่ยวกับรายจ่ายต้องห้าม (Non Deductible Expenditure) ย่อมเป็นหลักเกณฑ์เกี่ยวกับรายจ่ายที่ไม่ต้องห้าม (Deductible Expenditure) โดยปริยาย

197 รายจ่ายต้องห้ามโดยแท้
1. มาตรา 65 ตรี (1) เงินสำรอง เช่น สำรองตามกฎหมาย 2. มาตรา 65 ตรี (2) เงินกองทุน 3. มาตรา 65 ตรี (3) รายจ่ายอันมีลักษณะเป็นการส่วนตัว การให้โดยเสน่หา และการกุศลที่มิใช่การกุศลสาธารณะ 4. มาตรา 65 ตรี (5) รายจ่ายอันมีลักษณะเป็นการลงทุน รายจ่ายในการต่อเติม เปลี่ยนแปลง ขยายออก หรือทำให้ดีขึ้นซึ่งทรัพย์สิน 5. มาตรา 65 ตรี (6 ทวิ) ภาษีมูลค่าที่ชำระหรือพึงต้องชำระ ภาษีซื้อที่เครดิตได้ และภาษีซื้อต้องห้ามตามมาตรา 82/5 (1)(2)(3) และ (5)

198 รายจ่ายต้องห้ามโดยแท้
6. มาตรา 65 ตรี (7) เงินถอนทุนโดยปราศจากค่าตอบแทนให้ห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล 7. มาตรา 65 ตรี (9) รายจ่ายที่กำหนดขึ้นเองโดยไม่มีการจ่ายจริง 8. มาตรา 65 ตรี (10) ค่าตอบแทนแก่ทรัพย์สินที่บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลเป็นเจ้าของและใช้เอง 9. มาตรา 65 ตรี (11) ดอกเบี้ยที่คิดให้แก่เงินทุน เงินสำรอง เงินกองทุนของตนเอง 10. มาตรา 65 ตรี (12) ผลขาดทุนสุทธิยกมาในส่วนที่เกินกว่า 5 รอบระยะเวลาบัญชี

199 รายจ่ายต้องห้ามโดยแท้
11. มาตรา 65 ตรี (13) รายจ่ายซึ่งมิใช่รายจ่ายเพื่อหากำไรหรือเพื่อกิจการโดยเฉพาะ 12. มาตรา 65 ตรี (14) รายจ่ายซึ่งมิใช่รายจ่ายเพื่อกิจการในประเทศไทยโดยเฉพาะ 13. มาตรา 65 ตรี (16) ค่าของทรัพยากรธรรมชาติที่สูญหรือสิ้นไปได้เนื่องจากกิจการที่ทำ

200 รายจ่ายต้องห้ามโดยแท้
รายการรายจ่ายต้องห้ามโดยแท้ มาตรา 65 ตรี 1. ในทางบัญชีไม่ถือเป็นรายจ่าย 2. รายจ่ายต้องห้ามโดยแท้ 3. เข้าลักษณะเป็นหลีกเลี่ยงภาษี 4. รายจ่ายที่เป็นไปไม่ได้ (1)(2)(3)(5)(6 ทวิ)(7)(12) (13)(14) (9) (10)(11)(16)

201 ผลขาดทุนสุทธิยกมาไม่เกิน 5 ปี
1. ต้องเป็นผลขาดทุนสุทธิทางภาษีอากร ซึ่งได้ปรับปรุงให้เป็นไปตามเงื่อนไขแห่งประมวลรัษฎากรแล้ว 2. ต้องเป็นผลขาดทุนสุทธิของรอบระยะ เวลาบัญชีที่นับย้อนหลังขึ้นไปไม่เกิน 5 ปี ก่อนรอบระยะเวลาบัญชีปีปัจจุบัน 3. การนำผลขาดทุนสุทธิไปถือเป็นรายจ่าย ให้นำผลขาดทุนสุทธิของรอบระยะเวลาบัญชีที่เกิดขึ้นก่อนไปหักเป็นราย จ่ายในการคำนวณกำไรสุทธิของรอบระยะเวลาบัญชีที่มีกำไรสุทธิเป็นปีแรกในช่วงเวลาไม่เกิน 5 ปี หลังจากปีที่มีผลขาดทุนสุทธิดังกล่าว ตามหลักผลขาดทุนเกิดขึ้นก่อนให้นำมาหักก่อน (First-loss, First-use) ในกรณีที่ยังมีผลขาดทุนสุทธิเหลืออยู่ ก็ให้นำผลขาดทุนสุทธิดังกล่าวไปหักเป็นรายจ่ายในการคำนวณกำไรสุทธิของรอบระยะเวลาบัญชีปีต่อไป ตามหลักเกณฑ์ข้างต้น ให้นำมาหักเป็นรายจ่ายได้เพียงเท่าที่ไม่เกินกว่ากำไรสุทธิของรอบระยะเวลาบัญชีนั้นเท่านั้น

202 รายจ่ายต้องห้ามโดยผลของกฎหมาย
1. มาตรา 65 ตรี (2) เงินกองทุนสำรองเลี้ยงชีพที่ไม่เป็นไปตามหลักเกณฑ์ในกฎกระทรวงฉบับที่ 183 2. มาตรา 65 ตรี (4) ค่ารับรองในส่วนที่ไม่เป็นไปตามหลักเกณฑ์ในกฎกระทรวง ฉบับที่ 143 3. มาตรา 65 ตรี (6) เบี้ยปรับ เงินเพิ่ม ค่าปรับทางอาญาตามประมวลรัษฎากร และค่าภาษีเงินได้นิติบุคคลที่จ่ายจากกำไรสุทธิ 4. มาตรา 65 ตรี (6 ทวิ) ภาษีขาย หรือภาษีมูลค่าเพิ่มที่ไม่ได้เรียกเก็บหรือออกให้แก่บุคคลอื่น

203 รายจ่ายต้องห้ามโดยผลของกฎหมาย
5. มาตรา 65 ตรี (8) เงินเดือนของผู้ถือหุ้นหรือผู้เป็นหุ้นส่วนในส่วนที่จ่ายเกินสมควร 6. มาตรา 65 ตรี (9) รายจ่ายซึ่งควรจะได้จ่ายในรอบระยะเวลาบัญชีอื่น 7. มาตรา 65 ตรี (12) ผลเสียหายอันอาจได้กลับคืนเนื่องจากการประกันหรือสัญญาคุ้นกันใดๆ 8. มาตรา 65 ตรี (15) ค่าซื้อทรัพย์สิน และรายจ่ายในการซื้อหรือขายทรัพย์สิน (รวมทั้งสินค้า) ในส่วนที่เกินปกติโดยไม่มีเหตุอันสมควร 9. มาตรา 65 ตรี (17) ค่าของทรัพย์สินนอกจากสินค้า ที่ตีราคาต่ำลง 10. มาตรา 65 ตรี (18) รายจ่ายที่พิสูจน์ไม่ได้ว่าใครเป็นผู้รับ

204 A. Co. ltd. Traders Group of Person Site Non Deductible ม. 65 ตรี (18)
Accepted Doc. Construction - Tax Inv., Invoice - Receipt - Slip with Copy PIN card - Cross Chq. “A/C Payee only” Accepted Doc. Sale out Buy in Group of Person General Plan - Trade Registered - Tax ID PIT: Exp.80% Beware VAT: 1.8 M./yr.

205 รายจ่ายต้องห้ามโดยผลของกฎหมาย
11. มาตรา 65 ตรี (19) รายจ่ายที่กำหนดจ่ายผลกำไรที่ได้เมื่อสิ้นรอบระยะเวลาบัญชีแล้ว 12. มาตรา 65 ตรี (20) ดู พรฎ. (ฉบับที่ 315) พ.ศ.2540 ใช้บังคับตั้งแต่ 29 พ.ค เป็นต้นมา (1) มูลค่าต้นทุนทรัพย์สินประเภทรถยนต์นั่งหรือรถยนต์โดยสารที่มีที่นั่งไม่เกิน 10 คน ในส่วนที่เกินกว่า 1 ล้านบาท (2) ค่าเช่ารถยนต์นั่งหรือรถยนต์โดยสารที่มีที่นั่งไม่เกิน 10 คน ในส่วนที่เกินกว่า 36,000 บาท ต่อคันต่อเดือน หรือ 1,200 บาทต่อคันต่อวัน

206 Donation & Charity เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ Y
และเงื่อนไขตาม พรฎ. (ฉ.458) หักเป็นรายจ่ายในกาคำนวณ P&L ได้ 1.5 เท่าของจำนวนที่จ่ายจริงแต่ไม่เกิน 20% ของ NP Y N เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขตาม พรฎ. (ฉ.420) และ (ฉ.428) Y หักเป็นรายจ่ายในกาคำนวณ P&L ได้สองเท่าของจำนวนที่จ่ายจริงแต่ไม่เกิน 10% ของ NP N เป็นรายจ่ายเพื่อการกุศลสาธารณะฯ และเพื่อการศึกษาหรือเพื่อการการกีฬา ตามมาตรา 65 ตรี (3) และประกาศ อธิบดีฯ เกี่ยวภาษีเงินได้(ฉ.43) รวมกับจำนวนที่จ่ายจริงของส่วนที่เกิน 10% ของ NP หักเป็นรายจ่ายในกาคำนวณ P&L ได้ตามจำนวนที่จ่ายจริงแต่ไม่เกิน 2% ของ NP Y N รายจ่ายต้องห้ามตามมาตรา 65 ตรี (3)

207 รายจ่ายเพื่อการสนับสนุนการศึกษาตามพระราชกฤษฎีกา (ฉบับที่ 420)
มาตรา 3 ให้ยกเว้น CIT สำหรับเงินหรือมูลค่าของทรัพย์สินเป็นจำนวนสองเท่าของรายจ่ายที่จ่ายไปเป็นค่าใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนการศึกษา แต่ต้องไม่เกิน 10% ของกำไรสุทธิก่อนหักรายจ่ายเพื่อการกุศลสาธารณะหรือเพื่อการสาธารณะประโยชน์ และเพื่อการศึกษาหรือเพื่อการกีฬา ตามมาตรา 65 ตรี (3) แห่งประมวลรัษฎากร ทั้งนี้ ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่อธิบดีกรมสรรพากรประกาศกำหนด ค่าใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนการศึกษาดังกล่าว ต้องเป็นค่าใช้จ่ายสำหรับโครงการที่กระทรวงศึกษาให้ความเห็นชอบ และเป็นค่าใช้จ่ายดังต่อไปนี้ (1) จัดหาหรือจัดสร้างอาคาร อาคารพร้อมที่ดิน หรือที่ดินให้แก่ สถานศึกษา เพื่อใช้ประโยชน์ทางการศึกษา

208 รายจ่ายเพื่อการสนับสนุนการศึกษาตามพระราชกฤษฎีกา (ฉบับที่ 420)
(2) จัดหาวัสดุอุปกรณ์เพื่อการศึกษา แบบเรียน ตำรา หนังสือ ทางวิชาการ สื่อ และเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา ตลอดจน วัสดุอุปกรณ์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาให้แก่ สถาน ศึกษา ตามที่รัฐมนตรีว่าการ กระทรวงการคลังกำหนด

209 รายจ่ายเพื่อการสนับสนุนการศึกษาตามพระราชกฤษฎีกา (ฉบับที่ 420)
มาตรา 4 ให้ยกเว้น PIT CIT VAT SBT และ SD ให้แก่บุคคลธรรมดา หรือบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล สำหรับเงินได้ที่ได้รับจากการโอนทรัพย์สิน หรือการขายสินค้า หรือสำหรับการกระทำตราสารอันเนื่องมา จากการดำเนินการสนับสนุนการศึกษา ตามโครงการที่กระทรวงศึกษาธิการให้ความเห็นชอบตามมาตรา 3 โดยผู้โอนจะต้องไม่นำต้นทุนของทรัพย์สินหรือสินค้าซึ่งได้รับยกเว้นภาษีดังกล่าวมาหักเป็นค่าใช้จ่ายในการคำนวณภาษีเงินได้ของบุคคลธรรมดา หรือบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล ทั้งนี้ ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขที่อธิบดีกรมสรรพากรประกาศกำหนด

210 รายจ่ายเพื่อการสนับสนุนด้านการเรียนรู้และนันทนาการตาม พรฎ. (ฉ.428)
มาตรา 3 ให้ยกเว้น CIT สำหรับเงินหรือมูลค่าของทรัพย์สินเป็นจำนวนสองเท่าของรายจ่ายที่จ่ายไปเป็นค่าใช้จ่ายในการจัดสร้างและการบำรุงรักษาสนามเด็กเล่น สวนสาธารณะ หรือสนามกีฬาของเอกชนที่เปิดให้ประชาชนใช้เป็นการทั่วไป โดยไม่เก็บค่าบริการใดๆ หรือสนามเด็กเล่น สวนสาธารณะ หรือสนามกีฬาของทางราชการ แต่เมื่อรวมกับรายจ่ายที่จ่ายไปเป็นค่าใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนการศึกษาสำหรับโครงการที่กระทรวงศึกษาธิการให้ความเห็นชอบแล้ว (ตามพรฎ. (ฉ.420) แต่ต้องไม่เกิน 10%ของกำไรสุทธิก่อนหักรายจ่ายเพื่อการกุศลสาธารณะหรือเพื่อการสาธารณประโยชน์ และรายจ่ายเพื่อการศึกษาหรือเพื่อการกีฬา ตามมาตรา 65 ตรี (3) แห่งประมวลรัษฎากร

211 รายจ่ายเพื่อการสนับสนุนด้านการเรียนรู้และนันทนาการตาม พรฎ. (ฉ.428)
มาตรา 4 ให้ยกเว้น CIT สำหรับการบริจาคให้แก่กองทุนฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการ กองทุนส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคม กองทุนคุ้มครองเด็ก หรือกองทุนพัฒนากีฬาแห่งชาติที่จัดตั้งขึ้นตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2542 เป็นจำนวนเงินหรือมูลค่าของทรัพย์สินเท่าที่บริจาค แต่เมื่อรวมกับรายจ่ายเพื่อการกุศลสาธารณะตามมาตรา 65 ตรี (3) แห่งประมวลรัษฎากรแล้ว ต้องไม่เกินร้อยละสองของกำไรสุทธิก่อนหักรายจ่ายเพื่อการกุศลสาธารณะ

212 Donation & Charity หักเป็นรายจ่ายในกาคำนวณ P&L ได้สองเท่าของจำนวนที่จ่ายจริงแต่ไม่เกิน 10% ของ NP เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขตาม พรฎ. (ฉ.420) และ (ฉ.428) Y N เป็นรายจ่ายเพื่อการกุศลสาธารณะ หรือเพื่อการสาธารณประโยชน์ ตามมาตรา 65 ตรี (3) และประกาศ อธิบดีฯ เกี่ยวภาษีเงินได้(ฉ.43) รวมกับจำนวนที่จ่ายจริงของส่วนที่เกิน 10%ของ NPตาม พรฎ.(428) หักเป็นรายจ่ายได้ตามจำนวนที่จ่ายจริงแต่ไม่เกิน 2% ของ NP Y N รวมกับจำนวนที่จ่ายจริงของส่วนที่เกิน 10%ของ NP ตามพรฎ.(420) หักเป็นรายจ่ายได้ตามจำนวนที่จ่ายจริงแต่ไม่เกิน 2% ของ NP เป็นรายจ่ายเพื่อการกุศลสาธารณะ หรือเพื่อการสาธารณประโยชน์ ตามมาตรา 65 ตรี (3) และประกาศ อธิบดีฯ เกี่ยวภาษีเงินได้(ฉ.43) Y N รายจ่ายต้องห้ามตามมาตรา 65 ตรี (3)

213 NP before Donation ,000,000,00 Less Donation (10/110) ,909.09 (Royal Decree 420 & 428) Balance ,090.01 Less Donation under sec.65 Ter(3) ,825.31 Balance ,264.70 Total (45, ,825.31) = 63,279.86 (4.545% %) = 6.328% สรุป บริจาคตาม พรฎ. (420 & 428) เป็นจำนวน 6.328% ของกำไรก่อนหักค่าการกุศล แต่เป็นรายจ่ายได้ %

214 รายจ่ายเพื่อการสนับสนุนการกีฬาตามโครงการตามยุทธศาสตร์ 4 ปีสร้างกีฬาชาติ (พ.ศ – 2551) ตามพรฎ. (ฉ.458) ให้ยกเว้น CIT สำหรับการบริจาคเพื่อจัดหาอุปกรณ์กีฬาสำหรับการฝึกซ้อมหรือการแข่งขันกีฬา หรือส่งเสริมสนับสนุนการพัฒนานักกีฬาและบุคลากรด้านกีฬา เท่ากับจำนวนเงินหรือมูลค่าของทรัพย์สินเป็นจำนวน 1.5 เท่าของรายจ่ายที่จ่ายไปเป็นค่าใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนการกีฬาตามโครงการตามยุทธศาสตร์ 4 ปี สร้างกีฬาชาติ (พ.ศ – 2551) แต่ต้องไม่เกินร้อยละ 20 ของกำไรสุทธิก่อนหักรายจ่ายเพื่อการกุศลสาธารณะหรือเพื่อการสาธารณประโยชน์ และรายจ่ายเพื่อการศึกษาหรือเพื่อการกีฬาตามมาตรา 65 ตรี (3) แห่งประมวลรัษฎากร สำหรับเงินได้ที่เกิดขึ้นตั้งแต่ปี 2549 ถึง 2551

215 Donation & Charity หักเป็นรายจ่ายในกาคำนวณ P&L ได้ 1.5 เท่าของจำนวนที่จ่ายจริงแต่ไม่เกิน 20%NP เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขตาม พรฎ. (ฉ.458) Y N หักเป็นรายจ่ายในกาคำนวณ P&L ได้สองเท่าของจำนวนที่จ่ายจริงแต่ไม่เกิน 10% NP เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และ เงื่อนไขตาม พรฎ. (ฉ.420) และ (ฉ.428) Y N รวมกับจำนวนที่จ่ายจริงของส่วนที่เกิน 10%ของ NP ของพรฎ.(428) หักเป็นรายจ่ายได้ตามจำนวนที่จ่ายจริงแต่ไม่เกิน 2% ของ NP รายจ่ายเพื่อการกุศลสาธารณะหรือเพื่อ การสาธารณประโยชน์ตามม.65 ตรี (3) และ ประกาศอธิบดีฯ เกี่ยวภาษีเงินได้(ฉ.43) Y N รวมกับจำนวนที่จ่ายจริงของส่วนที่เกิน 10%ของ NP ของพรฎ.(420) หักเป็นรายจ่ายได้ตามจำนวนที่จ่ายจริงแต่ไม่เกิน 2% ของ NP รายจ่ายเพื่อการศึกษาหรือเพื่อการกีฬา ตามมาตรา 65 ตรี (3) และประกาศ อธิบดีฯ เกี่ยวภาษีเงินได้(ฉ.43) Y N รายจ่ายต้องห้ามตามมาตรา 65 ตรี (3)

216 NP before Donation ,000,000,00 Less Donation 1.5 times (20/120) ,666.67 (Royal Decree (#458) Balance ,333.33 Less Donation (10/110 of 1 M) ,909.09 (Royal Decree (#420 & #428) Balance ,424.24 Less Donation sec.65 Ter(3) 14,277.43 14, ,554.86 Balance ,869.38 Total จำนวนที่บริจาคจริง (111, , ,554.86) = 188,120.52 (11.111% % %) = % นำไปถือเป็นรายจ่ายได้จำนวน 286, บาท (166, = 1.5 เท่าของ 111,111.11)

217 Donation VAT Goods องค์กรสาธารณะกุศล 1.สถานศึกษาของราชการ
2.โรงพยาบาลราชการ 3.สภากาชาดไทย 4.วัดวาอาราม 5.มูลนิธิ/สมาคม(Public Org) 6.โรงเรียน/มหาวิทยาลัย เอกชนประกอบกิจการใน รูปนิติบุคคล องค์การ/หน่วยงานราชการ ที่มีโครงการเพื่อ... 1.ช่วยเหลือผู้ประสบภัย พิบัติ 2.เพื่อให้รัฐบาล/ส่วนราชการ บริจาคต่อให้แก่สถาน ศึกษา Others ส่วนราชการ,รัฐวิสาหกิจ เช่น กรมตำรวจ ประกาศ VAT (ฉบับที่ 40) CIT : ม.65ตรี(3) VAT Exempt ม.81(1)(น) CIT: ม.65 ตรี (3) VAT: Non Vat Base CIT: ม.65 ตรี (3) Deemed Sale VAT Input Tax: Unclaimable Deduct Output Tax: Non Input Tax: Claimable Output Tax: Non Input Tax: Unclaimable Output Tax: VAT

218 ค่ารับรองหรือค่าบริการ
เป็นไปตามมาตรา 65 ตรี (4) และกฎกระทรวง ฉบับที่ 143 1. คุณลักษณะของค่ารับรองหรือค่าบริการ (1) เป็นกรณีจำเป็นตามธรรมเนียมประเพณีทางธุรกิจทั่วไป และผู้ที่ถูกรับรองต้องไม่ใช่ลูกจ้าง เว้นแต่ลูกจ้างจะมีส่วนเข้าร่วมในการนั้น (2) เป็นค่าใช้จ่ายอันอาจอำนวยประโยชน์แก่กิจการ เช่น ค่าอาหาร ค่าที่พัก ค่าเครื่องดื่ม ค่าดูมหรสพ หรือค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับการกีฬา เป็นต้น (3) กรณีให้เป็นสิ่งของต้องมีมูลค่าไม่เกิน 2,000 บาท/คน/คราว

219 ค่ารับรองหรือค่าบริการ (ต่อ)
(4) ต้องมีหลักฐานการจ่าย และได้รับอนุมัติจากผู้มีอำนาจในกิจการค่ารับรองดังกล่าวให้รวมค่าภาษีมูลค่าเพิ่มด้วย 2. จำนวนค่ารับรองหรือค่าบริการที่จะนำไปถือเป็นรายจ่าย (1) ตามจำนวนที่จ่ายจริง แต่ไม่เกิน 0.3% ของรายได้ก่อนหักรายจ่ายใดๆ ที่นำมาคำนวณกำไรหรือขาดทุนสุทธิทางภาษีอากร หรือเงินทุนจดทะเบียนชำระแล้ว ณ วันสุดท้ายของรอบระยะเวลาบัญชี แล้วแต่อย่างใดจะมากกว่า (2) จำนวนค่ารับรองสูงสุดต้องไม่เกิน 10 ล้านบาท

220 ค่ารับรองหรือค่าบริการ (ต่อ)
ค่ารับรองตามบัญชี รายได้ก่อนหักราย จ่ายใดๆ ที่ นำมาคำนวณ CIT เงินทุนจดทะเบียน ชำระแล้ว ณ วันสิ้น สิ้นรอบระยะเวลา เป็นไปตามหลักเกณฑ์ในกฎกระทรวง ฉบับที่ 143 (พ.ศ.2522) จำเป็นตามธรรมเนียมประเพณีทางธุรกิจทั่วไป รับรองบุคคลภายนอก อาจอำนายประโยชน์แก่กิจการ ค่าสิ่งของไม่เกิน 2,000 บ/คน/คราว รวมค่าภาษีมูลค่าเพิ่ม มีหลักฐานการจ่าย มีการอนุมัติสั่งจ่ายโดยผู้มีอำนาจ จำนวนที่มากกว่า คูณ 0.3% ค่ารับรองทางบัญชี ค่ารับรองทางภาษี แต่ไม่เกิน 10 ล้านบาท ถือเป็นรายจ่ายตามจำนวนที่น้อยกว่า

221 ป. 56/2538 Member Fee, Fees Golf Club, Sport Club Entertainment Club
ตกเป็นกรรมสิทธิ์โดย เด็ดขาดของกรรมการ, ที่ปรึกษาหรือพนักงาน Y N 1. ถือเป็นเงินได้ของผู้รับ 2. Input Tax ต้องห้าม 1. ไม่ถือเป็นเงินได้ของผู้รับ 2. Input Tax ต้องห้าม Y นำไปใช้เพื่อ การรับรอง N Y นำไปใช้เพื่อ การรับรอง N ค่ารับรองโดย เฉลียเป็นรายปีตามอายุสมาชิก ถือเป็นรายจ่ายต้องห้ามตาม ม.65ตรี (3) ค่ารับรองโดย เฉลี่ยเป็นรายปีตามอายุสมาชิก กรณีนำไปใช้ในกิจการไม่ต้องห้ามม.65ตรี พิจารณาเป็นรายกรณี

222 ภาษีซื้อที่ถือเป็นรายจ่ายต้องห้าม
ได้แก่ ภาษีซื้อที่เครดิตได้ และภาษีซื้อต้องห้ามตามมาตรา 82/5(1) (2)(3) และ (5) ดังนี้ (มาตรา 65 ตรี (6 ทวิ)) 1. ภาษีซื้อที่สามารถนำไปเป็นเครดิตหักออกจากภาษีขาย ในการคำนวณภาษีมูลค่าเพิ่มที่ต้องชำระ 2. ภาษีซื้อที่ไม่มีใบกำกับภาษี หรือมีใบกำกับภาษีแต่ไม่อาจพิสูจน์ได้ว่ามีการจ่ายภาษีซื้อตามใบกำกับภาษีไปจริง 3. ภาษีซื้อตามใบกำกับภาษีแบบเต็มรูปที่มีข้อความไม่ครบถ้วนบริบูรณ์ในส่วนที่เป็นสาระสำคัญตามมาตรา 86/4 4. ภาษีซื้อที่ไม่เกี่ยวข้องโดยตรงกับการประกอบกิจการ หรือภาษีซื้อสำหรับรายจ่ายต้องห้าม

223 ภาษีซื้อที่ถือเป็นรายจ่ายต้องห้าม
5. ภาษีซื้อที่ออกโดยผู้ที่ไม่มีสิทธิออกใบกำกับภาษี นอกจากนี้ภาษีมูลค่าเพิ่มที่ได้ชำระหรือพึงต้องชำระตามแบบ ภ.พ.30 และภาษีขายที่ไม่เรียกเก็บหรือออกให้แก่ผู้ซื้อสินค้าหรือผู้รับบริการ ก็ถือเป็นรายจ่ายต้องห้ามตามมาตรา 65 ตรี (6 ทวิ) ด้วยเช่นกัน

224 ภาษีซื้อต้องห้ามที่ถือเป็นรายจ่ายได้
ได้แก่ ภาษีซื้อสำหรับค่ารับรอง และภาษีซื้อต้องห้ามตามมาตรา 82/5 (6) ดังนี้ (มาตรา 65 ตรี (6 ทวิ)) 1. ภาษีซื้อสำหรับค่ารับรอง 2. ภาษีซื้อสำหรับรถยนต์นั่งหรือรถยนต์โดยสารที่มีที่นั่งไม่เกิน 10 คน รวมทั้งภาษีซื้อสำหรับสินค้าหรือบริการที่เกี่ยวกับรถยนต์ดังกล่าว 3. ภาษีซื้อสำหรับรถยนต์ที่ไม่ใช่รถยนต์นั่งหรือรถยนต์โดยสารที่มีที่นั่งไม่เกิน 10 คน ซึ่งทำการดัดแปลงให้เป็นรถยนต์ที่ไม่ใช่รถยนต์นั่งหรือรถยนต์โดยสารที่มีที่นั่งไม่เกิน 10 คน 4. ภาษีซื้อตามใบกำกับภาษีอย่างย่อ 5. ภาษีซื้อสำหรับทรัพย์สินหรือรายจ่ายที่ใช้ในกิจการประเภทที่ไม่ต้องเสียภาษี VAT

225 ภาษีซื้อต้องห้ามที่ถือเป็นรายจ่ายได้
6. ภาษีซื้อจากการเฉลี่ยในส่วนที่เป็นของกิจการที่ไม่ต้องเสีย VAT 7. ภาษีซื้อสำหรับสินค้าหรือบริการที่ต้องใช้ในกิจการทั้งที่ต้องเสีย VAT และไม่ต้องเสีย VAT ซึ่งรายได้ในส่วนที่ต้องเสีย VAT ไม่น้อยกว่า 90% และผู้ประกอบการจดทะเบียนเลือกใช้สิทธิไม่เฉลี่ยภาษีซื้อ 8. ภาษีซื้อสำหรับการก่อสร้างอาคารหรืออสังหาริมทรัพย์ที่ใช้ในกิจการที่ต้องเสีย VAT และต่อมาไม่เกิน 3 ปีนับแต่เดือนที่สร้างเสร็จสมบูรณ์ได้ขายหรือให้เช่าหรือนำไปใช้ในกิจการที่ต้องเสีย VAT 9. ภาษีซื้อตามใบกำกับภาษีแบบเต็มรูปที่รายการ “ใบกำกับภาษี” ไม่ได้ตีพิมพ์หรือจัดทำด้วยระบบคอมพิวเตอร์ กรณีจัดทำใบกำกับภาษีด้วยระบบคอมพิวเตอร์ทั้งฉบับ

226 รูปแบบการสร้างอาคารบนที่ดินเช่า
B – O – T: Built – Operate - Transfer B – T – O: Built – Transfer - Operate (ดู ป.90/2542 ประกอบ) การวางแผนภาษีอากร B – O 3yr. – T – O: Built – Operate at least 3 yrs - Transfer - Operate

227 ภาษีซื้อต้องห้ามที่ถือเป็นรายจ่ายได้ (3)
10. ภาษีซื้อตามใบกำกับภาษีแบบเต็มรูปที่รายการ “ชื่อ ที่อยู่ และเลขประจำตัวผู้เสียภาษีอากรของผู้ออกใบกำกับภาษี” ไม่ได้ตีพิมพ์หรือจัดทำด้วยระบบคอมพิวเตอร์ กรณีจัดทำใบกำกับภาษีด้วยระบบคอมพิวเตอร์ทั้งฉบับ 11. ภาษีซื้อตามใบกำกับภาษีแบบเต็มรูปที่ใบกำกับภาษีไม่ใช่เอกสารฉบับแรก และรายการ “เอกสารออกเป็นชุด” ไม่ได้ตีพิมพ์หรือจัดทำด้วยระบบคอมพิวเตอร์ กรณีจัดทำใบกำกับภาษีด้วยระบบคอมพิวเตอร์ทั้งฉบับ 12. ภาษีซื้อตามใบกำกับภาษีแบบเต็มรูปของสำนักใหญ่ที่สาขานำไปออกโดยไม่มีรายการ “สาขาที่ออกใบกำกับภาษีคือ ...” 13. ภาษีซื้อตามใบกำกับภาษีแบบเต็มรูปสำหรับค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับรถยนต์ที่ออกโดยผู้ประกอบกิจการสถานีบริการน้ำมัน โดยไม่มีรายการ “เลขทะเบียนรถยนต์”

228 ภาษีซื้อต้องห้ามที่ถือเป็นรายจ่ายได้
14. ภาษีซื้อตามสำเนาใบกำกับภาษีแบบเต็มรูป เว้นแต่ใบกำกับภาษีที่ไม่ใช่เอกสารฉบับแรกซึ่งมีรายการ “เอกสารออกเป็นชุด” 15. ภาษีซื้อตามใบกำกับภาษีแบบเต็มรูปที่รายการในใบกำกับภาษีได้ถูกแก้ไขเปลี่ยนแปลง เว้นแต่รายการดังต่อไปนี้ (1) การแก้ไขที่อยู่ของผู้ออกใบกำกับภาษี เนื่องจากทางราชการได้ประกาศเปลี่ยนแปลง เลขที่ ชื่อถนน หมู่บ้าน ตำบลหรือแขวง อำเภอหรือเขต หรือจังหวัด โดยลงลายมือชื่อกำกับการแก้ไข หรือประทับด้วยตรายางภายใน 1 ปี นับแต่วันที่ทางราชการประกาศเปลี่ยนแปลง (2) การแก้ไขเลขประจำตัวผู้เสียภาษีอากรของผู้ออกใบกำกับภาษี โดยลงลายมือชื่อกำกับการแก้ไข หรือประทับด้วยตรายางภายใน 6 เดือน นับแต่วันที่กรมสรรพากรได้แจ้งการเปลี่ยนแปลงรายการดังกล่าวให้ใหม่

229 ภาษีเงินได้นิติบุคคลหัก ณ ที่จ่าย ภาษีขายที่มีสิทธิเรียกเก็บ
ภาษีซื้อที่มีสิทธินำไปเครดิต/ขอคืน นำไปใช้เป็นเครดิตในการคำนวณ CIT หรือใช้สิทธิเรียกเก็บจากผู้ซื้อ หรือนำไปเครดิตในการคำนวณ VAT Y ไม่ก่อให้เกิดความสูญเสียใดๆ ในทางภาษีอากร N ก่อให้เกิดความสูญเสียทางภาษีอากรเป็นจำนวน 230% ของจำนวนเงินภาษีอากรที่ไม่ได้ใช้สิทธินั้น แนวทางในการวางแผนภาษีอากร 1. สร้างความมุ่งมั่นในการปฏิบัติตามเงื่อนไขทางภาษีอากรสูงสุด 2. ไม่พยายามก่อให้เกิดความเสียหายจากการปฏิบัติดังกล่าว

230 รายจ่ายที่หักได้เพิ่มขึ้น
รายจ่ายดังต่อไปนี้ หักเป็นรายจ่ายได้เพิ่มขึ้นจำนวน 100% ของรายจ่ายที่ได้จ่ายไปนั้น (พรฎ. (ฉ.437) ใช้บังคับ 19 ต.ค.2548 (1) รายจ่ายในการส่งลูกจ้างเข้ารับการศึกษาหรือฝึกอบรมในสถานศึกษาหรือสถาบันฝึกอบรมที่วิชาชีพที่ราชการจัดตั้งขึ้น (Public Training) (2) รายจ่ายในการฝึกอบรมลูกจ้างของตน (In house Training) ตามหลักสูตรที่ได้รับความเห็นชอบและอนุมัติค่าใช้จ่ายโดยกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน (3) รายจ่ายในการฝึกอบรมตามกฎหมายว่าด้วยการฝึกอบรมวิชาชีพ

231 Training Exp เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงือนไขใน พรฎ.(ฉ.437)
Y N In-house Training ที่ได้รับ อนุมัติจากกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน Public Training กับนิติบุคคล การฝึกอบรมฝีมือแรงงาน (ตั้งแต่ 19 ต.ค. 48 เป็นต้นไป หักเป็นรายจ่ายทางภาษีอากรได้ตามที่จ่ายจริง หักเป็นรายจ่ายทางภาษีอากรได้ 200% ของรายจ่ายที่ได้จ่ายไปจริง

232 In house Training ต้องเป็นหลักสูตรที่จัดขึ้นเพื่อพัฒนาฝีมือแรงงานของลูกจ้าง และได้รับการรับรองจากกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน กระทรวงแรงงาน และค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรมลูกจ้างแต่ละคนนั้นต้องเป็นไปตามอัตราที่ได้รับอนุมัติจากกระทรวงแรงงาน การฝึกอบรมต้องเป็นไปเพื่อประโยชน์ของกิจการของนายจ้างนั้น ลูกจ้างที่เข้ารับการฝึกอบรมต้องเป็นลูกจ้างของตน โดยนายจ้างต้องจัดทำทะเบียนลูกจ้างตามกฎหมายว่าด้วยการคุ้มครองแรงงานเพื่อเป็นหลักฐานการทำงานของลูกจ้าง ต้องมีการกำหนดเงื่อนไขให้ลูกจ้างที่เข้ารับการฝึกอบรมนั้นกลับเข้าทำงานหลังจากการฝึกอบรมเสร็จสิ้น ต้องกำหนดลักษณะ ขนาด และคุณสมบัติของวัสดุอุปกรณ์ที่จะใช้ในการฝึกอบรม เพื่อมิให้ปะปนกับวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการประกอบกิจการตามปกติของบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลนั้น

233 รายจ่ายที่หักได้เพิ่มขึ้น
2. ค่าจ้างเพื่อทำการวิจัยและพัฒนา (R&D) ให้แก่หน่วยงานของรัฐหรือเอกชนหรือของตนเอง จำนวน 100% ของรายจ่ายดังกล่าว (พรฎ. (ฉบับที่ 297) พ.ศ.) 3. รายจ่ายในการบริจาคเงินหรือทรัพย์สินเพื่อสนับสนุนการศึกษาและรายจ่ายเพื่อการสนับสนุนด้านการเรียนรู้และนันทนาการ จำนวน 100% ของรายจ่ายดังกล่าว แต่ไม่เกิน 10% ของกำไรสุทธิ ตามพรฎ. (ฉบับที่ 420) และ (ฉบับที่ 428)

234 รายจ่ายที่หักได้เพิ่มขึ้น
4. ค่าใช้จ่ายเพื่อการได้มาซึ่งทรัพย์สินประเภทอุปกรณ์ที่มีผลต่อการประหยัดพลังงานที่ไม่เคยผ่านการใช้งาน เพื่อการปรับเปลี่ยนแทนอุปกรณ์เดิม เป็นจำนวนร้อยละ 25 ของค่าใช้จ่ายนั้น เฉพาะในส่วนที่ไม่เกิน 50 ล้านบาท ตามพรฎ. (ฉ.436) ซึ่ง ต้องได้มาและพร้อมใช้งานได้ในระหว่าง 6 ตุลามคม 2548 ถึง 31 ธันวาคม 2549 โดยให้ยกเว้นตามส่วนเฉลี่ยเป็นจำนวนเท่ากันของจำนวนเงินได้ที่ได้รับยกเว้นภาษี สำหรับระยะเวลา 5 รอบระยะเวลาบัญชีนับแต่รอบระยะเวลาบัญชีแรกที่ได้ทรัพย์สินดังกล่าวมาและพร้อมใช้งานได้ ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขตามประกาศอธิบดีกรมสรรพากร เกี่ยวกับภาษีเงินได้ (ฉบับที่ 145)

235 ประกาศอธิบดีกรมสรรพากร เกี่ยวกับภาษีเงินได้ (ฉบับที่ 145)
“ทรัพย์สินประเภทอุปกรณ์ที่มีผลต่อการประหยัดพลังงาน” หมายความว่า อุปกรณ์ประสิทธิภาพสูงที่ประหยัดพลังงานและ/หรือลดความต้องการพลังงาน ซึ่งสามารถทำงานครบกระบวน การด้วยตัวเอง ที่ได้รับการรับรองจากกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงานว่ามีผลต่อการประหยัดพลังงาน “ค่าใช้จ่ายเพื่อการได้มาซึ่งทรัพย์สินประเภทอุปกรณ์ที่มีผลต่อการประหยัดพลังงาน” หมายความว่า มูลค่าของอุปกรณ์ เครื่องจักร รวมถึงค่าใช้จ่ายในการติดตั้งอุปกรณ์หรือเครื่องจักรที่มีผลต่อการประหยัดพลังงาน ต้องเป็นไปตามหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้ ทรัพย์สินประเภทอุปกรณ์เดิมต้องมีหลักฐานการได้มาซึ่งทรัพย์สิน ไม่ว่าจะเป็นใบเสร็จรับเงิน ใบกำกับภาษี ใบส่งสินค้า ใบแจ้งหนี้ สัญญาซื้อขายโอนกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สิน บัญชีทรัพย์สิน หรือเอกสารอื่นใดในทำนองเดียวกัน และทรัพย์สินประเภทอุปกรณ์ที่มีผลต่อการประหยัดพลังงานที่นำมาปรับเปลี่ยน ต้องเป็นการได้มาโดยมีค่าตอบแทน และพร้อมใช้งานได้ภายในวันที่ 31 ธันวาคม 2549

236 ประกาศอธิบดีกรมสรรพากร เกี่ยวกับภาษีเงินได้ (ฉบับที่ 145) – ต่อ
ต้องเป็นทรัพย์สินประเภทเดียวกันกับทรัพย์สินประเภทอุปกรณ์เดิมก่อนมีการปรับเปลี่ยน ผู้ประกอบการที่ประสงค์จะขอรับสิทธิยกเว้นภาษีเงินได้ สำหรับเงินได้ที่จ่ายเป็นค่าใช้จ่ายเพื่อการได้มาซึ่งทรัพย์สินประเภทอุปกรณ์ที่มีผลต่อการประหยัดพลังงาน ซึ่งเป็นการปรับเปลี่ยนแทนอุปกรณ์เดิม ต้องยื่นคำขอต่อกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงานให้ตรวจสอบและได้รับหนังสือรับรองว่าเป็นอุปกรณ์ที่มีผลต่อการประหยัดพลังงานตามหลักเกณฑ์ที่กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงานกำหนด ผู้ประกอบการซึ่งได้รับสิทธิยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลดังกล่าว หากได้ขายทรัพย์สินดังกล่าวในปีใด ให้หมดสิทธิยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลตั้งแต่ปีที่ขายทรัพย์สินดังกล่าวนั้น ผู้ประกอบการที่จะขอรับสิทธิยกเว้นภาษีเงินได้ ต้องไม่ได้รับสิทธิประโยชน์หรืออยู่ระหว่างการพิจารณาขอรับสิทธิประโยชน์สนับสนุนจากส่วนราชการโดยตรงเพื่อการส่งเสริมการลงทุนด้านอนุรักษ์พลังงานโครงการอื่นใด

237 รายจ่ายที่หักได้เพิ่มขึ้น
5. สำหรับเงินได้ที่ได้จ่ายเพื่อการลงทุนหรือการต่อเดิมเปลี่ยนแปลง ขยายออก หรือทำให้ดีขึ้นซึ่งทรัพย์สิน แต่ไม่ใช่เป็นการซ่อมแซมให้คงสภาพเดิม ตามมาตรา 65 ตรี (5) แห่งประมวลรัษฎากร ให้แก่บริษัทจดทะเบียน เป็นจำนวน 25% ของเงินได้ที่ได้จ่ายไปนั้น โดยการดำเนินการดังกล่าวต้องเกี่ยวเนื่องกับธุรกิจหลักของกิจการและจัดทำเป็นโครงการที่มีมูลค่าตั้งแต่ห้าล้านบาทขึ้นไป ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่อธิบดีกรมสรรพากรประกาศกำหนด ทั้งนี้ ต้องจ่ายภายในห้ารอบระยะเวลาบัญชีนับแต่รอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่มในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม พ.ศ เป็นต้นไป (ม.3 (1) แห่ง พรฎ. (ฉบับที่ 460) พ.ศ. 2549)

238 หลักเกณฑ์ วิธีการและเงือนไข เกี่ยวกับเงินได้ที่ได้จ่ายเพื่อการลงทุน หรือการต่อเติม เปลี่ยนแปลง ขยายออก หรือทำให้ดีขึ้นซึ่งทรัพย์สินตามมาตรา 3(1) แห่ง พรฎ. (ฉบับที่ 460) พ.ศ. 2549 ต้องเกี่ยวเนื่องกับธุรกิจหลักของกิจการ โดยมีแผนโครงการพร้อมที่จะให้เจ้าพนักงานประเมินตรวจสอบได้ “ธุรกิจหลักของกิจการ” หมายความว่า ธุรกิจที่เกี่ยวเนื่องโดยตรงกับการผลิตสินค้าหรือการขายสินค้าหรือการให้บริการที่กิจการกระทำเป็นปกติ “โครงการ” หมายความว่า โครงการการลงทุนของบริษัทในทรัพย์สินที่เกี่ยวเนื่องกับการดำเนินธุรกิจหลักของกิจการ ไม่ว่าจะเป็นการลงทุนในทรัพย์สินใหม่ การต่อเติม เปลี่ยนแปลง ขยายออก หรือทำให้ดีขึ้นซึ่งทรัพย์สิน แต่ไม่ใช่เป็นการซ่อมแซมให้คงสภาพเดิม ตามมาตรา 65 ตรี (5) แห่งประมวลรัษฎากร โดยบริษัทต้องจัดทำเป็นแผนโครงการซึ่งได้รับอนุมัติแผนโครงการจากกรรมการผู้มีอำนาจของบริษัท

239 หลักเกณฑ์ วิธีการและเงือนไข เกี่ยวกับเงินได้ที่ได้จ่ายเพื่อการลงทุนตามมาตรา 3(1) แห่ง พรฎ. (ฉบับที่ 460) พ.ศ. 2549 ต้องเป็นเงินได้ที่ได้จ่ายเพื่อการได้มาซึ่งทรัพย์สินตามโครงการ และได้จัดทำเป็นโครงการที่มีมูลค่าตั้งแต่ 5 ล้านบาทขึ้นไป ในทรัพย์สินดังต่อไปนี้ เครื่องจักร ส่วนประกอบ อุปกรณ์ เครื่องมือ เครื่องใช้ เครื่องตกแต่ง และเฟอร์นิเจอร์ บรรดาที่ใช้ในการดำเนินธุรกิจหลักของกิจการ โปรแกรมคอมพิวเตอร์โดยการพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ หรือซื้อโปรแกรมหรือซื้อลิขสิทธิ์โปรแกรมคอมพิวเตอร์ มาใช้ในธุรกิจหลักของกิจการของบริษัท ยานพาหนะที่จดทะเบียนในราชอาณาจักรที่ใช้ในการดำเนินธุรกิจหลักของกิจการ แต่ไม่รวมถึงรถยนต์นั่งหรือรถยนต์โดยสาร ที่มีที่นั่งไม่เกิน 10 คน ตามกฎหมายว่าด้วยพิกัดอัตราภาษีสรรพสามิตที่มิใช่ได้มาเพื่อนำออกให้เช่า ซึ่งเป็นธุรกิจหลักของกิจการ มูลค่าของทรัพย์สินดังกล่าว ได้แก่ มูลค่าของต้นทุนเพื่อการได้มาซึ่งทรัพย์สินจนถึงวันที่ทรัพย์สินนั้นใช้การได้ตามประสงค์

240 หลักเกณฑ์ วิธีการและเงือนไข เกี่ยวกับเงินได้ที่ได้จ่ายเพื่อการลงทุนตามมาตรา 3(1) แห่ง พรฎ. (ฉบับที่ 460) พ.ศ. 2549 ทรัพย์สินซึ่งมูลค่าของทรัพย์สินนั้นรวมเป็นมูลค่าของโครงการได้ ต้องเป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขดังต่อไปนี้ ต้องไม่เคยผ่านการใช้งานมาก่อน ต้องสามารถหักค่าสึกหรอและค่าเสื่อมราคาของทรัพย์สินตามมาตรา 65 ทวิ (2) แห่งประมวลรัษฎากร และต้องได้ทรัพย์สินนั้นมาและอยู่ในสภาพพร้อมที่จะใช้การได้ตามประสงค์ภายใน 5 รอบระยะเวลาบัญชีนับแต่รอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่มในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม พ.ศ เป็นต้นไป ต้องหักค่าสึกหรอและค่าเสื่อมราคาของทรัพย์สินนั้นเป็นระยะเวลาไม่น้อยกว่า 3 ปี นับแต่วันที่ทรัพย์สินอยู่ในสภาพพร้อมที่จะใช้การได้ตามประสงค์ ต้องอยู่ในราชอาณาจักร แต่ไม่รวมถึงกรณีทรัพย์สินประเภทยานพาหนะต้องเป็นทรัพย์สินที่ต้องจดทะเบียนตามกฎหมายว่าด้วยยานพาหนะนั้นๆ ในราชอาณาจักร

241 หลักเกณฑ์ วิธีการและเงือนไข เกี่ยวกับเงินได้ที่ได้จ่ายเพื่อการลงทุน หรือการต่อเติม เปลี่ยนแปลง ขยายออก หรือทำให้ดีขึ้นซึ่งทรัพย์สินตามมาตรา 3(1) แห่ง พรฎ. (ฉบับที่ 460) พ.ศ. 2549 ทรัพย์สินซึ่งมูลค่าของทรัพย์สินนั้นรวมเป็นมูลค่าของโครงการได้ ต้องเป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขดังต่อไปนี้ ต้องไม่นำไปใช้ในกิจการที่ได้รับการส่งเสริมการลงทุน ซึ่งก่อให้เกิดรายได้ที่ได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลตามกฎหมายว่าด้วยการส่งเสริมการลงทุน ไม่ว่าทั้งหมดหรือบางส่วน ต้องไม่นำไปใช้ในกิจการ ซึ่งก่อให้เกิดรายได้ที่ได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลตามพระราชกฤษฎีกา ที่ออกตามความในประมวลรัษฎากร ไม่ว่าทั้งหมดหรือบางส่วน  ประกาศอธิบดีกรมสรรพากร เกี่ยวกับภาษีเงินได้ (ฉบับที่ 156) 

242 หลักเกณฑ์ วิธีการและเงือนไข เกี่ยวกับเงินได้ที่ได้จ่ายเพื่อการลงทุนตามมาตรา 3(1) แห่ง พรฎ. (ฉบับที่ 460) พ.ศ. 2549 ต้องไม่ใช่ทรัพย์สินในกรณีดังต่อไปนี้ ที่ได้รับสิทธิประโยชน์ทางภาษีที่เกี่ยว ข้องกับทรัพย์สินนั้น ทรัพย์สินอันเกิดจากรายจ่ายที่ได้จ่ายไปเป็นค่าจ้างเพื่อการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยี ซึ่งใช้สิทธิประโยชน์ทางภาษีตามมาตรการส่งเสริมการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีตาม พรฎ. (ฉบับที่ 297) พ.ศ. 2539 เรือลำใหม่ที่ซื้อทดแทนเรือลำเก่าซึ่งใช้สิทธิประโยชน์ทางภาษีตามมาตรการภาษีเพื่อส่งเสริมกิจการพาณิชยนาวีตาม พรฎ. (ฉบับที่ 299) พ.ศ. 2539 อุปกรณ์ประหยัดพลังงานที่ซื้อทดแทนอุปกรณ์เดิมซึ่งใช้สิทธิประโยชน์ทางภาษีตามมาตรการภาษีเพื่อสนับสนุนการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้พลังงานตาม พรฎ. (ฉบับที่ 436) พ.ศ. 2548 ทรัพย์สินประเภทเครื่องจักรที่ใช้ในการประกอบกิจการที่ซื้อทดแทนเครื่องจักรเก่าที่ใช้ในการประกอบกิจการซึ่งใช้สิทธิประโยชน์ทางภาษีตามมาตรการขายเครื่องจักรเก่าเพื่อซื้อเครื่องจักรใหม่ทดแทนตาม พรฎ. (ฉบับที่ 460) พ.ศ. 2549

243 หลักเกณฑ์ วิธีการและเงือนไข เกี่ยวกับเงินได้ที่ได้จ่ายเพื่อการลงทุน หรือการต่อเติม เปลี่ยนแปลง ขยายออก หรือทำให้ดีขึ้นซึ่งทรัพย์สินตามมาตรา 3(1) แห่ง พรฎ. (ฉบับที่ 460) พ.ศ. 2549 ให้บริษัทมีสิทธิยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลเป็นจำนวนร้อยละ 25 ของเงินได้ที่ได้จ่ายซึ่งเป็นมูลค่าของโครงการที่กำหนด และเป็นเงินได้ที่จ่ายไปจริง โดยบริษัทได้จ่ายเงินได้ดังกล่าวไปในรอบระยะเวลาบัญชีใด ให้มีสิทธิยกเว้นภาษีเงินได้ในรอบระยะเวลาบัญชีนั้น และต้องมีหลักฐานการจ่ายเงินที่ได้จ่ายในรอบระยะเวลาบัญชีนั้น กรณีบริษัทได้ใช้สิทธิยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลในรอบระยะเวลาบัญชีใดแล้ว และต่อมาได้ปฏิบัติไม่เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่กำหนด บริษัทไม่มีสิทธิได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล บริษัทต้องนำเงินได้ที่ใช้สิทธิยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลไปแล้ว ไปรวมเป็นรายได้ในการคำนวณกำไรสุทธิเพื่อเสียภาษีเงินได้นิติบุคคลและกรณีที่บริษัทยื่นแบบแสดงรายการภาษีเงินได้นิติบุคคลเพิ่มเติมเพื่อเสียภาษีเงินได้นิติบุคคลเพิ่มเติมของรอบระยะเวลาบัญชีที่ได้ใช้สิทธิยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลนั้น บริษัทต้องรับผิดเสียเงินเพิ่มตามมาตรา 27 แห่งประมวลรัษฎากร

244 รายจ่ายที่หักได้เพิ่มขึ้น
6. สำหรับเงินได้ที่ได้รับจากการขายทรัพย์สินประเภทเครื่องจักรที่ใช้ในการประกอบกิจการเพื่อซื้อเครื่องจักรใหม่ทดแทน โดยจะต้องไม่นำมูลค่าต้นทุนส่วนที่เหลือของเครื่องจักรที่ขายมาหักเป็นรายจ่ายในการคำนวณภาษีเงินได้ของบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล ทั้งนี้ เฉพาะการขายที่ได้กระทำในระหว่างวันที่ 1 มกราคม พ.ศ ถึงวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ และตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่อธิบดีกรมสรรพากรประกาศกำหนด (ม.3 (2) แห่ง พรฎ. (ฉบับที่ 460) พ.ศ. 2549)

245 หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลสำหรับเงินได้จากการขายเครื่องจักรเพื่อซื้อเครื่องจักรใหม่ทดแทนตามม.3(2) แห่ง พรฎ. (ฉ.460) ทรัพย์สินประเภทเครื่องจักรที่ใช้ในการประกอบกิจการที่ขายต้องมีหลักฐานการได้มาซึ่งทรัพย์สิน ไม่ว่าจะเป็นใบเสร็จรับเงิน ใบกำกับภาษี ใบส่งสินค้า ใบแจ้งหนี้ สัญญาซื้อขายโอนกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สิน บัญชีทรัพย์สิน หรือเอกสารอื่นใดในทำนองเดียวกัน โดยเครื่องจักรใหม่ที่ซื้อทดแทนต้องเป็นทรัพย์สินประเภทเดียวกันกับทรัพย์สินประเภทเครื่องจักรที่ใช้ในการประกอบกิจการที่ขาย ซึ่งมีวัตถุประสงค์เพื่อเพิ่มกำลังการผลิตหรือการให้บริการที่ดีขึ้น หรือเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการผลิตหรือการให้บริการของกิจการ และต้องเป็นเครื่องจักรที่ไม่เคยผ่านการใช้งานมาก่อน  ประกาศอธิบดีกรมสรรพากร เกี่ยวกับภาษีเงินได้ (ฉบับที่ 156) 

246 หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลสำหรับการขายเครื่องจักรเพื่อซื้อเครื่องจักรใหม่ทดแทนตามม.3(2) แห่ง พรฎ. (ฉ.460) พ.ศ. 2549 ในกรณีที่บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลขายทรัพย์สินประเภทเครื่องจักรที่ใช้ในการประกอบกิจการก่อนซื้อเครื่องจักรใหม่ทดแทน บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลนั้นต้องซื้อเครื่องจักรใหม่ทดแทนภายในระยะเวลาไม่เกิน 1 ปี นับแต่วันที่ขายทรัพย์สินประเภทเครื่องจักรที่ใช้ในการประกอบกิจการ หรือในกรณีที่บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลซื้อทรัพย์สินประเภทเครื่องจักรใหม่ทดแทนก่อนขายทรัพย์สินประเภทเครื่องจักรที่ใช้ในการประกอบกิจการ บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลนั้นต้องขายทรัพย์สินประเภทเครื่องจักรที่ใช้ในการประกอบกิจการภายในระยะเวลาไม่เกิน 1 ปี นับแต่วันที่ได้ซื้อทรัพย์สินประเภทเครื่องจักรใหม่ทดแทน

247 หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลสำหรับการขายเครื่องจักรเพื่อซื้อเครื่องจักรใหม่ทดแทนตามม.3(2) แห่ง พรฎ. (ฉ.460) พ.ศ. 2549 ทรัพย์สินประเภทเครื่องจักรที่ใช้ในการประกอบกิจการที่ขายเพื่อซื้อเครื่องจักรใหม่ทดแทน ต้องไม่ใช่ทรัพย์สินในกรณีดังต่อไปนี้ ที่ได้รับสิทธิประโยชน์ทางภาษีที่เกี่ยวข้องกับทรัพย์สินนั้น ทรัพย์สินที่นำไปใช้ในกิจการที่ได้รับการส่งเสริมการลงทุนซึ่งก่อให้เกิดรายได้ที่ได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลตามกฎหมายว่าด้วยการส่งเสริมการลงทุน ไม่ว่าทั้งหมดหรือบางส่วน ทรัพย์สินที่นำไปใช้ในกิจการซึ่งก่อให้เกิดรายได้ที่ได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลตามพระราชกฤษฎีกา ที่ออกตามความในประมวลรัษฎากร ไม่ว่าทั้งหมดหรือบางส่วน ทรัพย์สินอันเกิดจากรายจ่ายที่ได้จ่ายไปเป็นค่าจ้างเพื่อการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยี ซึ่งใช้สิทธิประโยชน์ทางภาษีตามมาตรการส่งเสริมการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีตามพรฎ. (ฉบับที่ 297) พ.ศ. 2539 อุปกรณ์ประหยัดพลังงานที่ซื้อทดแทนอุปกรณ์เดิมซึ่งใช้สิทธิประโยชน์ทางภาษีตามมาตรการภาษีเพื่อสนับสนุนการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้พลังงานตามพรฎ (ฉบับที่ 436) พ.ศ. 2548

248 รายจ่ายที่หักได้เพิ่มขึ้น
7. ผลขาดทุนสุทธิยกมาไม่เกิน 5 รอบระยะเวลาบัญชี ตามม. 65 ตรี (12) 8. รายจ่ายค่าขนส่งภายในประเทศ ค่าไฟฟ้า และค่าประปาจำนวน 100% ของรายจ่ายดังกล่าว สำหรับผู้ได้รับส่งเสริมการลงทุนในเขต 3 ตามเงื่อนไข วิธีการ และระยะเวลาที่คณะกรรมการ BOI กำหนด 9. รายจ่ายในการติดตั้งหรือก่อสร้างสิ่งอำนวยความสะดวก เช่น ระบบไฟฟ้า ถนน ระบบสาธารณูปโภคอื่น จำนวน 25% ของรายจ่ายดังกล่าว สำหรับผู้ได้รับส่งเสริมการลงทุนในเขต 3 ตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการ BOI กำหนด

249 รายจ่ายที่หักได้เพิ่มขึ้น
10. ค่าจ้างลูกจ้างคนพิการ 1 คนต่อการมีลูกจ้างตั้งแต่ 200 คนขึ้นไป หรือเศษของ 200 คนถึง 100 คน จำนวน 100% ของรายจ่ายดังกล่าว ตามพรบ. ฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการ (พ.ศ. 2534) 11. ค่าใช้จ่ายในการจัดอุปกรณ์อำนวยความสะดวกโดยตรงแก่คนพิการในอาคาร สถานที่ ยานพาหนะ หรือบริการสาธารณะอื่นๆ จำนวน 100% ของรายจ่ายดังกล่าว ตามพรบ. ฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการ (พ.ศ. 2534)

250 รถยนต์นั่งหรือรถยนต์โดยสารไม่เกิน 10 คน
Sedan Coupe/ Sport Wagon Utility

251 รถยนต์นั่งหรือรถยนต์โดยสารไม่เกิน 10 คน
Double Cab Alterative รถดัดแปลง Van Van

252 รถยนต์อื่นหรือรถยนต์โดยสารเกิน 10 คน
Pick up Normal Pick up Cab Van 11 seat

253 รถยนต์นั่ง/รถยนต์โดยสารไม่เกิน 10 ที่นั่ง
ผู้ขาย ผู้ให้เช่า ผู้ใช้ 1. ต้นทุนเพื่อการคิดค่า สึกหรอและค่าเสื่อม ราคา ไม่มี, ยอม ให้ถือเป็นรายจ่ายทั้งจำนวน ไม่เกิน 1 ล้านบาท, ส่วนที่เกินยอมให้ถือเป็นรายจ่ายได้เมื่อจำหน่าย ไม่เกิน 1 ล้านบาท, ส่วนที่เกินถือเป็นรายจ่ายต้องห้ามตามพรฎ.(ฉ.315) 2. ค่าเช่า - < 36,000 บ./ด. หรือ <1,200 บ./ว. 3. ภาษีซื้อสำหรับ - รถยนต์ - ค่าอะไหล่ ค่าซ่อม - ค่าน้ำมัน บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล รายการ

254 การตีราคาทรัพย์สินอย่างอื่น ที่มิใช่สินค้าคงเหลือ
มาตรา 65 ทวิ (3) 1. ให้ถือตามราคาที่พึงซื้อทรัพย์สินนั้นได้ตามปกติ 2. กรณีตีราคาทรัพย์สินเพิ่มขึ้น ห้ามมิให้นำมารวมคำนวณกำไรและขาดทุนสุทธิ และไม่มีสิทธินำมาคิดค่าสึกหรอและค่าเสื่อมราคา 3. ห้ามมิให้นำมูลค่าของทรัพย์สินในส่วนที่ตีราคาต่ำลงมาถือเป็นรายจ่ายในการคำนวณกำไรและขาดทุนสุทธิ (มาตรา 65 ตรี (17))

255 การตีราคาเงินตรา ทรัพย์สิน หรือหนี้สินที่มีค่าเป็นเงินตราต่างประเทศ ตามมาตรา 65 ทวิ (5)
1. กรณีได้เงินตรา ทรัพย์สิน หรือหนี้สินมาหรือจ่ายเงินตรา ทรัพย์สิน หรือหนี้สินไประหว่างรอบระยะเวลาบัญชี ให้คำนวณค่าหรือราคาเป็นเงินตราไทยตามราคาตลาดในวันที่รับมาหรือจ่ายไปนั้น 2. กรณีคงเหลืออยู่ในวันสุดท้ายของรอบระยะเวลาบัญชี (1) สำหรับบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลทั่วไป ให้ตีราคาเงินตรา หรือทรัพย์สินตามอัตราถัวเฉลี่ยที่ธนาคารพาณิชย์รับซื้อ และให้ตีราคาหนี้สินตามอัตราถัวเฉลี่ยที่ธนาคารพาณิชย์ขาย (2) สำหรับธนาคารพาณิชย์ ให้ตีราคาเงินตรา ทรัพย์สิน และหนี้สินตามอัตราถัวเฉลี่ยของอัตรารับซื้อและอัตราขาย

256 การตีราคาสินค้าคงเหลือ
มาตรา 65 ทวิ (6) 1. ให้ตีราคาตามราคาทุนหรือราคาตลาด แล้วแต่อย่างใดจะต่ำกว่า และให้ถือเป็นราคาสินค้าคงเหลือยกมาสำหรับรอบระยะเวลาบัญชีปีถัดไปด้วย 2. การตีราคาสินค้าคงเหลือตามราคาทุน เมื่อได้เลือกปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ใดตามวิชาการบัญชี ให้ใช้หลักเกณฑ์นั้นตลอดไป เว้นแต่จะได้รับอนุมัติจากอธิบดีกรมสรรพากร หลักทรัพย์เพื่อค้า = สินค้า กรณีคงเหลือ ณ วันสุดท้ายของรอบ ระยะเวลาบัญชีให้ตีราคาตามหลัก LCM Principle หลักทรัพย์เผือขาย = ทรัพย์สิน ถือปฏิบัติตาม ม.65 ทวิ (3)

257 LCM Principle: Devalue สินค้าล้าสมัย (Obsolete Goods) สินค้าเสื่อมคุณภาพ (Expired Goods) สินค้าชำรุด (Damage Goods) ม.65 ทวิ(6) = Deductible Expenditure x x x x Destroy #1 ป.79/2541 Destroy #2 ป.79/2541 Appraisal ถือเป็นรายจ่ายตาม ราคาทุน ถือเป็นรายจ่ายตาม ราคาทุนคงเหลือสุทธิ

258 Destroyed Goods Character of Goods that Want to Destroy
 Not Normal Waste in manufacture process  Expired Goods (สินค้าหมดอายุ)  Obsolete Goods (สินค้าล้าสมัย)  Damage Goods (สินค้าชำรุด) have Good Internal Control enough  Separate Stock  have Supporting Documents (C/N, Stock Book, Report)  has Authorized Approval  Inform Auditor Declare to RD’s Officer

259 ป.79/2541 Destroyed Goods Y BOI Goods Follow BOI Regulation Y
EPZ Goods Y Follow EPZ Regulation N Wait for Destroy Y Pre-declare ≥30 days before destroy 1. Name, Category, Quantity & Value of Goods 2. Reason 3. Destroyed Method 4. Timing & Place N No need Pre-declare Chemical, Fresh Goods

260 Securities: หลักทรัพย์
Y มีไว้เพื่อค้าหากำไร N หลักทรัพย์ที่มีไว้เพื่อค้า หลักทรัพย์ที่มีไว้เผื่อขาย ถือปฏิบัติเช่นเดียวกับสินค้าคงเหลือปลายงวดตีราคาหลัก ทรัพย์ตามราคาทุนหรือราคาตลาดแล้วแต่อย่างใดจะต่ำกว่า (LCM Principle) ตามม.65 ทวิ (6) ถือปฏิบัติตามม. 65 ทวิ(3) - ส่วนที่ตีราคาเพิ่มขึ้นไม่ถือเป็นรายได้ - มูลค่าหลักทรัพย์ส่วนที่ตีราคาต่ำลงถือเป็นรายจ่ายต้องห้ามตามม. 65ตรี(17)

261 การตีราคาทรัพย์สิน ณ วันเลิกกิจการ
มาตรา 74(1) 1. กรณีเลิกกิจการ ให้ถือตีราคาตามราคาตลาดในวันเลิกกิจการนั้น 2. กรณีควบกิจการ หรือโอนกิจการ (1) ให้กิจการที่เลิกไปโดยการควบ หรือโอนกิจการนั้น ตีราคาทรัพย์สินตามราคาตลาดในวันที่ควบหรือโอนกิจการ แต่ไม่ต้องนำกำไรหรือขาดทุนดังกล่าวไปรวมคำนวณกำไรและขาดทุนสุทธิเพื่อเสียภาษีเงินได้นิติบุคคล (2) ให้กิจการที่รับโอนทรัพย์สิน บันทึกทรัพย์สินตามราคาที่ตีขึ้นใหม่ (ราคาตลาด) นั้น แต่ให้มีสิทธิคิดค่าสึกหรอและค่าเสื่อมราคาสำหรับทรัพย์สินนั้นตามมูลค่าต้นทุนเดิม วิธีการเดิม และระยะเวลาต่อเนื่องจากกิจการเดิมที่ได้โอนทรัพย์สินมาให้นั้น จนกว่าจะมีการจำหน่ายทรัพย์สินนั้นไป

262 การตีราคาทรัพย์สิน ณ วันเลิกกิจการ
A Co. ltd. B Co. ltd. Each Corporate Dissolved Y See Section 74(1)(ก) N A+B = A /B (Transferred) X+Y = Z (Amalgamation) Y See Section 74(1)(ข)(ค) Description Transferor Transferee A+B = B (Transferred) A B A+B = A (Transfer) X+Y = Z (Amalgamation) X & Y Z

263 การตีราคาทรัพย์สิน ณ วันเลิกกิจการ
รายการ ผู้โอน ผู้รับโอน 1. การตีราคาทรัพย์สิน (1) ตีราคาทรัพย์สินตามตลาดในวันที่ควบหรือโอนกิจการ (2) บันทึกรับรู้รายได้หรือ รายจ่ายจากการตีราคาฯ ทางบัญชี แต่ไม่ต้องนำรายได้หรือรายจ่ายนั้นไปรวมคำนวณกำไรและขาดทุนสุทธิเพื่อเสียภาษีเงินได้นิติบุคคล (1) บันทึกรับรู้ทรัพย์สินตามราคาที่รับโอนนั้น (2) ให้คิดค่าสึกหรอและค่าเสื่อมราคาตามมูลค่าต้นทุนเดิม วิธีการเดิม และระยะ เวลาต่อ เนื่องจากที้ผู้โอนได้ถือปฏิบัติ (3) เมือมีการจำหน่ายทรัพย์สินนั้นไป ให้คำนวณกำไรหรือขาดทุนจากราคาทรัพย์สินที่รับโอน โดยปรับปรุงด้วยผลต่างของค่าเสื่อมราคา 2. วัตถุ ประสงค์ เพื่อคำนวณส่วนได้ส่วนเสียของเจ้าของกิจการและรับรู้เป็นรายได้ (รายจ่าย) ถือเสมือนหนึ่งผู้โอนยังคงดำเนินกิจการต่อไปจนกว่าจะได้มีการจำหน่ายทรัพย์สินนั้นไป

264 Business Transferred Planning
A. co. ltd. Net Loss B. co. ltd. Net Profit Transferred Question 1: Who should be dissolve and why? Answer: B should be dissolve, A + B = A. Because, A has right in tax shield. Question 2: How can A pay dividend for shareholders? Answer: A reduce capital and reduce NL. Then A increase capital, but still use tax shield. So A doesn’t pay CIT but can pay dividend for shareholders.

265 วิธีการเสียภาษีเงินได้นิติบุคคล
การเสีย CIT โดยถูกหักไว้ ณ ที่จ่าย (WT.) บทบัญญัติ ประกอบกิจการ ในประเทศไทย มิได้ประกอบกิจการ มาตรา 69 ทวิ มาตรา 69 ตรี มาตรา 3 เตรส มาตรา 70 1% ดูคำสั่งกรมสรรพากรที่ ท.ป.4/2528 - 1% -การโอนอาคารชุด ใช้บางกรณี เช่น รางวัลจากการประกวดแข่งขันชิงโชค ถือเป็น Final Tax บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล

266 การเสีย CIT โดยถูกหัก ณ ที่จ่าย
รายการ WT. ม.69 ทวิ WT. ม. 69 ตรี 1. ผู้จ่ายเงินได้ องค์การของรัฐบาล เทศบาล หรือองค์การบริหารราชการส่วนท้องถิ่นอื่น บุคคล ห้างหุ้นส่วน บริษัท สมาคม หรือคณะบุคคล 2. ประเภทเงินได้ เงินได้พึงประเมินตาม ม. 40 (2) – (8) เงินได้พึงประเมินตาม ม. 40(8) เฉพาะเงินได้จากการขายอสังหาริมทรัพย์ 3. ผู้รับเงิน บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่ประกอบกิจการในไทย บริษัทหรือห้างฯ นิติบุคคลผู้ขายอสังหาริมทรัพย์ 4. อัตรา WT. 1%

267 CIT หัก ณ ที่จ่ายตามมาตรา 3 เตรส
ประเภทเงินได้ รายการเงินได้ อัตรา WT. ม. 40(2) เงินได้ค่านายหน้า 3%, 10% ม. 40(3) เงินได้ค่าสิทธิ ม. 40(4)(ก) เงินได้ค่าดอกเบี้ย 1%, 10% ม. 40(4)(ข) เงินปันผล/เงินส่วนแบ่งของกำไร 10% ม. 40(5)(ก) ค่าเช่าทรัพย์สิน 5%, 10% ม. 40(6) เงินได้จากวิชาชีพอิสระ ม. 40(7) ค่าจ้างทำของ 3% ม. 40(8) ค่าซื้อพืชผลทางการเกษตร 0.75% ค่าเบี้ยประกันวินาศภัย 1% ค่าขนส่งที่มิใช่ค่าโดยสารสำหรับการรับจ้างขนส่งสาธารณะ ค่าโฆษณา 2%

268 CIT หัก ณ ที่จ่ายตามมาตรา 3 เตรส
ประเภทเงินได้ รายการเงินได้ อัตรา WT. ม. 40(8) รางวัล ส่วนลด ประโยชน์ใดๆ จากการส่งเสริมการขาย 3% ค่าบริการอื่นๆ รางวัลจากการประกวด แข่งขัน ชิงโชค* 5% โดยทั่วไปผู้จ่ายเงินได้ที่ต้องหักภาษีเงินได้นิติบุคคล ณ ที่จ่าย ตามม. 3 เตรส ได้แก่ บริษัทหรือห้างฯ นิติบุคคล หรือนิบุคคลอื่น เฉพาะกรณี * ในรวมทั้งผู้จ่ายเงินได้ที่เป็นบุคคลธรรมดา คณะ บุคคล หรือ หสม.ที่มิใช่นิติบุคคล

269 หน้าที่ของผู้จ่ายเงินได้เกี่ยวกับ WT.
ยื่นรายการสรุปการจ่ายเงินได้ (ภ.ง.ด.1ก, 2ก และ 3ก เฉพาะ PIT) ออกหนังสือรับรองการหัก WT. จัดทำบัญชีพิเศษแสดงการหัก WT. และการนำส่งภาษี ให้ความร่วมมือแก่เจ้าพนักงานในการตรวจสอบ

270 สรุปภาษีหัก ณ ที่จ่ายตาม ม.70 และการนำส่ง VAT ตาม ม.83/6
รายการเงินได้ W.T. ตาม ม.70 (ภ.ง.ด.54) การนำส่ง VAT ตาม ม.83/6 (ภ.พ.36) DTA NON DTA ต้องนำส่ง ไม่ต้องนำส่ง 1. ม.40(2) - Commission - เงินได้จากการรับทำงานให้ - กรณีอื่น ๆ - การซ่อมแซม - Training (Business Profit: Non WT) 15% ลูกค้าในไทย Concrete รูปธรรม - ลูกค้า ตปท ประกาศ VAT (ฉ. 40 ข้อ 2 (3)) นามธรรม Abstract 2. ม.40(3) - ใช้สิทธิ - ซื้อขายสิทธิโดยเด็ดขาด 15% (ดู DTA)  Service (ดู ป.104/ 2545)  goods Web Site ค่าสิทธิ (ม.40(3))

271 สรุปภาษีหัก ณ ที่จ่ายตาม ม.70 และการนำส่ง VAT ตาม ม.83/6
รายการเงินได้ W.T. ตาม ม.70 (ภ.ง.ด.54) การนำส่ง VAT ตาม ม.83/6 (ภ.พ.36) DTA Non DTA ต้องนำส่ง ไม่ต้องนำส่ง 3. ม.40(4)(ก) 15% (ดู DTA) 15%(ดู พรฎ ที่เกี่ยวข้อง) - 4. ม.40(4)(ข) 10% 5.ม.40(4) (ค) – (ช) 6.ม.40(5)(ก) (กรณีเช่า ท/ส และใช้ใน ต่างประเทศ) out of VAT scope 7. ม.40(6) Business Profit 8. ม.40(8) – ค่าโฆษณา ใช้บริการในไทย ใช้บริการในตปท.

272 ภาษีเงินได้นิติบุคคล ณ ที่จ่ายตามมาตรา 70
A. Co. ltd. Thai Co เงินได้พึงประเมิน ม.40(2)-(6) X. Co. Foreign N DTA Country WT. 15% มาตรา 70 Y Y ม.40(2)&(6) Non WT N Y ม.40(3)-(5) WT 15% ดู DTA

273 เพราะถือเป็นกำไรจากธุรกิจ
CIT ณ ที่จ่ายตามมาตรา 70 เงินได้ตามม.40(2) เป็นผู้อยู่ใน ประเทศ DTA No WT. ม.70 15% ภ.ง.ด.54 ส่วน ก Yes Non WT. เพราะถือเป็นกำไรจากธุรกิจ (Business Profit) เว้นแต่เข้าลักษณะเป็นค่าสิทธิ ตามมาตรา 40(3) ให้คำนวณ หักตามอัตราที่กฎหมายกำหนด

274 ภาษีเงินได้นิติบุคคล ณ ที่จ่ายตามมาตรา 70
A. Co. ltd. Thai Co. จ่ายเงินได้พึงประเมิน มาตรา 40(4)(ก) CIT Payers (Foreign Co.) Y General Interest WT. 15% N ค่าปรับเนื่องจาก ผิดสัญญา ค่าตอบแทนอื่นๆ ที่ได้จาก สิทธิเรียกร้องในหนี้ทุกชนิด Y WT 15% N กรณีรัฐบาล, Non Banking ของรัฐบาลเป็นผู้จ่าย Y Non WT

275 การเสีย CIT โดยการยื่นรายการประเมินตนเอง
รอบระยะเวลาบัญชี 12 เดือน X X X X 6 เดือน ภายใน 2 เดือน ภ.ง.ด.51 ม. 67 ทวิ ภายใน 150 วัน ภ.ง.ด.50,52,55 ม 68, 68ทวิ, 69 CIT ที่ชำระตามและหรือ WT ถือเป็นเครดิตในการยื่นแบบ ภ.ง.ด.50 ต่อไป ควรยื่นแบบแสดงรายการให้ถูกต้อง ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และ เงื่อนไขที่กฎหมายกำหนด เพื่อขจัดปัญหาความรับผิดทางภาษีอากร

276 บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล ที่มีหน้าที่เสีย CIT จากฐานกำไรสุทธิ
รอบระยะเวลาบัญชีแรกและรอบสุดท้ายน้อยกว่า12 ด.หรือรอบที่เปลี่ยนแปลงฯ ไม่เกิน 6 เดือน Y ไม่ต้องยื่นแบบ ภ.ง.ด.51 ม.67 ทวิ N บริษัทจดทะเบียน, สถาบันการเงิน, บริษัทหรือห้างฯ ที่ได้รับอนุมัติให้มีผู้สอบทานงบการเงิน Y ยื่นแบบ ภ.ง.ด.51 โดยเสีย CIT จากกำไรสุทธิจริงในรอบ 6 ด.แรกของรอบบัญชี N ยื่นแบบ ภ.ง.ด.51 โดยเสีย CIT จากกึ่งของประมาณการกำไรสุทธิของทั้งรอบระยะเวลาบัญชี

277 CIT จากประมาณการกำไรสุทธิ
รอบระยะเวลาบัญชี 12 เดือน X X X X 6 เดือน 2 เดือน 150 วัน กิจการที่ได้กระทำ รายได้ จริง + รายจ่าย จริง + กิจการที่จะได้กระทำ รายได้ ประมาณการ = xxx รายจ่าย ประมาณการ = xxx ประมาณการกำไรสุทธิ (ขาดทุนสุทธิ) = xxx หัก ผลขาดทุนสุทธิยกมาไม่เกิน 5 รอบบัญชี (ม. 65 ตรี(12)) xxx ประมาณการกำไรสุทธิ (ขาดทุนสุทธิ) xxx CIT = ประมาณการกำไรสุทธิ / 2 คูณอัตรา CIT = xxx หัก ภาษีเงินได้ ณ ที่จ่ายในรอบ 6 เดือนแรก xxx CIT ที่ต้องชำระเพิ่มเติม = xxx ได้รับยกเว้นเศษของบาทจากการคำนวณภาษี (ม.5 แห่งพรฎ. (ฉ.10))

278 บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล ที่มีหน้าที่ยื่นแบบ ภ.ง.ด.51
1. เสียเงินเพิ่ม 20% ของกึ่งหนึ่งของ CIT ตาม ภ.ง.ด.50(ถ้ามี) 2. ค่าปรับอาญาตามม.35 Y ไม่ยื่นรายการ ภ.ง.ด.51 N 1. เสียเงินเพิ่ม 20% ของ CIT ตาม ภ.ง.ด.51 (ถ้ามี) 2. ค่าปรับอาญาตามม.35 Y ยื่นรายการ ภ.ง.ด.51 ล่าช้า N ยื่นรายการ ภ.ง.ด.51 โดยแสดง ประมาณการขาดไปเกิน 25% โดยไม่มีเหตุอันสมควร Y เสียเงินเพิ่ม 20% ของ CIT ที่ ชำระขาดไป เงินเพิ่มตามม.67 ตรี ให้ลดลงเหลือ 1.5% ต่อเดือนหรือเศษของเดือนของเงินภาษีแต่ไม่เกินอัตราตามกฎหมาย ตามคำสั่งกรมสรรพากรที่ ท.ป.81/2542

279 CIT ประจำรอบระยะเวลาบัญชี
1. กำหนดเวลาการยื่นแบบและชำระภาษีเงินได้นิติบุคคลประจำรอบระยะเวลาบัญชี คือ ภายใน 150 วันนับแต่วันสุดท้ายของรอบระยะเวลาบัญชี (มาตรา 68) 2. แบบแสดงรายการที่อธิบดีกรมสรรพากรกำหนด  ภ.ง.ด. 50 สำหรับ CIT จากฐานกำไรสุทธิ  ภ.ง.ด. 52 สำหรับบริษัทขนส่งระหว่างประเทศตามมาตรา 67  ภ.ง.ด. 55 สำหรับมูลนิธิหรือสมาคม 3. กำหนดบัญชีที่ต้องจัดทำ (มาตรา 68 ทวิ)  บัญชีงบดุล บัญชีทำการ และบัญชีกำไรขาดทุนสำหรับ CIT จากฐาน กำไรสุทธิ  บัญชีรายรับก่อนหักรายจ่ายเกี่ยวกับค่าโดยสารหรือค่าระวาง สำหรับบริษัทขนส่งระหว่างประเทศตามมาตรา 67

280 CIT ประจำรอบระยะเวลาบัญชี
4. พร้อมกับการยื่นแบบ ภ.ง.ด.50 ให้แนบ บัญชีงบดุล ที่มีผู้สอบบัญชีตามมาตรา 3 สัตต ตรวจสอบและรับรองใน รอบระยะเวลาบัญชีดังกล่าว บัญชีทำการ และ บัญชีกำไรขาดทุน และ พร้อมกับการยื่นแบบ ภ.ง.ด.52 ให้แนบบัญชีบัญชีรายรับก่อนหัก รายจ่าย 5. ได้รับยกเว้นเศษของบาทจากการคำนวณภาษีเงินได้ตาม มาตรา 5 แห่งพระราชกฤษฎีกาฯ (ฉบับที่ 10)

281 การจำหน่ายเงินกำไรตามมาตรา 70 ทวิ
รายการด รายละเอียด วัตถุประสงค์ เพื่อก่อให้เกิดความเป็นธรรมในการจัดเก็บภาษีเงินได้ตามประมวลรัษฎากร ตามหลักการจัดเก็บภาษีเงินได้จากกำไรสุทธิเป็นสองระดับ และจำนวนภาษีเงินได้รวมกันสูงสุดไม่เกิน 37% ของกำไรสุทธิ ผู้มีหน้าทีเสียภาษีเงินได้จากการจำหน่ายเงินกำไรไปต่างประเทศ ได้แก่ ผู้มีหน้าที่เสียภาษีเงินได้นิติบุคคลจากฐานกำไรสุทธิจากการประกอบกิจการในประเทศไทยที่เป็น (1) บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายของต่างประเทศ (2) กิจการทีดำเนินเป็นทางค้าหรือหากำไรโดยรัฐบาลต่างประเทศ องค์การของรัฐบาลต่างประเทศ หรือนิติบุคคลอื่นที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายของต่างประเทศ

282 การจำหน่ายเงินกำไรตามมาตรา 70 ทวิ
รายการด รายละเอียด กำไรที่นำมาจำหน่าย ต้องเป็นกำไรสุทธิที่ผ่านการเสียภาษีเงินได้นิติบุคคลจากฐานกำไรสุทธิมาแล้ว รวมทั้งเงินประเภทอื่นใดที่กันไว้จากกำไร เช่น เงินสำรอง และจำนวนเงินที่ถือได้ว่าเป็นเงินกำไร วิธีการจำหน่ายเงินกำไร (1) จำหน่ายไปเป็นเงินสด (2) จำหน่ายโดยวิธีการทางบัญชี เช่น การหักกลบ ลบหนี้ การแปลงบัญชีกำไรสะสมเป็นบัญชีเจ้าหนี้ (3) วิธีการอื่นที่มีผลเช่นเดียวกับ (1) และ (2) อัตราภาษีเงินได้นิติบุคคล และการนำส่งภาษี 10% ของเงินกำไรที่จำหน่าย โดยให้นำส่งภาษีภายในวันที่ 7 ของเดือนถัดจากเดือนทีจำหน่าย ตามแบบ ภ.ง.ด. 54 ส่วน ข.

283 การเสีย CIT ในอัตรา 5% ของยอดรายได้ก่อนหักรายจ่ายใดๆ ในรอบบัญชี แท้จริงคือการเสีย CIT จากฐานกำไรสุทธินั่นเอง อัตรา CIT จากฐานกำไรสุทธิ 30% หมายความว่า ถ้ามีกำไรสุทธิ 100 บาท ต้องเสียCIT จำนวน 30 บาท ในทางตรงกันข้าม CIT จำนวน 30 บาท เกิดจากการมีกำไรสุทธิ 100 บาท ดังนั้นจึงสามารถคำนวณหากำไรสุทธิจาก CIT ที่ได้ไปจริงได้ ได้เป็นกำไรสุทธิเท่าใด หักด้วย CIT จากฐานกำไรสุทธิ ส่วนที่เหลือ คือจำนวนเงินที่ถือได้ว่าเป็นกำไรที่จำหน่ายตามมาตรา 70 ทวิ นำส่งภาษีเงินได้นิติบุคคล ภายในวันที่ 7 ของเดือนถัดจากเดือนที่ทราบถึงการจำหน่ายกำไร ตามแบบ ภ.ง.ด.54 ส่วน ข ได้แก่ เดือนถัดจากเดือนที่ยื่น ภ.ง.ด. 50

284 การเสีย CIT โดยเจ้าพนักงานประเมินเรียกเก็บ
1. การประเมินก่อนถึงกำหนดเวลายื่นรายการ (มาตรา 18 ทวิ) 2. การประเมินตามแบบแสดงรายการ 3. การประเมินตามผลการตรวจสอบตามหมายเรียก รายการ กรณียื่นแบบฯ กรณีมิได้ยื่นแบบฯ กรณีพิเศษ 1. อำนาจในการออกหมายเรียก ม.19 ม.23 ม.19 หรือ 23 2. อำนาจประเมินและแจ้งผลการประเมิน ม.20 หรือม.21 ม.24 หรือม.25 ม.71 3. อำนาจประเมินเบี้ยปรับและเงินเพิ่ม ม.22 และ ม.27 ม.26 และม.27 ม.27 (ไม่มีเบี้ยปรับ) 4. กำหนดเวลาชำระภาษี ม.18 ตรี 5. การอุทธรณ์การประเมิน ม.28 – 34

285 การเสีย CIT โดยเจ้าพนักงานประเมินเรียกเก็บ
 ม.65 ทวิ (4)  ม.65 ทวิ (7)  “เหตุอันสมควร” ม.65 ตรี (15)  ม.67 ตรี (เงินเพิ่มประมาณการกำไรสุทธิ)  ม.71(1)(2)(3) ดูคำสั่งกรมสรรพากรที่ ป.78/2541  ม.72 (เงินเพิ่มกรณีไม่แจ้งเลิกประกอบการ)  กล่าวหาว่าเสียภาษีไม่ถูกต้อง

286 การกำกับดูแล โดยใกล้ชิด
- เจ้าพนักงานเป็นหุ้นส่วน (Partnership) กับผู้ประกอบการ เพื่อให้บริการที่ดี - มีทีมกำกับดูแลที่ชัดเจน เป็นเจ้าภาพ (Host) เป็นรายตัวผู้ประกอบการ - 100% จำนวนผู้ประกอบการ - ในแต่ละราย 100% ประเภทภาษี - ในแต่ละประเภทภาษี 100% เม็ดเงินภาษี ให้เป็นปัจจุบัน (Present) - Slogan “เสียภาษีให้ถูกต้องวันนี้ ไม่มีภาษีย้อนหลัง”

287 ทีมกำกับดูแล (Monitoring Team)
Head C 7 - 8 Head C 5 - 6 Sub Team Sub Team Sub Team C 3 - 5

288 หน้าที่อื่นของผู้มีหน้าที่เสีย ภาษีเงินได้นิติบุคคล
หน้าที่เกี่ยวกับการมีและใช้เลขประจำตัวผู้เสียภาษีอากร (ม.3 เอกาทศ) หน้าที่เกี่ยวกับการจัดทำบัญชีงบดุล บัญชีทำการ และบัญชีกำไรขาดทุน รวมทั้งบัญชีรายได้ก่อนหักรายจ่ายใดๆ ตาม ม.68 ทวิ, ม.69 และม.17 หน้าที่แจ้งรายการของกรรมการหรือหุ้นส่วนผู้จัดการเพื่อ ประกอบการยื่นแบบ ภ.ง.ด.50 (ม.17) หน้าที่แจ้งรายการ กรณีจ่าย Dividend ให้แก่ Holding Co. ที่ไม่อยู่ในข่ายที่ต้องหัก WT ตามม.3 เตรส (ม.17) หน้าที่ให้ความร่วมมือแก่ทางราชการ เช่น การแปลเอกสารตามม.3 ฉ การให้ความร่วมมือตอบข้อซักถามตามม.19,23

289 บทกำหนดโทษทางภาษีเงินได้นิติบุคคล
บทกำหนดโทษทางแพ่ง (Civil Punishment) เบี้ยปรับ (Penalty) เนื่องจากชำระภาษีอากรขาดจำนวน จำนวน 1 เท่าตามม. 22 กรณีประเมินตามม. 20, 21 จำนวน 2 เท่าตามม. 26 กรณีประเมินตามม. 24, 25 เงินเพิ่ม (Surcharge) ตามม.27 และม.67 ตรี เนื่องจากชำระภาษีอากรล่าช้า ในลักษณะทำนองเดียวกับดอกเบี้ย ตามม.67 ตรี ม.71(2) และม.72 เนื่องจากฝ่าฝืน บทบัญญัติของกฎหมาย บทกำหนดโทษทางอาญา (Criminal Punishment) เนื่อง จากไม่ปฏิบัติหน้าที่ตามที่กฎหมายกำหนด ม.35 – ม.37 ทวิ ค่าปรับ (Fine) จำคุก (Imprison)

290 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับ WT.
WT. เป็นส่วนหนึ่งของวิธีการเสียภาษีเงินได้ทั้ง PIT & CIT WT. ถือเป็นเครดิตภาษีในการยื่นแบบแสดงรายการภาษีเงินได้ เว้นแต่ภาษีเงินได้นิติบุคคล ณ ที่จ่ายตามมาตรา 70 ที่เป็นภาษีเบ็ดเสร็จเด็ดขาด (Final Tax) เป็นการจัดเก็บในขณะที่ผู้มีเงินได้ยังมีความสามารถในการเสียภาษี (Pay as you earn, Pay as you go) ก่อให้เกิดความสมัครใจในการเสียภาษีอากร การจัดเก็บ WT. ไม่เป็นเหตุเสื่อมสิทธิที่จะจัดเก็บภาษีตามวิธีอื่น เว้นแต่กรณีการเลือกเสียภาษี PIT ตามมาตรา 48(3) และ (4) รวมทั้ง พรฎ. (ฉบับที่ 262) และ พรฎ. (ฉบับที่ 10) มาตรา 5 จตุทศ (Final Tax)

291 WT. ถือเป็นเครดิตในการเสียภาษีเงินได้
กรณีภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา มาตรา 60 เพื่อประโยชน์แห่งการคำนวณยอดเงินได้พึงประเมินของผู้ต้องเสียภาษี ให้ถือว่าเงินภาษีที่ได้หักและนำส่งตามความในมาตรา 50 มาตรา 52 และมาตรา 53 เป็นเงินได้พึงประเมินที่ผู้ต้องเสียภาษีได้รับ ส่วนจำนวนเงินภาษีที่หักและนำส่งไว้นั้น ให้ถือเป็นเครดิตของผู้ต้องเสียภาษีในการคำนวณภาษี กรณีภาษีเงินได้นิติบุคคล มาตรา 69 ทวิ ...ภาษีที่หักไว้นี้ให้ถือเป็นเครดิตในการคำนวณภาษีเงินได้ของบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลตามรอบระยะเวลาบัญชีที่หักไว้นั้น มาตรา 69 ตรี ... ภาษีที่หักไว้และนำส่งตามวรรคหนึ่ง ให้ถือเป็นเครดิตในการคำนวณภาษีเงินได้ของบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล ที่ถูกหักภาษีตามรอบระยะเวลาบัญชีที่หักไว้นั้น

292 WT. ถือเป็นเครดิตในการเสียภาษีเงินได้
คำสั่งกรมสรรพากรที่ ป.91/2542 ข้อ 11 กรณีผู้มีหน้าที่หักภาษี ณ ที่จ่าย ได้หักภาษี ณ ที่จ่าย และได้ออกหนังสือรับรองการหักภาษี ณ ที่จ่ายให้แก่ผู้มีเงินได้แล้ว แต่ไม่นำเงินส่งกรม สรรพากรหรือนำเงินส่งแล้วแต่ไม่ครบจำนวนที่ถูกต้อง ผู้มีหน้าที่หักภาษี ณ ที่จ่ายซึ่งเป็นผู้จ่ายเงินดังกล่าวจะต้องรับผิดแต่เพียงผู้เดียว สำหรับผู้มีเงินได้จะพ้นความรับผิดในจำนวนเงินภาษีเท่ากับจำนวนที่ถูกหักไว้ ตามมาตรา 54 วรรคสอง แห่งประมวลรัษฎากร ผู้มีเงินได้จึงมีสิทธินำเงินที่ถูกหักภาษี ณ ที่จ่าย ตามจำนวนที่ระบุในหนังสือรับรองการหักภาษี ณ ที่จ่าย มาถือเป็นเครดิตในการคำนวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา และภาษีเงินได้นิติบุคคล ตามมาตรา 3 เตรส มาตรา 60 และมาตรา 69 ทวิ แห่งประมวลรัษฎากรได้ กรณีให้ถือเป็นเครดิตในการคำนวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาและภาษีเงินได้นิติบุคคลของผู้มีเงินได้ตามวรรคหนึ่ง ให้เจ้าพนักงานประเมินตรวจสอบให้ได้ข้อเท็จ จริงว่า ผู้มีเงินได้ได้ถูกหักภาษี ณ ที่จ่ายไว้จริง ทั้งนี้ ไม่ว่าผู้มีหน้าที่หักภาษี ณ ที่จ่ายซึ่งเป็นผู้จ่ายเงินจะได้นำเงินส่งกรมสรรพากรหรือไม่ หรือนำเงินส่งแล้วแต่ไม่ครบจำนวนที่ถูกต้องก็ตาม

293 WT. ถือเป็นเครดิตในการเสียภาษีเงินได้
คำสั่งกรมสรรพากรที่ ป.91/2542 ข้อ 11 (ต่อ) กรณีเจ้าพนักงานประเมินตรวจสอบพบว่า ผู้มีหน้าที่หักภาษี ณ ที่จ่ายซึ่งเป็นผู้จ่ายเงินได้หักภาษี ณ ที่จ่ายไว้แล้ว แต่ไม่ได้นำเงินส่งกรมสรรพากรหรือนำเงินส่งแล้วแต่ไม่ครบจำนวนที่ถูกต้อง ให้เจ้าพนักงานประเมินดำเนินการทางแพ่งและทางอาญากับผู้จ่ายเงินดังกล่าวให้นำส่งเงินภาษีให้ครบจำนวนที่ถูกต้องต่อไป

294 หน้าที่ของผู้จ่ายเงินได้เกี่ยวกับ WT.
ยื่นรายการสรุปการจ่ายเงินได้ (ภ.ง.ด.1ก, 2ก และ 3ก) (ม.58) ออกหนังสือรับรองการหัก WT. (ม.50 ทวิ) จัดทำบัญชีพิเศษแสดงการหัก WT. และการนำส่งภาษี (ม.17) ให้ความร่วมมือแก่เจ้าพนักงานในการตรวจสอบ (ม.27จัตวา, 51) ร่วมรับผิดในจำนวน WT ที่หัก และนำส่งไว้ไม่ถูกต้องครบถ้วน (ม.54)

295 หน้าที่ของผู้จ่ายเงินได้เกี่ยวกับ WT.
ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาหัก ณ ที่จ่าย ภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่ายตาม มาตรา 3 เตรส ภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่ายตาม มาตรา 50 ภาษีเงินได้นิติบุคคลหัก ณ ที่จ่าย ภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่ายตาม มาตรา 69 ทวิ ภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่ายตาม มาตรา 69 ตรี ภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่ายตาม มาตรา 70

296 หน้าที่ของผู้จ่ายเงินได้เกี่ยวกับ WT.
กรณีทั่วไป นำส่งตามมาตรา 52 ภายในวันที่ 7 ของเดือนถัดไป (ประกาศกระทรวงการคลัง ลงวันที่ 24 ก.ค ออกตามมาตรา 3 อัฏฐ วรรคสอง) พร้อมทั้งยื่นแบบแสดงรายการตามาตรา 59 โดยให้ยื่น ณ สำนักงานสรรพากรพื้นที่สาขาท้องที่ที่ผู้จ่ายเงินได้ตั้งอยู่ ดังนี้ - ภ.ง.ด.1 สำหรับ PIT ที่เป็นเงินได้ตามมาตรา 40(1) และ (2) - ภ.ง.ด.2 สำหรับ PIT ที่เป็นเงินได้ตามมาตรา 40(3) และ (4) - ภ.ง.ด.3 สำหรับ PIT ที่เป็นเงินได้ตามมาตรา 40(5)(6)(7) และ (8) - ภ.ง.ด.53 สำหรับ CIT หัก ณ ที่จ่ายตามมาตรา 69 และมาตรา 3 เตรส - ภ.ง.ด.54 สำหรับ CIT ณ ที่จ่ายตามมาตรา 70 ให้ผู้จ่ายเงินได้นำส่งภาษีเงินได้ ณ ที่จ่าย ให้ถูกต้องครบถ้วนตามที่กฎหมายกำหนด ไม่ว่าตนจะได้หักไว้หรือไม่ก็ตาม (มาตรา 52) กรณีผู้จ่ายเงินได้เป็นส่วนราชการ อาจใช้วิธีเบิกหักผลักส่งไว้ในฎีกาเบิกเงินตามม. 53 (ดูประกาศอธิบดีฯ เกี่ยวกับภาษีเงินได้ (ฉบับที่ 16 และ 58) ประกอบ)

297 หน้าที่ของผู้จ่ายเงินได้เกี่ยวกับ WT.
การนำส่งภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาหัก ณ ที่จ่ายสำหรับการขายอสังหา ริมทรัพย์ตามมาตรา 50(5) หรือ(6) และภาษีเงินได้นิติบุคคลหัก ณ ที่จ่ายสำหรับเงินได้จากการขายอสังหาริมทรัพย์ตามมาตรา 69 ตรี ให้ผู้มีหน้าที่หักภาษีนำส่งต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ผู้รับจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรมในขณะที่มีการจดทะเบียน โดยไม่ต้องยื่นแบบแสดงรายการนำส่งภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย (มาตรา 52 วรรคสาม และมาตรา 69 ตรี) ผู้จ่ายเงินได้อาจนำส่งภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่ายผ่านระบบเครือข่ายอินเทอร์ เน็ตทาง Web Site ของกรมสรรพากร โดยให้ถือเป็นสถานที่ยื่นแบบแสดงรายการภาษีได้อีกแห่งหนึ่ง แบบแสดงรายการ ประกาศอธิบดีฯ เกี่ยวกับภาษีเงินได้ วันที่ใช้บังคับ ภ.ง.ด.1, 2, 3 ภ.ง.ด.53 ภ.ง.ด.54 (ฉบับที่ 106) (ฉบับที่ 111) (ฉบับที่ 95) 1 ก.ค. 2545 1 ต.ค. 2545 1 ต.ค. 2544

298 หน้าที่ของผู้จ่ายเงินได้เกี่ยวกับ WT.
ยื่นรายการสรุปการจ่ายเงินได้และการหักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่าย ตามมาตรา 58 ภ.ง.ด.1 ก สำหรับแสดงรายการจ่ายเงินได้ตามมาตรา 40(1) และ (2) ภายในเดือนกุมภาพันธ์ของปีถัดไป (ม.58(2)) ภ.ง.ด.1 ก พิเศษ สำหรับแสดงรายการจ่ายเงินได้ตามมาตรา 40(1) และ (2) กรณีมีการตั้งฎีกาเบิกเงิน เฉพาะข้าราชการและลูกจ้างของส่วนราชการ ภายในเดือนกุมภาพันธ์ของปีถัดไป (ม.58(1)) ภ.ง.ด.2 ก สำหรับการจ่ายเงินได้ตามมาตรา 40(3) และ (4) ภายในเดือนมกราคมของปีถัดไป ภายในเดือนมกราคมของปีถัดไป (ม.58(2)) ภ.ง.ด.3 ก สำหรับแสดงรายการเกี่ยวกับเงินได้พึงประเมินตามมาตรา 40(5)(6)(7) และ (8) เฉพาะกรณีส่วนราชการเป็นผู้จ่ายเงินได้ ภายในเดือนมกราคมของปีถัดไป (ม.58(1)) (ดูประกาศอธิบดีฯ เกี่ยวกับภาษีเงินได้ (ฉบับที่ 58) ประกอบ)

299 หน้าที่ของผู้จ่ายเงินได้เกี่ยวกับ WT.
ให้ผู้ประสงค์จะยื่นแบบแสดงรายการนำส่งภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย (ภ.ง.ด.1, 2, 3 และ 53) ตามมาตรา 59 หรือรายการสรุปการจ่ายเงินได้และการหักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่าย (ภ.ง.ด.1 ก, 2 ก) ตามมาตรา 58 ด้วยสื่อบันทึกในระบบคอมพิวเตอร์ตามรูปแบบ (Format) ของข้อมูลที่อธิบดีกรมสรรพากรกำหนดได้ ยื่นคำขอต่ออธิบดีกรมสรรพากร อำนายให้เกิดความสะดวกในการจัดเตรียมแบบแสดงรายการ ลดทอนค่าใช้จ่ายทั้งในส่วนของภาคเอกชนและภาครัฐ (ดูประกาศอธิบดีฯ เกี่ยวกับภาษีเงินได้ (ฉบับที่ 58) ประกอบ)

300 หน้าที่ของผู้จ่ายเงินได้เกี่ยวกับ WT.
การแจ้งข้อความและรายละเอียดเกี่ยวกับคนต่างด้าว ให้ผู้จ่ายเงินได้พึงประเมินตามมาตรา 40(1) ที่มีหน้าที่หักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่าย ตามมาตรา 50(1) ซึ่งเป็นผู้ยื่นรายการ ภ.ง.ด.1 แจ้งข้อความและรายละเอียดเกี่ยวกับผู้มีเงินได้ที่เป็นคนต่างด้าวอย่างน้อยต้องมีข้อความตามแบบที่อฺธิบดีกรมสรรพากรกำหนดตามประกาศอธิบดีฯ เกี่ยวกับภาษีเงินได้ (ฉบับที่ 123) สำหรับกรณีดังต่อไปนี้ (1) กรณีการจ่ายเงินได้ให้แก่คนต่างด้าว สำหรับเงินได้ของเดือน มกราคมของทุกปี (2) กรณีการจ่ายเงินได้ให้แก่คนต่างด้าวซึ่งเข้าทำงานในระหว่างปีภาษี สำหรับเงินได้ระยะเวลาเต็มเดือนของเดือนที่เข้าทำงาน (3) กรณีการจ่ายเงินได้ให้แก่คนต่างด้าวซึ่งออกจากงานในระหว่างปี ภาษี สำหรับเงินได้ระยะเวลาเต็มเดือนของเดือนที่ออกจากงาน

301 หน้าที่ของผู้จ่ายเงินได้เกี่ยวกับ WT.
การแจ้งข้อความและรายละเอียดเกี่ยวกับคนต่างด้าว (ต่อ) แบบแจ้งข้อความและรายละเอียดดังกล่าว ให้ยื่นต่อเจ้าพนักงานประเมินพร้อมกับการยื่นแบบ ภ.ง.ด.1 ของเดือนมกราคมของทุกปีภาษี หรือของเดือนที่คนต่างด้าวเข้าทำงานในระหว่างปีภาษี หรือของเดือนที่คนต่างด้าวออกจากงานในระหว่างปีภาษี แล้วแต่กรณี ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2546 เป็นต้นไป

302 หน้าที่ของผู้จ่ายเงินได้เกี่ยวกับ WT.
ให้ผู้มีหน้าที่หักภาษี ณ ที่จ่าย ออกหนังสือรับรองการหักภาษี ณ ที่จ่ายที่ได้หักไว้แล้วในปีภาษีให้แก่ผู้ถูกหักภาษี ณ ที่จ่ายสองฉบับ มีข้อความตรงกันในกรณีและตามกำหนดเวลาดังต่อไปนี้ - ในกรณีตามมาตรา 3 เตรส ให้ออกในทันทีทุกครั้งที่มีการหัก WT. - ในกรณีตามมาตรา 50(1) ให้ออกภายในวันที่ 15 กุมภาพันธ์ ของปี ถัดจากปีภาษี หรือภายในหนึ่งเดือนนับแต่วันที่ผู้ถูกหักภาษี ณ ที่จ่าย ออกจากงานในระหว่างปีภาษี - ในกรณีตามมาตรา 50(2)(3) หรือ (4) ให้ออกในทันทีทุกครั้งที่มีการ หักภาษี ณ ที่จ่าย หนังสือรับรองการหักภาษี ณ ที่จ่ายให้ใช้ตามแบบที่อธิบดีกรมสรรพากรกำหนดตามประกาศอธิบดีฯ เกี่ยวกับภาษีเงินได้ (ฉบับที่ 62) กรณีที่ส่วนราชการได้จดแจ้งการหักภาษีไว้ในฎีกาเบิกเงิน และได้มีการออกหนังสือรับรองการหักภาษี ณ ที่จ่าย ตามระเบียบของทางราชการแล้ว ให้ยกเว้นการออกหนังสือรับรองการหักภาษี ณ ที่จ่าย

303 หน้าที่ของผู้จ่ายเงินได้เกี่ยวกับ WT.
หนังสือรับรองการหักภาษี ณ ที่จ่าย ต้องมีข้อความด้านบนแต่ละฉบับดังนี้       (1) ฉบับที่ 1 มีข้อความว่า “สำหรับผู้ถูกหักภาษี ณ ที่จ่าย ใช้แนบพร้อมกับแบบแสดงรายการ”       (2) ฉบับที่ 2 มีข้อความว่า “สำหรับผู้ถูกหักภาษี ณ ที่จ่าย เก็บไว้เป็นหลักฐาน” ผู้มีหน้าที่ออกหนังสือรับรองการหักภาษี ณ ที่จ่าย ต้องจัดทำสำเนาคู่ฉบับไว้เพื่อใช้เป็นหลักฐานสำหรับออกใบแทนในกรณีที่หนังสือรับรองการหักภาษี ณ ที่จ่าย ที่ออกให้แก่ผู้ถูกหักภาษี ณ ที่จ่ายแล้วแต่ชำรุด สูญหาย โดยการออกใบแทนให้ใช้วิธีถ่ายเอกสารหรือพิมพ์เอกสารจากเครื่องคอมพิวเตอร์ในกรณีจัดทำหนังสือรับรองการหักภาษี ณ ที่จ่ายด้วยระบบคอมพิวเตอร์ และมีข้อความว่า “ใบแทน” ไว้ที่ด้านบนของเอกสารซึ่งผู้มีหน้าที่ออกหนังสือรับรองการหักภาษี ณ ที่จ่าย ต้องลงลายมือชื่อรับรองด้วย

304 หน้าที่ของผู้จ่ายเงินได้เกี่ยวกับ WT.
หนังสือรับรองการหักภาษี ณ ที่จ่าย จะต้องมีหมายเลขลำดับของหนังสือรับรองการหักภาษี ณ ที่จ่าย และหมายเลขลำดับของเล่ม เว้นแต่ในกรณีที่ไม่ได้จัดทำหนังสือรับรองการหักภาษี ณ ที่จ่ายเป็นเล่ม จะไม่มีหมาย เลขลำดับของเล่มก็ได้ การลงชื่อของผู้มีหน้าที่หักภาษี ณ ที่จ่าย ในหนังสือรับรองการหักภาษี ณ ที่จ่าย จะใช้วิธีประทับลายมือชื่อผู้มีหน้าที่หักภาษี ณ ที่จ่ายด้วยตรายาง หรือจะพิมพ์ลายมือชื่อผู้มีหน้าที่หักภาษี ณ ที่จ่ายโดยเครื่องคอมพิว เตอร์ที่ได้มีการเก็บลายมือชื่อไว้ (SCAN) ก็ได้ สำหรับรายการประเภทเงินได้พึงประเมินที่จ่าย ผู้มีหน้าที่ออกหนังสือรับรองการหักภาษี ณ ที่จ่าย จะระบุเฉพาะประเภทเงินได้พึงประเมินที่จ่ายซึ่งได้หักภาษี ณ ที่จ่าย โดยจะไม่ระบุประเภทเงินได้พึงประเมินอื่นก็ได้

305 หน้าที่ของผู้จ่ายเงินได้เกี่ยวกับ WT.
สำหรับการจ่ายเงินได้พึงประเมินตามมาตรา 40(1) และได้มีการหักเงินได้ดังกล่าวเข้ากองทุนสำรองเลี้ยงชีพ กองทุนประกันสังคม กองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ ตามกฎหมายว่าด้วยกองทุนดังกล่าว และกองทุนสงเคราะห์ ตามกฎหมายว่าด้วยโรงเรียนเอกชน จะระบุจำนวนเงินที่ได้หักจากเงินได้ของผู้มีเงินได้เข้ากองทุนดังกล่าวในแต่ละปีภาษีในหนังสือรับรองการหักภาษี ณ ที่จ่ายก็ได้ หนังสือรับรองการหักภาษี ณ ที่จ่ายต้องทำเป็นภาษาไทยหรือภาษา อังกฤษ แต่ถ้าทำเป็นภาษาต่างประเทศอื่น ต้องมีคำแปลภาษาไทยกำกับ ส่วนตัวเลขให้ใช้เลขไทยหรืออารบิค ผู้ใดประสงค์จะทำหนังสือรับรองการหักภาษี ณ ที่จ่ายเป็นอย่างอื่น นอกจากที่กล่าวข้างต้น ให้ยื่นคำขออนุมัติจากอธิบดีกรมสรรพากรก่อน และเมื่อได้รับอนุมัติจากอธิบดีกรมสรรพากรแล้ว ให้ปฏิบัติตามนั้นได้

306

307 หน้าที่ของผู้จ่ายเงินได้เกี่ยวกับ WT.
ข้อ 12 กรณีบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายไทยจ่ายเงินปันผลซึ่งเป็นเงินปันผลที่จ่ายจากกำไรเฉพาะส่วนที่เกิดขึ้นตามข้อ 10 ผู้จ่ายเงินปันผลจะต้องระบุในหนังสือรับรองการหักภาษี ณ ที่จ่ายว่า ไม่ได้รับเครดิตภาษีตามมาตรา 47 ทวิ แห่งประมวลรัษฎากร กรณีบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายไทยจ่ายเงินปันผลซึ่งเป็นเงินปันผลที่จ่ายจากกำไรทั้งในส่วนที่เกิดขึ้นตามข้อ 10 และกำไรจากการประกอบกิจการตามข้อ 11 ผู้จ่ายเงินปันผลจะต้องระบุในหนังสือรับรองการหักภาษี ณ ที่จ่ายให้ชัดเจนว่า เงินที่ได้จ่ายนั้นจำนวนใดได้รับเครดิตภาษี และจำนวนใดไม่ได้รับเครดิตภาษีตามมาตรา 47 ทวิ แห่งประมวลรัษฎากร

308 หน้าที่ของผู้จ่ายเงินได้เกี่ยวกับ WT.
ข้อ กรณีบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายไทยประกอบกิจการที่ต้องเสียภาษีเงินได้หลายอัตรา เมื่อจ่ายเงินปันผลหรือเงินส่วนแบ่งของกำไรให้แก่ผู้รับซึ่งเป็นบุคคลธรรมดา และผู้จ่ายเงินได้ทราบโดยชัดแจ้งว่าจ่ายจากเงินกำไรหลังจากเสียภาษีในอัตราใด ผู้จ่ายเงินได้จะต้องระบุในหนังสือรับรองการหักภาษี ณ ที่จ่ายให้ชัดเจนว่าเงินปันผลหรือ เงินส่วนแบ่งของกำไรที่จ่ายนั้นจำนวนใดได้มาจากกิจการที่ต้องเสียภาษีเงินได้ในอัตราใด กรณีบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลตามวรรคหนึ่ง จ่ายเงินปันผลหรือเงินส่วนแบ่งของกำไรให้แก่ผู้รับซึ่งเป็นบุคคลธรรมดา และผู้จ่ายเงินได้ไม่สามารถทราบโดยชัดแจ้งว่าจ่ายจากเงินกำไรหลังจากเสียภาษีในอัตราใด ผู้จ่ายเงินได้ต้องเฉลี่ยเงินปันผลหรือเงินส่วนแบ่งของกำไรตามส่วนของกำไรหลังจากเสียภาษีในแต่ละอัตราภาษี และจะต้องระบุในหนังสือรับรองการหักภาษี ณ ที่จ่ายให้ชัดเจนว่าเงินปันผลหรือเงินส่วนแบ่งของกำไรที่จ่ายนั้นจำนวนใดได้มาจากกิจการที่ต้องเสียภาษีเงินได้ในอัตราใด

309 หน้าที่ของผู้จ่ายเงินได้เกี่ยวกับ WT.
ข้อ 14 กรณีบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลผู้จ่ายเงินปันผลแสดงข้อความที่กำหนดให้ต้องระบุในหนังสือรับรองการหักภาษี ณ ที่จ่าย ตามข้อ 12 และข้อ 13 ถูกต้อง และผู้มีเงินได้มิได้นำไปใช้เครดิตภาษี หรือนำไปใช้เครดิตภาษีถูกต้องตามมาตรา 47 ทวิ แห่งประมวลรัษฎากร ผู้จ่ายเงินได้และผู้มีเงินได้ไม่ต้องรับผิดตามมาตรา 47 ทวิ วรรคสี่ แห่งประมวลรัษฎากร ข้อ 15 กรณีบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลผู้จ่ายเงินปันผลแสดงข้อความที่กำหนดให้ต้องระบุในหนังสือรับรองการหักภาษี ณ ที่จ่าย ตามข้อ 12 และข้อ 13 ถูกต้อง และผู้มีเงินได้นำไปใช้เครดิตภาษีตามมาตรา 47 ทวิ แห่งประมวลรัษฎากร แต่ใช้เครดิตภาษีไม่ถูกต้อง โดยเครดิตภาษีที่คำนวณได้มีจำนวนเกินกว่าที่ผู้มีเงินได้พึงได้รับ อันเป็นเหตุให้ผู้มีเงินได้ได้ รับเงินภาษีคืนเกินไปหรือชำระภาษีไว้ไม่ครบถ้วน ผู้จ่ายเงินได้ไม่ต้องรับผิดตามมาตรา 47 ทวิ วรรคสี่ แห่งประมวลรัษฎากร สำหรับผู้มีเงินได้ต้องรับผิดตามจำนวนเงินภาษีที่ได้รับคืนเกินไปหรือเงินภาษีที่ชำระไว้ไม่ครบถ้วน ซึ่งเจ้าพนักงานประเมินมีอำนาจเรียกคืนเงินจำนวนดังกล่าวหรือประเมินเรียกเก็บภาษีเพิ่มเติมจากผู้มีเงินได้ แล้วแต่กรณี ตามมาตรา 47 ทวิ วรรคสี่ แห่งประมวลรัษฎากร

310 หน้าที่ของผู้จ่ายเงินได้เกี่ยวกับ WT.
ข้อ 16 กรณีบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลผู้จ่ายเงินปันผลแสดงข้อความที่กำหนดให้ต้องระบุในหนังสือรับรองการหักภาษี ณ ที่จ่าย ตามข้อ 12 และข้อ 13 ไม่ถูกต้อง และผู้มีเงินได้มิได้นำไปใช้เครดิตภาษี ตามมาตรา 47 ทวิ แห่งประมวลรัษฎากร ผู้จ่ายเงินได้และ ผู้มีเงินได้ ไม่ต้องรับผิดตามมาตรา 47 ทวิ วรรคสี่ แห่งประมวลรัษฎากร ข้อ 17 กรณีบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลผู้จ่ายเงินปันผลแสดงข้อความที่กำหนดให้ต้องระบุในหนังสือรับรองการหักภาษี ณ ที่จ่าย ตามข้อ 12 และข้อ 13 ไม่ถูกต้อง และผู้มีเงินได้นำไปใช้เครดิตภาษีตามมาตรา 47 ทวิ แห่งประมวลรัษฎากร โดยเครดิตภาษีที่คำนวณได้มีจำนวนเกินกว่าที่ผู้มีเงินได้พึงได้รับ ซึ่งอาจเป็นเหตุให้ผู้มีเงินได้จะได้รับเงินภาษีคืนเกินไป หากผู้มีเงินได้ยังไม่ได้รับเงินภาษีคืน หรือได้รับเงินภาษีคืนแต่ยังไม่เกินกว่าจำนวนที่พึงได้รับ ผู้จ่ายเงินได้และผู้มีเงินได้ไม่ต้องรับผิดตามมาตรา 47 ทวิ วรรคสี่ แห่งประมวลรัษฎากร

311 หน้าที่ของผู้จ่ายเงินได้เกี่ยวกับ WT.
ข้อ 18 กรณีบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลผู้จ่ายเงินปันผลแสดงข้อความที่กำหนดให้ต้องระบุในหนังสือรับรองการหักภาษี ณ ที่จ่าย ตามข้อ 12 และข้อ 13 ไม่ถูกต้อง และผู้มีเงินได้นำไปใช้เครดิตภาษีตามมาตรา 47 ทวิ แห่งประมวลรัษฎากร โดยเครดิตภาษีที่คำนวณได้มีจำนวนเกินกว่าที่ผู้มีเงินได้พึงได้รับ อันเป็นเหตุให้ผู้มีเงินได้ได้รับเงินภาษีคืนเกินไปหรือชำระภาษีไว้ไม่ครบถ้วน ผู้จ่ายเงินได้ต้องรับผิดร่วมกับผู้มีเงินได้ตามจำนวนเงินภาษีที่ได้รับคืนเกิน ไปหรือเงินภาษีที่ชำระไว้ไม่ครบถ้วน ตามมาตรา 47 ทวิ วรรคสี่ แห่งประมวลรัษฎากร ซึ่ง เจ้าพนักงานประเมินมีอำนาจเรียกคืนเงินจำนวนดังกล่าวหรือประเมินเรียกเก็บภาษีเพิ่มเติมจาก ผู้จ่ายเงินได้ก่อน แต่ถ้าเรียกคืนเงินภาษีหรือเรียกเก็บภาษีจากผู้จ่ายเงินได้ไม่ได้หรือไม่ครบจำนวนที่ถูกต้อง เจ้าพนักงานประเมินก็มีอำนาจเรียกคืนเงินภาษีหรือเรียกเก็บภาษีจากผู้มีเงินได้ ตามมาตรา 18 แห่งประมวลรัษฎากร

312 หน้าที่ของผู้จ่ายเงินได้เกี่ยวกับ WT.
ข้อ 18 (ต่อ) กรณีผู้มีเงินได้ได้รับเงินปันผลจากผู้จ่ายเงินได้หลายราย และผู้จ่ายเงินได้บางรายแสดงข้อความที่กำหนดให้ต้องระบุในหนังสือรับรองการหักภาษี ณ ที่จ่าย ตามข้อ 12 และข้อ 13 ไม่ถูกต้อง หากผู้มีเงินได้นำไปใช้เครดิตภาษีตามมาตรา 47 ทวิ แห่งประมวลรัษฎากร โดยเครดิตภาษีที่คำนวณได้มีจำนวนเกินกว่าที่ผู้มีเงินได้พึงได้รับ อันเป็นเหตุให้ผู้มีเงินได้ได้รับเงินภาษีคืนเกินไปหรือชำระภาษีไว้ไม่ครบถ้วน ผู้จ่ายเงินได้ซึ่งแสดงข้อความที่กำหนดให้ต้องระบุในหนังสือรับรองการหักภาษี ณ ที่จ่าย ไม่ถูกต้อง ต้องรับผิดร่วมกับผู้มีเงินได้ตามจำนวนเงินภาษีที่ได้รับคืนเกินไปหรือเงินภาษีที่ชำระไว้ไม่ครบถ้วน ตามมาตรา 47 ทวิ วรรคสี่ แห่งประมวลรัษฎากร

313 หน้าที่ของผู้จ่ายเงินได้เกี่ยวกับ WT.
ตามประกาศอธิบดีฯ เกี่ยวกับภาษีเงินได้และภาษีการค้า (ฉบับที่ 4) เรื่อง กำหนดให้ผู้มีหน้าที่หักภาษีเงินได้หรือภาษีการค้า ณ ที่จ่าย มีบัญชีพิเศษ จัดทำให้แล้วเสร็จภายใน 3 วัน นับแต่วันที่เกิดรายการ ให้ความร่วมมือแก่เจ้าพนักงานในการตรวจสอบ WT. มาตรา 51 ยื่นบัญชีจ่ายเงินได้พึงประเมินตามมาตรา 40(1)(2)(3)(4) และ (7) หรือพยานหลักฐานอื่นอันควรแก่เรื่อง เพื่อตรวจสอบการหักภาษี ณ ที่จ่ายตามที่เจ้าพนักงานประเมินเห็นสมควร โดยต้องปฏิบัติตามภายใน 15 วัน นับแต่วันที่ได้รับหนังสือแจ้งความ

314 หน้าที่ของผู้จ่ายเงินได้เกี่ยวกับ WT.
มาตรา 54 ถ้าผู้จ่ายเงินได้... มิได้หักและนำเงินส่ง หรือได้หักและนำเงินส่งแล้ว แต่ไม่ครบจำนวนที่ถูกต้อง ผู้จ่ายเงินต้องรับผิดร่วมกับผู้มีเงินได้ในการเสียภาษีที่ต้องชำระตามจำนวนเงินภาษีที่มิได้หักและนำส่ง หรือตามจำนวนที่ขาดไปแล้วแต่กรณี     ในกรณีที่ผู้จ่ายเงินได้หักเงินภาษีไว้แล้ว ให้ผู้มีเงินได้ซึ่งต้องเสียภาษีพ้นความรับผิดที่จะต้องชำระเงินภาษีเท่าจำนวนที่ผู้จ่ายเงินได้หักไว้แล้วนั้น และให้ผู้จ่ายเงินรับผิดชำระเงินภาษีจำนวนนั้นแต่ฝ่ายเดียว มาตรา 27 บุคคลใดไม่เสียหรือนำส่งภาษีภายในกำหนดเวลาตามที่บัญญัติไว้ในหมวดต่างๆ แห่งลักษณะนี้เกี่ยวกับภาษีอากรประเมิน ให้เสียเงินเพิ่มอีกร้อยละ 1.5 ต่อเดือน หรือเศษของเดือนของเงินภาษีที่ต้องเสีย หรือนำส่งโดยไม่รวมเบี้ยปรับ

315 หน้าที่ของผู้จ่ายเงินได้เกี่ยวกับ WT.
กรณีผู้จ่ายเงินได้ไม่ได้หักภาษี ณ ที่จ่ายและนำส่ง หรือได้หักภาษี ณ ที่จ่ายและนำส่งแล้ว แต่ไม่ครบจำนวนที่ถูกต้อง แต่ผู้มีเงินได้ได้นำเงินได้ตามจำนวนที่ไม่ได้ถูกหักภาษี ณ ที่จ่าย หรือตามจำนวนที่ถูกหักภาษี ณ ที่จ่ายไว้ไม่ครบจำนวนที่ถูกต้อง ไปยื่นแบบแสดงรายการภาษีและชำระภาษีแล้ว ถือว่าผู้มีเงินได้ซึ่งเป็นลูกหนี้ร่วมของผู้มีหน้าที่หักภาษี ณ ที่จ่าย ได้ชำระหนี้ภาษีแล้ว ผู้จ่ายเงินได้จึงหลุดพ้นจากหนี้ภาษี เฉพาะเงินภาษีที่ต้องนำส่ง ตามมาตรา 54 วรรคสอง แต่ผู้จ่ายเงินได้ยังคงต้องรับผิดชำระเงินเพิ่มตามมาตรา 27 โดยให้คำนวณเงินเพิ่ม นับแต่เมื่อพ้นกำหนดเวลาการยื่นรายการหรือนำส่งภาษี จนถึงวันที่ผู้มีหน้าที่เสียภาษีได้ยื่นแบบแสดงรายการภาษีและชำระภาษีครบจำนวนที่ถูกต้อง แต่เงินเพิ่มที่คำนวณได้ไม่ให้เกินจำนวนภาษีที่ต้องเสียหรือนำส่ง (ข้อ 10 ของคำสั่งกรมสรรพากรที่ ป.91/2542)

316 ความรับผิดเกี่ยวกับหักภาษี ณ ที่จ่าย
กรณีผู้จ่ายเงินได้ไม่ยื่นรายการนำส่งภาษีเงินได้ ณ ที่จ่าย ภายในเวลาที่กฎหมายกำหนด ถือเป็นการฝ่าฝืนบทบัญญัติตามมาตรา 17 หรือมิได้ปฏิบัติเกี่ยวกับหนังสือรับรองการหักภาษี ณ ที่จ่ายตามมาตรา 50 ทวิ หรือไม่ปฏิบัติตามหนังสือแจ้งความของเจ้าพนักงานประเมินตามมาตรา 51 เว้นแต่จะแสดงได้ว่ามีเหตุสุดวิสัย ต้องระวางโทษปรับไม่เกินสองพันบาท (มาตรา 35) ผู้ใด     (1) โดยรู้อยู่แล้วหรือโดยจงใจแจ้งข้อความเท็จ หรือให้ถ้อยคำเท็จ หรือ ตอบคำถามด้วยถ้อยคำอันเป็นเท็จ หรือนำพยานหลักฐานเท็จมาแสดง เพื่อหลีกเลี่ยงการเสียภาษีอากรตามลักษณะนี้ หรือ     (2) โดยความเท็จ โดยฉ้อโกงหรืออุบาย หรือโดยวิธีการอื่นใดทำนองเดียวกัน หลีกเลี่ยงหรือพยายามหลีกเลี่ยงการเสียภาษีอากรตามลักษณะนี้     ต้องระวางโทษจำคุก ตั้งแต่สามเดือนถึงเจ็ดปี และปรับตั้งแต่สองพันบาทถึงสองแสนบาท (มาตรา 37)

317 การขอคืนภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา
การขอคืนภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาหัก ณ ที่จ่ายทั้งกรณีภาษีหัก ณ ที่จ่ายจ่ายตามมาตรา 50 และมาตรา 3 เตรส ให้ขอคืนตามมาตรา 63 โดยให้ขอคืนภายใน 3 ปี นับแต่ วันสุดท้ายแห่งปีที่ถูกหักไว้ ณ ที่จ่าย การขอคืนภาษีเงินได้บุคคลธรรมดากรณีอื่นนอกจาก ภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย ให้ขอคืนตามมาตรา 27 ตรี โดยให้ขอคืนภายใน3 ปี นับแต่ วันพ้นกำหนดเวลายื่นรายการ วันได้รับวินิจฉัยอุทธรณ์ วันที่ศาลพิพากษาถึงที่สุด

318 การขอคืนภาษีเงินได้นิติบุคคล
การขอคืนภาษีเงินได้นิติบุคคลหัก ณ ที่จ่ายมาตรา 3 เตรส ให้ขอคืนตามมาตรา 63 โดยให้ขอคืนภายใน 3 ปี นับแต่ วันสุดท้ายแห่งรอบระยะเวลาบัญชีที่ถูกหักไว้ ณ ที่จ่าย การขอคืนภาษีเงินได้นิติบุคคลกรณีอื่น นอกจากภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่ายตามมาตรา 3 เตรส ให้ขอคืนตามมาตรา 27 ตรี โดยให้ขอคืนภายใน3 ปี นับแต่ วันพ้นกำหนดเวลายื่นรายการ วันได้รับวินิจฉัยอุทธรณ์ วันที่ศาลพิพากษาถึงที่สุด

319 สิ่งจำเป็นในการศึกษาภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย
การไล่สายภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย ประเภทเงินได้พึงประเมิน การยกเว้นภาษี โดยเฉพาะภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา หลักเกณฑ์ วิธีการ เงื่อนไข และอัตราภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย แนวคิดในการแก้ปัญหาและป้องกันปัญหาทางภาษีอากร (การวางแผนภาษีอากร)

320 ข้อกำหนดเบื้องต้นเกี่ยวกับภาษีหัก ณ ที่จ่าย
คำนวณหัก WT. เมื่อมีการจ่ายเงินได้ โดยถือตามเกณฑ์เงินสด (Cash Basis) การจ่ายเงินได้เป็นเงินสด ธนาณัติ ดราฟต์ -เมื่อจ่ายเงินได้ การชำระด้วยบัตรเครดิต – เมื่อออกหลักฐานการใช้บัตรเครดิต การโอนเงินผ่านธนาคาร - เมื่อโอนเงินผ่านธนาคาร การจ่ายเงินได้เป็นทรัพย์สินหรือสิ่งของ (Things) - เมื่อส่งมอบสิ่งของ การแลกเปลี่ยน (Barter) - ขึ้นอยู่กับข้อเท็จจริง การจ่ายเงินได้เป็นประโยชน์เพิ่ม (Fringe Benefit) - เมื่อจ่าย การหักกลบลบหนี้ - ให้ถือว่าต่างฝ่ายต่างจ่ายเงินได้ การจ่ายเงินได้ด้วยเช็ค ตั๋วเงิน C/N - ตามวันที่ลงในเช็ค ตั๋วเงิน C/N ข้อยกเว้น: เฉพาะการซื้อขายอสังหาริมทรัพย์ ให้คำนวณหัก WT. และเสีย SBT ในขณะจดทะเบียนฯ

321 ข้อกำหนดเบื้องต้นเกี่ยวกับภาษีหัก ณ ที่จ่าย
“ภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย แม้มิได้หักก็ต้องนำส่ง” เมื่อได้นำส่ง WT. ที่ผู้จ่ายเงินได้มิได้หักไว้อาจเลือกปฏิบัติ ได้ดังนี้ ตั้งผู้มีเงินได้เป็นลูกหนี้ไว้ แล้วออกใบแจ้งหนี้ พร้อมทั้งหนังสือรับรองการหัก WT. ให้แก่ผู้มีเงินได้ ออก WT. ให้แก่ผู้มีเงินได้ โดยออกให้จำกัดจำนวน หรือออกให้ตลอดไป (ออกให้ทุกทอด) กรณีออก WT. ให้ทุกทอด และอัตรา WT. คงที่ ให้ คำนวณโดย WT.ที่ออกให้ = เงินได้ที่จ่าย x อัตรา WT. (100 – อัตรา WT.)

322 ข้อกำหนดเบื้องต้นเกี่ยวกับภาษีหัก ณ ที่จ่าย
ค่าภาษีอากรไม่ว่าประเภทใดๆ ที่ผู้จ่ายเงินหรือผู้อื่นออกแทนให้ ไม่ว่า จะออกกี่ทอด ให้ถือเป็นเงินได้ทุกทอด และให้ถือเป็นเงินได้พึงประเมินประเภท และปีภาษีเดียวกับเงินได้ที่ออกภาษีแทนให้นั้น การให้เป็นสินค้าหรือสิ่งของ หากผู้จ่ายเงินได้มีหน้าที่เสียภาษีมูลค่าเพิ่ม และผู้จ่ายเงินได้มิได้เรียกเก็บภาษีมูลค่าเพิ่ม ให้นำค่าภาษีมูลค่าเพิ่มมาถือรวมเป็นเงินได้เพื่อคำนวณหัก WT. ด้วย เงินได้เกิดขึ้นในปี 25x1 แม้จะออกภาษีให้ในปีอื่น ก็ให้ถือเป็นเงินได้พึงประเมินของปี 25x1 จึงต้องหัก WT. นำส่งไม่เกิน 7 ม.ค. 25x2

323 ข้อกำหนดเบื้องต้นเกี่ยวกับภาษีหัก ณ ที่จ่าย
การจ่ายเงินได้โดยตั้งตัวแทนจ่าย เช่น Shipping, Freight Forwarder หากการจ่ายเงินได้นั้น ตัวการมีหน้าที่ต้องหัก WT. ให้ตัวแทนหัก WT. แทนตัวการ การออกหนังสือรับรองการหัก WT. ให้ใช้แบบหนังสือรับรองของตัวแทน โดยให้ระบุชื่อ ที่อยู่ และเลขประจำ ตัวผู้เสียภาษีอากรของตัวการด้วย การนำส่ง WT. แทนตัวการ ให้ตัวแทนกรอกแบบนำส่งภาษีเป็นรายตัวการ แต่ในช่องผู้จ่ายเงินให้ใส่ชื่อตัวแทน ตัวการมีหน้าที่เกี่ยวกับ WT. โดยประการใด ตัวแทนย่อมมีหน้าที่เกี่ยวกับ WT. โดยประการนั้น

324 ส่วนราชการ บริษัท A. จำกัด บริษัท X. จำกัด บริษัท B. จำกัด
ตัวการมีหน้าที่เกี่ยวกับ WT. โดยประการใด ตัวแทนย่อมมีหน้าที่เกี่ยวกับ WT. โดยประการนั้น ส่วนราชการ 1 สัญญาว่าจ้าง WT1%, VAT บริษัท A. จำกัด บริษัท X. จำกัด 2 Subcontract WT 3%, VAT 3 จ่ายเงินได้โดยตรง บริษัท B. จำกัด เมื่อส่วนราชการหรือบริษัท X. จำกัด จ่ายเงินค่าจ้างตามสัญญาให้แก่ บริษัท B. จำกัด ตามหนังสือโอนสิทธิการรับเงินที่บริษัท A. จำกัด ออกให้ บริษัท B. ต้องออกใบกำกับภาษีให้แก่บริษัท A. และบริษัท A. ต้องออก ใบกำกับภาษีให้แก่ส่วนราชการหรือบริษัท X. ส่วนราชการหรือบริษัท X. ต้องหัก WT. จากบริษัท A และบริษัท A. ต้อง หัก WT. จากบริษัท B.

325 ข้อกำหนดเบื้องต้นเกี่ยวกับภาษีหัก ณ ที่จ่าย
การจ่ายค่าบริการให้กับธนาคารพาณิชย์ และบริษัทเงินทุน หลักทรัพย์ หรือเครดิตฟองซิเอร์ โดยจ่ายผ่านระบบการหักเงินจากบัญชีธนาคารของผู้จ่ายเงิน ผู้จ่ายเงินอาจแต่งตั้งให้ผู้ถูกหักภาษี ณ ที่จ่ายเป็นตัวแทนในการหักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่าย ออกหนังสือรับรองการหักภาษี ณ ที่จ่าย ลงลายมือชื่อในหนังสือรับรองการหักภาษี ณ ที่จ่าย ยื่นรายการภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย และชำระภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย แทนผู้จ่ายเงิน ผู้ถูกหักภาษี ณ ที่จ่ายต้องออกหนังสือรับรองการหักภาษี ณ ที่จ่ายและยื่นรายการภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่ายในนามของผู้จ่ายเงิน ผู้ถูกหักภาษี ณ ที่จ่ายอาจเป็นตัวแทนเพื่อดำเนินการหักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่าย แทนผู้จ่ายเงินตัวการหลายตัวการได้

326 ข้อกำหนดเบื้องต้นเกี่ยวกับภาษีหัก ณ ที่จ่าย
ผู้จ่ายเงินไม่ต้องออกหนังสือรับรองการหักภาษี ณ ที่จ่าย สำหรับการจ่ายค่าธรรมเนียมหรือค่าบริการในทันทีทุกครั้งที่มีการหักภาษี ณ ที่จ่าย ผู้ถูกหักภาษี ณ ที่จ่ายไม่ต้องออกหนังสือรับรองการหักภาษี ณ ที่จ่ายเป็นรายฉบับทุกครั้งที่จ่ายเงิน แต่ต้องจัดทำรายละเอียดรายการภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย เพื่อเป็นหนังสือรับรองการหักภาษี ณ ที่จ่ายด้วย เมื่อดำเนินการหักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่าย แทนผู้จ่ายเงินแล้ว ผู้ถูกหักภาษี ณ ที่จ่ายต้องระบุข้อความเพิ่มเติมในใบกำกับภาษีของค่าธรรมเนียมหรือค่าบริการว่า “ผู้ถูกหักภาษี ณ ที่จ่ายได้ดำเนินการหักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่ายในอัตราร้อยละ 3.0 เป็นจำนวนเงิน … บาท แทนผู้จ่ายเงินแล้ว และจะดำเนินการนำส่งภาษีดังกล่าวต่อกรมสรรพากรภายในวันที่ 7 ของเดือนถัดไป” ธนาคารหรือบริษัทจะต้องจัดให้มีการ SCAN หรือพิมพ์ลายมือชื่อผู้รับมอบอำนาจในใบกำกับภาษีดังกล่าวด้วย

327 ข้อกำหนดเบื้องต้นเกี่ยวกับภาษีหัก ณ ที่จ่าย
รายละเอียดรายการภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย คำว่า “รายละเอียดรายการภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่ายประจำเดือน…พ.ศ. ….” ในที่ที่เห็นได้เด่นชัด ชื่อ ที่อยู่ และเลขประจำตัวผู้เสียภาษีอากรของธนาคารหรือบริษัทผู้ถูกหักภาษี ณ ที่จ่าย โดยมีข้อความว่า “ในฐานะผู้กระทำการแทนผู้จ่ายเงินได้ตามรายชื่อที่ระบุไว้ในเอกสารนี้” ประเภทเงินได้ เช่น ค่าธรรมเนียมการใช้บัตรเครดิต หรือค่าธรรมเนียมในการโอนเงินทางโทรเลข ชื่อ และเลขประจำตัวผู้เสียภาษีอากรของผู้จ่ายเงิน ซึ่งเป็นตัวการหลายตัวการ จำนวนเงินที่จ่าย และจำนวนภาษีที่หักไว้ ลายมือชื่อผู้มีหน้าที่หักภาษี ณ ที่จ่าย

328 ข้อกำหนดเบื้องต้นเกี่ยวกับภาษีหัก ณ ที่จ่าย
การจ่ายเงินได้ที่ต้องหักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่ายตามมาตรา 3 เตรส โดยทั่วไปต้องมีจำนวนตั้งแต่ 1,000 บาทขึ้นไป ผู้จ่ายเงินได้จึงจะมีหน้าที่ต้องหัก WT. การจ่ายเงินได้ตามสัญญาระยะยาว ให้คำนวณหัก WT. เมื่อจำนวนเงินได้ที่จ่ายสะสมรวมกันถึง 1,000 บาท การจ่ายเงินได้ที่มิใช่กรณีตามสัญญาระยะยาว หากเงินได้ที่จ่ายมีจำนวนรวมกันหลายรายการถึง 1,000 บาท ให้คำนวณหัก WT. เมื่อทั้งจำนวน

329 ค่าเบี้ยเลี้ยง ค่าพาหนะ
ได้รับยกเว้นตามมาตรา 42(2) และคำสั่งกรมสรรพากรที่ ป.59/2538 เป็นการเหมาตาม อัตราที่รัฐบาลกำหนด ใช่ ไม่ใช่ ตามที่จ่ายจริงในการปฏิบัติงาน และได้จ่ายทั้งหมดในการนั้น ใช่ ได้รับยกเว้นตามมาตรา 42(1) ไม่ใช่ จ่ายทั้งหมด โดยจำเป็นในการ เข้ารับงานครั้งแรกและกลับถิ่น เมื่อการจ้างงานสิ้นสุดลง ใช่ ได้รับยกเว้นตามมาตรา 42(3) ไม่ใช่ ถือเป็นเงินได้ตามมาตรา 40(1) หรือ (2) แล้วแต่กรณี

330 ค่ารักษาพยาบาลที่นายจ้าง จ่ายให้หรือจ่ายแทนลูกจ้าง
ตามจำนวนที่จ่ายจริง และ ไม่เกินจำนวนที่นายจ้างกำหนด ไม่ใช่ ไม่ได้รับยกเว้น ต้องนำไป รวมคำนวณ PIT ใช่ สำหรับลูกจ้าง คู่สมรส บุพการี บุตรของลูกจ้าง ในการรักษา พยาบาลในประเทศไทย ใช่ ได้รับยกเว้น PIT ไม่ใช่ สำหรับผู้มีเงินได้ ในการรักษา พยาบาลใน ตปท. เนื่องในการ ปฏิบัติงานเป็นครั้งคราวใน ตปท. ใช่ ได้รับยกเว้น PIT ไม่ใช่ ไม่ได้รับยกเว้น ต้องนำไป รวมคำนวณ PIT

331 ค่าเครื่องแบบที่ลูกจ้าง ได้รับจากนายจ้าง
Non VAT Base ค่าเครื่องแบบจำนวน คนละไม่เกิน 2 ชุดต่อปี ใช่ ได้รับยกเว้น PIT ไม่ใช่ Non VAT Base ค่าเสื้อนอกจำนวน ไม่เกิน 1 ชุดต่อปี ใช่ ได้รับยกเว้น PIT ไม่ใช่ Non VAT Base สิ่งประกอบเครื่องแต่งกาย ที่กำหนดให้แต่งเพื่อใช้ ในการปฏิบัติงาน ใช่ ได้รับยกเว้น PIT ไม่ใช่ VAT Base รองเท้าที่อาจใช้งานได้ทั่วไป ชุดชั้นใน หรือสิ่งประกอบเครื่องแต่งกาย ที่ทำด้วยโลหะหรืออัญมณีมีค่า ไม่ได้รับยกเว้น ต้องนำไป รวมคำนวณ PIT/ WT

332 สวัสดิการพนักงาน Non VAT Base ใช่ ไม่ได้รับยกเว้น ต้องนำไป
ค่าอาหารเลี้ยงพนักงาน ใช่ ไม่ได้รับยกเว้น ต้องนำไป รวมคำนวณ PIT ไม่ใช่ ค่าเบี้ยประกันชีวิต ค่าเบี้ยประกันภัยหมู่ ใช่ ไม่ได้รับยกเว้น ต้องนำไป รวมคำนวณ PIT ไม่ใช่ ใช่ ไม่ถือเป็นประโยชน์เพิ่ม เพราะเป็นรายจ่ายตามปกติ ประเพณีทางธุรกิจ รถรับส่งพนักงาน ไม่ใช่ ใช่ ไม่ถือเป็นประโยชน์เพิ่ม เพราะเป็นรายจ่ายตามปกติ ประเพณีทางธุรกิจ รถประจำตำแหน่งและ ใช้เพื่อกิจการโดยเฉพาะ ไม่ใช่ VAT Base ค่าของขวัญ ของรางวัล เนื่องในเทศกาล ใช่ ไม่ได้รับยกเว้น ต้องนำไป รวมคำนวณ PIT

333 บริษัทฯ เช่า Service Apartment ให้พนักงานหรือกรรมการอยู่อาศัย
โดยไม่เสียค่าเช่า ให้นำค่าเช่ารวมทั้งภาษีซื้อ มาถือเป็นประโยชน์เพิ่ม ตามมาตรา 40(1)หรือ(2) บริษัทฯ ประกอบกิจการที่ ไม่อยู่ในบังคับต้องเสีย VAT ใช่ ไม่ใช่ นำภาษีซื้อไปเครดิตหักออก จากภาษีขายในการคำนวณ VAT ตามม. 82/3 ได้ บริษัทฯ ประกอบกิจการที่ อยู่ในบังคับต้องเสีย VAT ใช่ ให้นำเฉพาะค่าเช่า มาถือเป็นประโยชน์เพิ่ม ตามมาตรา 40(1)หรือ(2)

334 ได้รับแจกหุ้น หรือได้ซื้อหุ้นในราคา ที่ต่ำกว่าราคาตลาดตามข้อตกลงพิเศษ
(Stock Option) เป็นพนักงานหรือ กรรมการ ถือเป็นเงินได้เนื่องจาก หน้าที่งานที่ทำตาม มาตรา 40(1)หรือ(2) ใช่ ไม่ใช่ ได้รับจากการเล่นเกมส์หรือ จากการให้โดยเสน่หา ถือเป็นเงินได้เนื่องจาก กิจการที่ทำตาม มาตรา 40(8) ใช่ ไม่ใช่ เนื่องจากเป็นผู้ถือหุ้นเดิม ใช่ ไม่ถือเป็นเงินได้ ไม่ใช่ เนื่องจากการซื้อขายกัน โดยสุจริตเปิดเผย ใช่ ไม่ถือเป็นเงินได้เพราะ เป็นเพียงการลงทุน

335 WT. : มาตรา 40(2) ค่านายหน้า (Commission)
ประเทศไทย ต่างประเทศ Mr. X บริษัท A. จำกัด 1. WT. มาตรา 50(1) 15% ภ.ง.ด.1 2. WT. มาตรา 50(1) ภ.ง.ด.1 อัตราก้าวหน้าของเงินได้สุทธิ นาย ก. 4. WT. มาตรา 3 เตรส 3% ภ.ง.ด.53 (ตั้งแต่ 16 ก.ค. 44) 3. WT. มาตรา 70 15% ภ.ง.ด.54 บริษัท C. จำกัด บริษัท B. จำกัด มูลนิธิ/ สมาคม 10%

336 เงินได้ที่ Shipping ต้องหัก WT.แทน Shipper
ค่า Freight % Outbound บริษัทไทย DTA Non DTA Air Freight % Non WT.* % Sea Freight Non WT % % Inbound (เฉพาะทางอากาศยาน โดยบริษัทที่ตั้งขึ้นตามกม.ไทย) ค่าขนส่งในประเทศ (เฉพาะเอกชน) 1% ค่าบริการท่าเรือ (เฉพาะเอกชน) % ค่า Warehouse (เฉพาะเอกชน) 3% ค่าเบี้ยประกัน %

337 เงินได้ที่ Shipping ต้องหัก WT.แทน Shipper
ค่านายหน้า ตัวแทน (Commission, Broker Fee) ตัวแทนประกันภัย นายหน้าหาพื้นที่เช่า, หางาน, นำเรือเข้าท่า, ขายสินค้า, ขายหลักทรัพย์ ตัวแทนบริษัทขนส่งระหว่างประเทศ ชิปปิ้ง (Shipping) Freight Forwarder ค่าธรรมเนียมจัดหาเงินกู้ (Management Fee) ค่าธรรมเนียมดูแลเงินกู้ (Agency Fee)

338 Advanced & Reimbursement
4 Commission WT. 3% VAT 1 เงินทดรองจ่าย (Advanced) Non WT Non VAT 2 Paid จ่ายเงินได้ WT VAT ตัวการ ตัวแทน 3 Reimbursement (Doc. Refund) Non WT Non VAT ใบเสร็จรับเงิน ใบกำกับภาษี

339 Prepaid & Reimbursement
3 Commission WT. 3% VAT 1 Prepaid จ่ายเงินได้ WT VAT ตัวการ ตัวแทน Reimbursement (Cash Refund) Non WT Non VAT 2 ใบเสร็จรับเงิน ใบกำกับภาษี

340 เงินได้ที่จ่ายให้แก่ Freight Forwarder
Freight (VAT 0%, WT.?) ดู พรฎ. (ฉบับที่ 314) พ.ศ. 2540 Tax Inv. Receipt VAT 0% International Sea Freight Thai DTA Non DTA Outbound Non WT 1% Inbound Authorized Agent A. Co. Shipper B. Co. Freight Forwarder Advanced Non VAT Non WT. International Air Freight Thai DTA Non DTA Outbound 1% Non WT* Inbound Non WT Service Fee VAT 7% WT. 3% 1% * ไม่รวม UK และ Poland

341 อัตราก้าวหน้าของเงินได้พึงประเมิน
WT.: มาตรา 40(3) ค่าแห่งลิขสิทธิ์ สิทธิอย่างอื่น (Royalty) ประเทศไทย ต่างประเทศ Mr. X บริษัท A. จำกัด 1. WT. มาตรา 50(2) 15%* ภ.ง.ด.2 บริษัท A. จำกัด 2. WT. มาตรา 50(2) ภ.ง.ด.2 อัตราก้าวหน้าของเงินได้พึงประเมิน นาย ก. 4. WT. มาตรา 3 เตรส 3% ภ.ง.ด.53 (ตั้งแต่ 16 ก.ค. 44) 3. WT. มาตรา 70 15%* ภ.ง.ด.54 * ดูการลดอัตราใน DTA บริษัท C. จำกัด บริษัท C. จำกัด บริษัท B. จำกัด มูลนิธิ/ สมาคม 10%

342 เงินได้ตาม ม.40(3) ที่อยู่ในข่ายต้องหัก WT.
ค่าตอบแทนเพื่อการใช้หรือสิทธิในการใช้ (Royalty Fee) ลิขสิทธิ์ในงานวรรณกรรม ศิลปะ วิทยาศาสตร์ ฟิล์มภาพยนตร์ สิทธิบัตร เครื่องหมายการค้า สูตร กรรมวิธี ข้อสนเทศ (Information) เกี่ยวกับประสบการณ์ทางอุตสาหกรรม พาณิชยกรรม หรือวิทยาศาสตร์ Know How, Franchise Software Computer (ถือเป็นงานวรรณกรรมตามกฎหมายลิขสิทธิ์) ค่าใช้โปรแกรมและค่าจ้างเขียนโปรแกรม (ค่าบริการ) ค่าซื้อลิขสิทธิ์ในโปรแกรมโดยเด็ดขาด (ค่าสินค้า) สิทธิในการใช้แบบแปลนการสร้างอาคาร, สนามกอล์ฟ

343 WT.: มาตรา 40(4)(ก) ดอกเบี้ยเงินกู้ยืม (Interest on Loan)
ประเทศไทย ต่างประเทศ Mr. X บริษัท A. จำกัด 1. WT. มาตรา 50(2) 15% ภ.ง.ด.2 นาย ก. 2. WT. มาตรา 50(2) 15% ภ.ง.ด.2 (Final Tax) 4. WT. มาตรา 3 เตรส 1% ภ.ง.ด.53 3. WT. มาตรา 70 15% ภ.ง.ด.54 บริษัท C. จำกัด บริษัท C. จำกัด บริษัท B. จำกัด มูลนิธิ/ สมาคม 10%

344 บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลหรือนิติบุคคลอื่น
จ่ายผลต่างระหว่างราคาไถ่ถอนกับราคาซื้อตั๋วเงินหรือตราสารแสดงสิทธิในหนี้ใด ๆ ที่ออกจำหน่ายครั้งแรกในราคาต่ำกว่าราคาไถ่ถอน ผู้ทรงคนแรกได้เสียภาษีเงินได้ บุคคลธรรมดาหัก ณ ที่จ่ายใน อัตรา 15% ตามมาตรา 50(2) ไว้แล้วทั้งหมดหรือบางส่วน ผู้ทรงคนต่อไปได้รับยกเว้นภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาในส่วนที่ผู้ทรงคนก่อนได้เสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาไว้แล้ว Y N ทั้งนี้ ผู้จ่ายเงินได้ต้องประทับตราว่าได้หักภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ณ ที่จ่ายตามมาตรา 50(2)(ค) บนตราสารแล้วเท่านั้น ผู้ทรงคนต่อไปไม่ได้รับยกเว้นภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา และต้องเสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาจากเงินได้ดังกล่าวทั้งจำนวน

345 การยกเว้นเงินได้พึงประเมินตามมาตรา 40(4)(ก)
กฎกระทรวง ฉบับที่ 126 ข้อ 2 (38) ดอกเบี้ยเงินฝากธนาคารในราชอาณาจักรที่ต้องจ่ายคืนเมื่อทวงถามประเภทออมทรัพย์ เฉพาะกรณีที่ผู้มีเงินได้ได้รับดอกเบี้ยดังกล่าวในจำนวนรวมกันทั้งสิ้นไม่เกินสองหมื่นบาทตลอดปีภาษีนั้น ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขที่อธิบดีประกาศกำหนด (แก้ไขเพิ่มเติมโดยกฎกระทรวง ฉบับที่ 200 (พ.ศ. 2538) ใช้บังคับ 29 พฤศจิกายน 2538 เป็นต้นไป) (ดูประกาศอธิบดีกรมสรรพากร เกี่ยวกับภาษีเงินได้ (ฉบับที่ 55))

346 WT.: มาตรา 40(4)(ข) เงินปันผล (Dividend)
ประเทศไทย ต่างประเทศ Mr. X บริษัท A. จำกัด 1. WT. มาตรา 50(2) 10% ภ.ง.ด.2 2. WT. มาตรา 50(2) 10% ภ.ง.ด.2 นาย ก. 4. WT. มาตรา 3 เตรส 10% ภ.ง.ด.53 3. WT. มาตรา 70 10% ภ.ง.ด.54 บริษัท C. จำกัด บริษัท B. จำกัด มูลนิธิ/ สมาคม 10%

347 การยกเว้นเงินได้พึงประเมินตามมาตรา 40(4)(ข)
กฎกระทรวง ฉบับที่ 126 ข้อ 2 (58) เงินได้พึงประเมิน ดังต่อไปนี้ (ก) เงินปันผลที่ได้จากการถือหุ้นในบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลซึ่งจัดตั้งขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อประกอบกิจการธุรกิจเงินร่วมลงทุน และได้รับยกเว้นภาษีเงินได้ตามมาตรา 5 อัฏฐารส แห่งพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นรัษฎากร (ฉบับที่ 10) พ.ศ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นรัษฎากร (ฉบับที่ 396) พ.ศ. 2545 (ข) ผลประโยชน์ที่ได้จากการโอนหุ้นของบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลซึ่งจัดตั้งขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อประกอบกิจการธุรกิจเงินร่วมลงทุน และได้รับยกเว้นภาษีเงินได้ตามมาตรา 5 อัฏฐารส แห่งพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นรัษฎากร (ฉบับที่ 10) พ.ศ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นรัษฎากร (ฉบับที่ 396) พ.ศ. 2545 (แก้ไขเพิ่มเติมโดยกฎกระทรวง ฉบับที่ 235 (พ.ศ. 2545) ใช้บังคับ 1 มีนาคม 2545 เป็นต้นไป)

348 การยกเว้นเงินได้พึงประเมินตามมาตรา 40(4)(ข)
พระราชกฤษฎีกาฯ (ฉบับที่ 262) พ.ศ. 2536 มาตรา 3 ผู้มีเงินได้ซึ่งอยู่ในประเทศไทยและได้รับเงินส่วนแบ่งของกำไรจากกองทุนรวมที่จัดตั้งตามพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ และยอมให้ผู้จ่ายเงินได้นั้นหักภาษี ณ ที่จ่าย ตามมาตรา 50 (2) แห่งประมวลรัษฎากร ในอัตราร้อยละ 10.0 ของเงินได้ เมื่อถึงกำหนดยื่นรายการให้ได้รับยกเว้นไม่ต้องนำเงินส่วนแบ่งของกำไรดังกล่าวมารวมคำนวณเพื่อเสียภาษีเงินได้ ทั้งนี้ เฉพาะกรณีที่ผู้มีเงินได้ ดังกล่าวไม่ขอรับเงินภาษีที่ถูกหักไว้นั้นคืน หรือไม่ขอเครดิตเงินภาษีที่ถูกหักไว้นั้น ไม่ว่าทั้งหมดหรือบางส่วน (ใช้บังคับ 21 เมษายน 2536 เป็นต้นไป)

349 เลือกเสียภาษีเงินได้ เท่าที่ถูกหัก WT 10% Final Tax
เงินปันผลหรือเงินส่วนแบ่งของกำไรจากบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายไทยและ J.V. ซึ่งได้เสียภาษีเงินได้นิติบุคคลจากฐานกำไรสุทธิแล้ว ถูกหัก WT. 10% ตามม. 50(2), ม.48(3) เลือกเสียภาษีเงินได้ เท่าที่ถูกหัก WT 10% ใช่ Final Tax ไม่ใช่ นำไปรวมคำนวณภาษีเงินได้ตาม ม.48(1) เครดิตภาษีตามมาตรา 47 ทวิ = เงินปันผลฯ คูณ อัตรา CIT หารด้วย (100 – อัตรา CIT) แล้วนำไปรวมเป็นเงินได้เพื่อคำนวณจำนวน PIT จำนวน PIT มากกว่าจำนวนเครดิต ภาษีและ WT. ให้ชำระเพิ่มเติม จำนวน PIT น้อยกว่า จำนวนเครดิต ภาษีและ WT. ให้มีสิทธิขอคืน

350 มีสิทธิได้เครดิตภาษี
จ่ายเงินปันผล ม.40(4)(ข) บริษัท A. จำกัด นาย ก. นำส่งโดย ภ.ง.ด.2 หัก WT.10% Y เลือกเสีย PIT เท่ากับ WT 10% N Final Tax นำไปรวมคำนวณ PIT กับเงินได้อื่น มีสิทธิได้เครดิตภาษี ตามม. 47 ทวิ

351 WT for PIT ที่มีสิทธิเลือกเสียภาษี
1. ภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่ายตามมาตรา 50(2) ประกอบมาตรา 48(3) สำหรับเงินได้ตามมาตรา 40(4)(ก) ดังต่อไปนี้เมื่อถูกหัก WT 15% ผู้มีเงินได้มีสิทธิเลือกเสีย PIT ดอกเบี้ยเงินฝาก (ประจำ) ธนาคารในราชอาณาจักร หรือสหกรณ์ออมทรัพย์ ดอกเบี้ยหุ้นกู้ ดอกเบี้ยพันธบัตร ดอกเบี้ยตั๋วเงิน ดอกเบี้ยเงินกู้ยืมที่ได้จากบริษัทหรือห้างฯ นิติบุคคล หรือนิติบุคคลอื่น ดอกเบี้ยที่ได้จากบรรษัทฯ (IFCT) ผลต่างระหว่างราคาไถ่ถอนกับราคาจำหน่ายตั๋วเงินหรือตรา สารแสดงสิทธิในหนี้ฯ

352 WT for PIT ที่มีสิทธิเลือกเสียภาษี
2. ภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่ายตามมาตรา 50(2) ประกอบมาตรา 48(3) สำหรับเงินได้ตามมาตรา 40(4)(ข) ดังต่อไปนี้เมื่อถูกหัก WT 10% ผู้มีเงินได้มีสิทธิเลือกเสีย PIT เงินปันผลหรือเงินส่วนแบ่งของกำไรที่ได้จากบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายไทย เงินส่วนแบ่งของกำไรจากกิจการร่วมค้า เงินส่วนแบ่งของกำไรจากกองทุนรวมตามมาตรา 39 เงินปันผลที่ได้จากบริษัทที่มีหน้าทีเสียภาษีเงินได้ปิโตรเลียม เฉพาะส่วนที่เหลือจากถูกหักตามกฎหมายว่าด้วยภาษีเงินได้ปิโตรเลียม * นอกจากนี้ ผู้มีเงินได้ตามมาตรา 40(8) ที่เป็นเงินส่วนแบ่งของกำไรจากกองทุนรวมที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ หากยอมให้หัก WT. ในอัตรา 10% ผู้มีเงินได้มีสิทธิเลือกเสีย PIT ตามพรฎ. (ฉ.262)

353 การเลือกเสียภาษี PIT คำสั่งกรมสรรพากรที่ ป.119/2545
ข้อ 19 กรณีบุคคลธรรมดาได้รับเงินปันผลหรือเงินส่วนแบ่งของกำไรจากบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายไทย ซึ่งเป็นเงินปันผลที่ได้รับเครดิตภาษีตามมาตรา 47 ทวิ แห่งประมวลรัษฎากร ตามข้อ 11 ผู้มีเงินได้จะเลือกเสียภาษีในอัตราร้อยละ 10.0 ของเงินได้ โดยไม่ต้องนำไปรวมคำนวณกับเงินได้อื่นก็ได้ ในกรณีเลือกนำไปรวมคำนวณกับ เงินได้อื่น ผู้มีเงินได้จะได้รับเครดิตภาษีตามมาตรา 47 ทวิ แห่งประมวลรัษฎากร และในกรณีที่ได้รับเงินปันผลที่ได้รับเครดิตภาษีจากผู้จ่ายหลายราย ผู้มีเงินได้จะต้องนำเงินได้ดังกล่าวที่ได้รับในปีภาษีทุกรายมารวมคำนวณภาษี ไม่สามารถเลือกเฉพาะบางรายนำมารวมคำนวณภาษีเพื่อได้รับเครดิตภาษี

354 WT for PIT ที่มีสิทธิเลือกเสียภาษี
3. ภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่ายตามมาตรา 50(2) ประกอบมาตรา 48(3) สำหรับเงินได้ตามมาตรา 40(4)(ช) ดังต่อไปนี้เมื่อถูกหัก WT 10% ผู้มีเงินได้มีสิทธิเลือกเสีย PIT ผลประโยชน์ที่ได้จากการโอนพันธบัตร หุ้นกู้ หรือตั๋วเงิน หรือตราสารแสดงสิทธิในหนี้ที่บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล หรือนิติบุคคลอื่นเป็นผู้ออก ทั้งนี้ เฉพาะที่ตีราคาเป็นเงินได้เกินกว่าที่ลงทุน

355 WT. ตามม. 3 เตรส สำหรับเงินได้ตามมาตรา 40(4)(ก)
ผู้รับเป็นบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่ประกอบ 1 % กิจการในประเทศไทย ผู้รับเป็นมูลนิธิหรือสมาคมที่ประกอบกิจการซึ่งมีรายได้ 10 % ธนาคารพาณิชย์ บริษัทเงินทุน บริษัทหลักทรัพย์ บริษัท Non WT. เครดิตฟองซิเอร์ กรณีบริษัทมหาชนเป็นผู้จ่ายเงินได้ตามมาตรา 40(4)(ก) เฉพาะ ที่เป็นดอกเบี้ยพันธบัตร ดอกเบี้ยหุ้นกู้ ให้คำนวณหัก WT ดังนี้ ธนาคารพาณิชย์ บริษัทเงินทุน บริษัทหลักทรัพย์ บริษัท 1%

356 WT.ตามมาตรา 3 เตรส สำหรับเงินได้ตามมาตรา 40(4)(ก)
 ดอกเบี้ยพันธบัตร (โดยบริษัทมหาชน)  ดอกเบี้ยหุ้นกู้ (โดยบริษัทมหาชน)  ดอกเบี้ยตั๋วเงิน  ดอกเบี้ยเงินกู้ยืม  ดอกเบี้ยเงินกู้ยืมที่จ่ายโดยบริษัทจำกัดที่เสียภาษีเงินได้ปิโตรเลียม  ผลต่างระหว่างราคาไถ่ถอนกับราคาจำหน่ายตั๋วเงินหรือตราสารแสดง สิทธิในหนี้ที่บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลหรือนิติบุคคลอื่นเป็นผู้ ออก และจำหน่ายครั้งแรกในราคาต่ำกว่าราคาไถ่ถอน ผู้รับเป็นบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่ประกอบกิจการ 1 % ในประเทศไทย ผู้รับเป็นมูลนิธิหรือสมาคมที่ประกอบกิจการซึ่งมีรายได้ 10 %

357 การยกเว้นเงินได้พึงประเมินตามมาตรา 40(4)(ช)
กฎกระทรวง (ฉบับที่ 126) ข้อ 2 (23) เงินได้จากการขายหลักทรัพย์ในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยแต่ไม่รวมถึงเงินได้จากการขายหลักทรัพย์ที่เป็นหุ้นกู้หรือพันธบัตร (แก้ไขเพิ่มเติมโดยกฎกระทรวง ฉบับที่ 187 (พ.ศ. 2534) ความเดิมยังคงใช้บังคับดอกเบี้ยพันธบัตรของรัฐบาลและพันธบัตรของรัฐบาลที่เริ่มจำหน่ายก่อน 8 พฤศจิกายน 2534)

358 WT.: มาตรา 40(5)(ก) ค่าเช่าทรัพย์สิน (Rental Fee)
ประเทศไทย ต่างประเทศ Mr. X บริษัท A. จำกัด 1. WT. มาตรา 50(3) 15% ภ.ง.ด.3 2. WT. มาตรา 3 เตรส 5% ภ.ง.ด.3 นาย ก. 4. WT. มาตรา 3 เตรส 5% ภ.ง.ด.53 3. WT. มาตรา 70 15% ภ.ง.ด.54 บริษัท C. จำกัด บริษัท B. จำกัด มูลนิธิ/ สมาคม 10%

359 เงินได้ที่เกี่ยวข้องกับการให้เช่าทรัพย์สิน
รายการ WT VAT SD ค่าเช่าที่ดิน อาคาร โรงเรือน สิ่งปลูกสร้างอย่างอื่น - ค่าเช่า เงินกินเปล่า ค่าเซ้ง แป๊ะเจี๊ยะ ค่าซ่อมแซม - ค่าภาษีโรงเรือนและที่ดิน ค่าอากรแสตมป์ คลังสินค้า หรือที่จอดรถ - ให้เช่า - ให้บริการรับฝากทรัพย์ ให้ใช้สถานที่เพื่อวางสินค้า ทรัพย์สิน ค่าบริการหัวชั้น Booth, Kiosk, Location ค่าบริการส่วนกลาง, ความเย็น, ยามรักษาความปลอดภัย ทำความสะอาด (จ้างทำของ) ค่ากระแสไฟฟ้า น้ำประปา ไอน้ำ (ขายสินค้า) ค่าหมายเลขโทรศัพท์ 5% 3% -

360 เงินได้ที่เกี่ยวข้องกับการให้เช่าทรัพย์สิน
รายการ WT VAT SD ค่าบริการใช้โทรศัพท์ - สายตรง - ผู้ให้เช่าเรียกเก็บ - จ่ายให้ บมจ. ทศท. คอร์ปอเรชั่น - ต่อผ่านศูนย์ – Operator (จ้างทำของ) Apartment - ให้เช่าทั่วไป - ให้บริการ Service Apartment (ดู ป.90/2542) โครงเหล็ก (ถือเป็นสังหาริมทรัพย์ในทางภาษีอากร) - ให้เช่า - ให้บริการโฆษณา ให้เช่าสังหาริมทรัพย์ - เฟอร์นิเจอร์ เต้นท์ กล้วยไม้ เสื้อผ้า รถยนต์ เครื่องจักร Tower Cane ฯลฯ 3% 5% - 2%

361 เงินได้ที่เกี่ยวข้องกับการให้เช่าทรัพย์สิน
รายการ WT VAT SD ผนังอาคาร - ให้เช่า - ให้บริการโฆษณา บริการห้องพัก ห้องจัดเลี้ยงในโรงแรม - Hotel ให้ยืมใช้คงรูป (= ให้บริการเช่าทรัพย์สิน) - อสังหาริมทรัพย์ - สังหาริมทรัพย์ การให้เช่าแบบลีสซิ่ง (Leasing) - กรณีเป็นไปตามเงื่อนไขของกฎหมาย - กรณีเป็นไม่ไปตามเงื่อนไขของกฎหมาย 5% 2% -

362 พื้นที่ (ที่จอดรถ) โดย
บริษัท A. จำกัด ให้บริการที่จอดรถ นาย ก. ส่งมอบการครอบครอง พื้นที่ (ที่จอดรถ) โดย ไม่ดูแลรับผิดชอบ Y N การให้เช่าพื้นที่ (อสังหาริมทรัพย์) การรับฝากทรัพย์ (การให้บริการอื่นๆ) WT. 5% Non VAT, SD WT. 3% VAT

363 เงื่อนไขเกี่ยวกับการให้เช่าแบบลีสซิ่ง
1. ผู้ให้เช่า (Leaser) ต้องเป็นบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่มีทุนจดทะเบียนชำระแล้วไม่น้อยกว่า 60 ล้านบาท และเป็นผู้ประกอบการจดทะเบียน (VAT) 2. สัญญาเช่าต้องมีกำหนดเวลาไม่น้อยกว่า 3 ปี เว้นแต่ทรัพย์สินที่ยึดมาจะมีกำหนดเวลาไม่ถึง 3 ปีก็ได้ 3. ผู้เช่า (Leasee) ต้องเป็นนิติบุคคล

364 สาระสำคัญของสัญญาเช่า
มีการส่งมอบการครอบครองทรัพย์ที่เช่า มีระยะเวลาที่ชัดเจน ค่าซ่อมแซมทรัพย์ที่เช่าเป็นภาระของผู้ให้เช่า กรณีผู้ให้เช่าเรียกเก็บค่าซ่อมแซมหรือเงินอื่นในลักษณะทำนองเดียวกันถือเป็นค่าเช่า ความรับผิดในความเสียหายที่เกิดกับบุคคลหรือ ทรัพย์สินในระหว่างสัญญาเช่า เป็นภาระของผู้เช่า เว้นแต่เป็นความผิด/ความบกพร่องของผู้ให้เช่า

365 WT. ค่าบริการโทรศัพท์ตาม ป.125/2545
กรณีกรณีบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลหรือนิติบุคคลอื่นทำสัญญาใช้บริการโทรศัพท์กับผู้ให้บริการโทรศัพท์ และได้จ่ายค่าบริการดังต่อไปนี้ ให้แก่ผู้ให้บริการโทรศัพท์ ให้คำนวณหัก WT. ในอัตรา 5% ของเงินได้ (รายได้ดังกล่าวต้องเสีย VAT) ค่าธรรมเนียมการขอเลขหมายโทรศัพท์ ค่าลงทะเบียนการใช้บริการโทรศัพท์ ค่าบริการเลขหมายโทรศัพท์ ค่าประกันเลขหมายโทรศัพท์ หรือค่าบริการที่มีลักษณะทำนองเดียวกัน ผู้ให้บริการโทรศัพท์ไม่ต้องนำค่าประกันเลขหมายโทรศัพท์ไปรวมคำนวณเป็นรายได้เพื่อเสียภาษีเงินได้นิติบุคคล และ ผู้จ่ายค่าประกันเลขหมายโทรศัพท์ไม่มีหน้าที่ต้องหักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่าย

366 WT. ค่าบริการโทรศัพท์ตาม ป.125/2545
กรณีกรณีบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลหรือนิติบุคคลอื่นทำสัญญาใช้บริการโทรศัพท์กับผู้ให้บริการโทรศัพท์ และได้จ่ายค่าบริการการใช้โทรศัพท์ หรือค่าบริการที่มีลักษณะทำนองเดียวกัน ให้แก่ผู้ให้บริการโทรศัพท์ ให้คำนวณหัก WT. ในอัตรา 3% ของเงินได้ รายได้ดังกล่าวต้องเสีย VAT สำหรับค่าประกันเลขหมายโทรศัพท์ ผู้ให้บริการโทรศัพท์ไม่ต้องนำค่าประกันเลขหมายโทรศัพท์ไปรวมคำนวณเป็นรายได้เพื่อเสียภาษีเงินได้นิติบุคคล และ ผู้จ่ายค่าประกันเลขหมายโทรศัพท์ไม่มีหน้าที่ต้องหักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่าย

367 WT. ค่าโทรศัพท์ (1) 1 3 VAT 2 VAT บมจ.ทศท. คอร์ปอเรชั่น บริษัท A
เจ้าของอาคาร ผู้ให้เช่า ค่าโทรศัพท์ WT.3% บริษัท B ผู้เช่าอาคาร ใบแจ้งหนี้ Non WT. VAT 2 ค่าหมายเลข WT.5% ค่าโทรศัพท์ WT. 3% VAT

368 WT. ค่าโทรศัพท์ (2) 3 2 ค่าหมายเลข WT.5% ค่าโทรศัพท์ WT.3%
ใบแจ้งหนี้ของ บมจ. ทศท. Non WT. บริษัท A เจ้าของอาคาร ผู้ให้เช่า บมจ.ทศท. คอร์ปอเรชั่น บริษัท B ผู้เช่าอาคาร 1 ใบแจ้งหนี้ Non WT.

369 ตามคำสั่งกรมสรรพากรที่ ป.125/2546
WT. ค่าโทรศัพท์ (3) บริษัท A จำกัด ใบแจ้งหนี้ Non WT. บมจ.ทศท. คอร์ปอเรชั่น ค่าหมายเลข WT.5% ค่าโทรศัพท์ WT.3% ธนาคาร พาณิชย์ ควรตกลงให้บมจ.ทศท.คอร์ปอเรชั่น เป็นตัวแทนหัก WT. และนำส่ง ตลอดจนออกหนังสือรับรองฯ แทน ตามคำสั่งกรมสรรพากรที่ ป.125/2546

370 สัญญาเช่าต้องได้รับความ ยินยอมจาก A. ผู้ให้เช่าเดิม B. Co. ltd.
Case 1 การให้เช่าช่วง สัญญาเช่าต้องได้รับความ ยินยอมจาก A. ผู้ให้เช่าเดิม B. Co. ltd. ผู้เช่า ผู้ให้เช่าช่วง Co. ltd. ผู้ให้เช่าเดิม C. Co. ltd. ผู้เช่าช่วง X Case 2 การโอนสิทธิการเช่า B. Co. ltd. ผู้เช่าเดิม Co. ltd. ผู้ให้เช่า VAT? W.T.? โอนสิทธิการเช่า C. Co. ltd. ผู้เช่าใหม่

371 ผู้ให้เช่า ผู้เช่าที่ดิน ผู้ให้เช่า ผู้เช่าที่ดิน
B ใช้ภาษีซื้อจากการก่อสร้าง อาคารไม่ได้ ป.90/2542 - WT สำหรับค่าอาคารที่โอน? Co. ltd. ผู้ให้เช่า B. Co. ltd. ผู้เช่าที่ดิน X B, T, O = สัญญาต่างตอบแทนยิ่งกว่า สัญญาเช่าธรรมดา (แนวคำพิพากษาฎีกา) SBT? ตั้งแต่ 1 เม.ย เป็นต้นมา ไม่ต้องเสีย SBT เพราะไม่มีการจดทะเบียนสิทธิหรือนิติกรรม Co. ltd. ผู้ให้เช่า B. Co. ltd. ผู้เช่าที่ดิน X B, O, T B, O. at least 3 yrs., T

372 นาย ก. Co., ltd. ผู้พัฒนา เงินกินเปล่า VAT, WT.3% สัญญาเช่า ผู้เช่าอาคาร ดูคำสั่งกรมสรรพากรที่ ป.90/2542 ประกอบ

373 WT.: มาตรา 40(6) เงินได้จากวิชาชีพอิสระ (Professional fee)
ประเทศไทย ต่างประเทศ Mr. X บริษัท A. จำกัด 1. WT. มาตรา 50(3) 15% ภ.ง.ด.3 นาย ก. 2. WT. มาตรา 3 เตรส 3% ภ.ง.ด.3 4. WT. มาตรา 3 เตรส 3% ภ.ง.ด.53 3. WT. มาตรา 70 15% ภ.ง.ด.54 ดู DTA บริษัท C. จำกัด บริษัท B. จำกัด มูลนิธิ/ สมาคม 10%

374 WT.: มาตรา 40(7)(8) เงินได้ค่าบริการ
ก่อน 16 กรกฎาคม 2544 มาตรา 40(7)(8) ค่าจ้างทำของ (PIT,CIT) 3%, 5% มาตรา 40(8) ค่าโฆษณา (PIT,CIT) 2% มาตรา 40(8) ค่าแสดงฯ (PIT) 5%, อัตราก้าวหน้า ตั้งแต่ 16 กรกฎาคม 2544 (เพิ่มรายการต่อไปนี้) มาตรา 40(8) ค่าบริการอื่น (PIT,CIT) 3%, มาตรา 40(8) ค่าขนส่ง (PIT,CIT) 1%, (15 ก.ย. 2544) มาตรา 40(8) ค่าเบี้ยประกันวินาศภัย (CIT) 1%

375 การจ้างทำของ สาระสำคัญของสัญญาจ้างทำของ อยู่ที่ผลสำเร็จของงาน
ดังนั้น ค่าวัสดุ อุปกรณ์ที่ใช้ในการรับจ้างทำของ ย่อมถือเป็นส่วนหนึ่งของสัญญาจ้างทำของนั้น ที่อยู่ในบังคับต้องถูกหักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่าย และปิดอากรแสตมป์ (ถ้ามี) โดยหักภาษี ณ ที่จ่ายจากฐานที่ไม่รวมภาษีมูลค่าเพิ่ม

376 จ่ายค่าจ้างทำของ A. Co., ltd. B. Co., ltd มาตรา 40(7)(8) ผู้ว่าจ้าง
ผู้รับจ้าง ภ.ง.ด.3 ภ.ง.ด.53 หัก WT.3% กรณี รายการ การหัก WT. 1. B. เรียกเก็บค่าจ้างทำของ โดยไม่แยกราย การค่าจ้างและค่าวัสดุ จำนวน 5,000 บาท A. คำนวณหัก WT. จากยอดค่าจ้างรวม 5,000 บาท 2. B. เรียกเก็บค่าจ้างทำของ โดยแยกรายการค่าจ้างจำนวน 1,000 บาท และค่าวัสดุจำนวน 4,000 บาท รวม 5,000 บาท A. คำนวณหัก WT. จากยอดค่าจ้างรวม 5,000 บาท เพราะค่าวัสดุเป็นส่วนหนึ่งของค่าจ้างทำของ ที่มุ่งผลสำเร็จของงาน บริษัท B.จำกัด ค่าจ้างทำของ 5,000 ฿ บริษัท B.จำกัด ค่าของ 4,000 ฿ ค่าจ้างฯ 1,000 ฿

377 ภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่ายสำหรับค่าจ้างทำของ
กรณี รายการ การหัก WT. 3. B. เรียกเก็บค่าจ้างทำของ โดยแยกรายการและบิล ค่าจ้างจำนวน 1,000 บาท และค่าวัสดุจำนวน 4,000 บาท รวม 5,000 บาท A. คำนวณหัก WT. จากยอดค่าจ้างรวม 5,000 บาท เพราะค่าวัสดุเป็นส่วนหนึ่งของค่าจ้างทำของที่มุ่งผล 4. B. เรียกเก็บค่าจ้างทำของ รวม 5,000 บาท โดยแยกรายการและบิล ค่าจ้างจำนวน 1,000 บาท เป็นบิลของบริษัท B. จำกัด และค่าวัสดุจำนวน 4,000 บาท เป็นบิลของบริษัท C. จำกัด A. คำนวณหัก WT. จากยอดค่าจ้างรวม 5,000 บาท เพราะค่าวัสดุเป็นส่วนหนึ่งของค่าจ้างทำของ บริษัท B.จำกัด ค่าจ้าง 1,000 ฿ ค่าวัสดุ 4,000 ฿ บริษัท B.จำกัด ค่าจ้าง 1,000 ฿ บริษัท C.จำกัด ค่าวัสดุ 4,000 ฿

378 ภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่ายสำหรับค่าจ้างทำของ
กรณี รายการ การหัก WT. 5. B. เรียกเก็บค่าจ้างทำของ จำนวน1,000 บาท โดยกำหนดให้ A.จัด ซื้อวัสดุเอง A. คำนวณหัก WT. จากค่าจ้างจำนวน 1,000 บาท เพราะเป็นค่าจ้างทำของ โดยไม่รวมค่าวัสดุ A. จัดซื้อวัสดุจากบริษัท C.จำกัด จำนวน 4,000 บาท และเป็นผู้จ่ายค่าวัสดุให้แก่บริษัท C. จำกัด โดยตรง A. ไม่ต้องหัก WT. จากค่าวัสดุที่จ่ายให้แก่บริษัท C. จำกัด เพราะเป็นค่าซื้อสินค้า บริษัท B.จำกัด ค่าจ้าง 1,000 ฿ บริษัท C.จำกัด ค่าวัสดุ 4,000 ฿

379 WT.: มาตรา 40(7)(8) เงินได้ค่าบริการ
การจ้างทำของที่ถือเป็นบริการโดยแท้ ให้ผู้จ่ายเงินได้คำนวณหักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่ายจากทั้งค่าจ้างและค่าสัมภาระ เช่น ค่าจ้างเหมาก่อสร้าง ค่าวางเสาเข็มเจาะ ค่าจ้างซ่อม ค่าจ้างพิมพ์เอกสาร ค่าจ้างทำป้ายโฆษณา การขายสินค้าพร้อมให้บริการโดยไม่แยกค่าบริการ ไม่ต้องหัก WT. เช่น ขายเครื่องจักรพร้อมติดตั้ง ขายลิฟต์พร้อมติดตั้ง ขายเสาเข็มพร้อมตอก ขายสีพร้อมทา มุ่งผลสำเร็จของงาน มุ่งโอนกรรมสิทธิ์ในสินค้า

380 การสั่งซื้อสินค้าที่ผู้ขายผลิตขายอยู่เป็นปกติ
ผู้ขายมีสินค้าวางขายทั่วไป ไม่กำหนดเฉพาะเจาะจงที่ผู้ซื้อรายใดรายหนึ่ง อาทิ เสื้อผ้า บรรจุภัณฑ์ ผ้าม่าน สินค้าสำเร็จรูปอื่น ถือเป็นการมุ่งหมายที่จะโอนกรรมสิทธิ์ในสินค้า ไม่ต้องหักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่าย กรณีไม่แยกค่าบริการ ไม่ต้องหักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่าย กรณีแยกค่าบริการ ไห้ต้องหักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่าย เฉพาะค่า บริการเท่านั้น

381 WT. : มาตรา 40(8) ค่าโฆษณา A. Co., B. Co., Ltd. Ltd. ค่าโฆษณา
ไม่ว่าจะมี Media ของตนเอง หรือไม่ก็ตาม ค่า Production WT. 3% ค่าจ้างทำของ

382 WT. : มาตรา 40(8) ค่าโฆษณา A. Co., Ltd. B. Co. Agency C. Co. Media
Advanced VAT Non WT. ค่าโฆษณา VAT WT. 2% ค่า Agency Fee WT. 2%, VAT ป. 6/2528 ค่า Production WT. 3%, VAT ค่าโฆษณา ค่า Agency Fee Total 100% 17.65% 117.65% 85% 15%

383 WT. : มาตรา 40(8) ค่าโฆษณาร่วมกัน
A1 Co., ltd. ค่าโฆษณา 200,000 WT. 2% VAT 14,000 A. Co., ltd. B. Co., ltd. A2 Co., ltd. A3 Co., ltd. (1) A. Co. ltd. able to use Input Tax? (2) A. Co. ltd. can charge VAT from A1 A2 A3? (3) A1 A2 A3 can deduct WT. from A.?

384 WT. : มาตรา 40 (8) ค่าบริการอื่นๆ
ค่าบริการคลังสินค้า ค่าบริการที่จอดรถ ค่าบริการให้ใช้สถานที่เพื่อการวางทรัพย์สิน/สินค้า ค่าบริการหัวชั้น ค่าบริการท่าเทียบเรือ ค่าธรรมเนียม/บริการเรียกเก็บเงินตามบัตรเครดิต ค่าธรรมเนียม/บริการค้ำประกัน ค่าบริการเรียกเก็บเงินชดเชยส่วนลดจากเจ้าของสินค้า ค่าบำรุงสมาชิก และค่าบริการการใช้สโมสรกีฬา สันทนาการ

385 WT. : มาตรา 40 (8) ค่าบริการอื่นๆ
ค่าบริการโรงแรม รวมทั้ง Guest House, Resort, Service Apartment, Condotel, Inn, Bungalow ค่าบริการภัตตาคาร ค่าเบี้ยประกันชีวิต ค่าบริการขนส่งที่เป็นค่าโดยสารจากการรับจ้างขนส่งสาธารณะ เช่น แท็กซี่ ค่ารถ บขส. ค่าโดยสารสายการบิน

386 ค่าบริการอื่นๆ ตาม ป.112/2545 ค่าบริการที่ไม่เข้าลักษณะเป็นสัญญาระยะยาว หมายถึง ค่าบริการที่คู่สัญญาสามารถคำนวณค่าบริการที่ได้รับทั้งสิ้นเป็นจำนวนที่แน่นอนได้ในการทำสัญญารายหนึ่งๆ หรือครั้งหนึ่งๆ กรณีบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล หรือนิติบุคคลอื่น จ่ายเงินได้พึงประเมินตามมาตรา 40(8) เฉพาะที่เป็นค่าบริการให้กับธนาคารพาณิชย์ และบริษัทเงินทุน หลักทรัพย์ และเครดิตฟองซิเอร์ โดยเป็นการจ่ายค่าบริการที่ไม่เข้าลักษณะเป็นสัญญาระยะยาว หากค่าบริการที่ให้บริการในแต่ละครั้ง (Transaction) มีจำนวนไม่ถึงหนึ่งพันบาท ผู้จ่ายเงินไม่มีหน้าที่ต้องหักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่าย แต่หากค่าบริการในแต่ละครั้ง มีจำนวนตั้งแต่หนึ่งพันบาทขึ้นไป ผู้จ่ายเงินมีหน้าที่ต้องหักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่าย ในอัตราร้อยละ 3.0 ของค่าบริการ

387 ค่าบริการอื่นๆ ตาม ป.112/2545 กรณีค่าบริการที่ไม่เข้าลักษณะเป็นสัญญาระยะยาว ในแต่ละครั้งมีจำนวนไม่ถึงหนึ่งพันบาท หากการจ่ายเงินหลายๆ สัญญาดังกล่าว หรือหลายๆ รายการที่ให้บริการ (Transaction) รวมกันเป็นจำนวนตั้งแต่หนึ่งพันบาทขึ้นไป ผู้จ่ายเงินมีหน้าที่ต้องหักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่ายในอัตราร้อยละ 3.0 ของค่าบริการทั้งหมด กรณีค่าบริการที่ไม่เข้าลักษณะเป็นสัญญาระยะยาว มีการตกลงจ่ายค่าบริการตั้งแต่หนึ่งพันบาทขึ้นไป แม้จะแบ่งจ่ายหลายครั้ง ครั้งละไม่ถึงหนึ่งพันบาท บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล หรือนิติบุคคลอื่น ซึ่งเป็นผู้จ่ายเงินมีหน้าที่ต้องหักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่าย ในอัตราร้อยละ 3.0 ของค่าบริการ

388 ค่าบริการที่ไม่เข้าลักษณะเป็นสัญญาระยะยาว
ที่อยู่ในข่ายต้องหัก WT. 3% ค่าธรรมเนียมดราฟต์ ค่าธรรมเนียมในการโอนเงินทางโทรเลข ทางไปรษณีย์ และทางโทรศัพท์ หรือทางคอมพิวเตอร์ ค่าธรรมเนียมในการออกตั๋วเงิน รับรองตั๋วเงิน ค้ำประกันตั๋วเงิน ค่าธรรมเนียมในการออกตั๋วเงินภายในประเทศ และตั๋วเงินในต่างประเทศ ค่าธรรมเนียมค้ำประกันเลตเตอร์ออฟเครดิต ค่าธรรมเนียมในการคืนเช็ค ค่าธรรมเนียมในการตรวจสภาพหลักทรัพย์ ค่าธรรมเนียมในการโอนเงินต่างประเทศเข้าบัญชีผู้รับโอน ค่าธรรมเนียมเคาน์เตอร์เช็ค

389 ค่าบริการที่ไม่เข้าลักษณะเป็นสัญญาระยะยาว
ที่อยู่ในข่ายต้องหัก WT. 3% (ต่อ) ค่าธรรมเนียมในการเรียกเก็บเงินตามเช็ค ค่าธรรมเนียมเช็คของขวัญ ค่าธรรมเนียมในการออกหนังสือค้ำประกันลูกค้า ค่าให้บริการใช้โทรศัพท์ ค่าใช้คู่สายแต่ละครั้ง ค่าใช้จ่ายยกเลิกตั๋วเงิน ค่าธรรมเนียมจากการที่ลูกค้านำตั๋วแลกเงินจากต่างประเทศมาแลกกับธนาคาร ค่าบริการที่ปรึกษาทางธุรกิจ ค่าบริการจำหน่ายหลักทรัพย์

390 ค่าบริการอื่นๆ ตาม ป.112/2545 ค่าบริการที่เข้าลักษณะเป็นสัญญาระยะยาว
หมายถึงค่าบริการที่คู่สัญญาไม่สามารถคำนวณค่าบริการที่ได้รับทั้งสิ้นเป็นจำนวนที่แน่นอนได้ในการทำสัญญารายหนึ่ง ๆ หรือครั้งหนึ่ง ๆ กรณีบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล หรือนิติบุคคลอื่น จ่ายเงินได้พึงประเมินตามมาตรา 40(8) เฉพาะที่เป็นค่าบริการให้กับธนาคารพาณิชย์ และบริษัทเงินทุน หลักทรัพย์ และเครดิต ฟองซิเอร์ โดยเป็นการจ่ายค่าบริการที่เข้าลักษณะเป็นสัญญาระยะยาว หากการจ่ายค่าบริการไม่ถึงหนึ่งพันบาท ผู้จ่ายเงินไม่มีหน้าที่ต้องหักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่าย แต่หากการจ่ายค่าบริการในครั้งต่อไปซึ่งเมื่อนำไปรวมกับค่าบริการครั้งที่ผ่านมาที่มีการจ่ายไปแล้วเป็นจำนวนตั้งแต่หนึ่งพันบาทขึ้นไป ผู้จ่ายเงินมีหน้าที่ต้องหักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่าย ในอัตราร้อยละ 3.0 ของค่าบริการ โดยจะต้องนำเงินค่าบริการที่จ่ายในครั้งก่อน ๆ มารวมคำนวณเพื่อหักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่ายด้วย

391 ค่าบริการที่เข้าลักษณะเป็นสัญญาระยะยาว
ที่อยู่ในข่ายต้องหัก WT. 3% ค่าธรรมเนียมในการใช้บัตรเอทีเอ็ม ค่าธรรมเนียมในการโอนเงินระหว่างบัญชีออมทรัพย์เข้าบัญชีกระแสรายวัน ค่าธรรมเนียมรักษาบัญชีกระแสรายวัน ค่าธรรมเนียมบริการชำระค่าโทรศัพท์ ค่าคู่สายที่ใช้ในการออนไลน์บัตรเอทีเอ็มระหว่างจังหวัด ค่าคู่สายที่ใช้ในการออนไลน์บัตรเอทีเอ็มที่เรียกเก็บจากธนาคารอื่น ค่าธรรมเนียมรักษาสภาพบัญชี ค่าธรรมเนียมการใช้บัตรเครดิต ค่าธรรมเนียมในการโอนเงินเดือนของพนักงานเข้าบัญชีธนาคารของพนักงาน ค่าธรรมเนียมการให้บริการโอนเงินรายย่อยทางอิเล็กทรอนิกส์ (Media Clearing) ค่าธรรมเนียมจากการให้บริการผ่านระบบ BAHTNET

392 ค่าบริการที่เข้าลักษณะเป็นสัญญาระยะยาว
ค่าบริการที่เข้าลักษณะเป็นสัญญาระยะยาว ที่อยู่ในข่ายต้องหัก WT. 3% (ต่อ) ค่าธรรมเนียมในการใช้บัตรเอทีเอ็ม ค่าธรรมเนียมในการโอนเงินระหว่างบัญชีออมทรัพย์เข้าบัญชีกระแสรายวัน ค่าธรรมเนียมรักษาบัญชีกระแสรายวัน ค่าธรรมเนียมบริการชำระค่าโทรศัพท์ ค่าคู่สายที่ใช้ในการออนไลน์บัตรเอทีเอ็มระหว่างจังหวัด ค่าคู่สายที่ใช้ในการออนไลน์บัตรเอทีเอ็มที่เรียกเก็บจากธนาคารอื่น ค่าธรรมเนียมรักษาสภาพบัญชี ค่าธรรมเนียมการใช้บัตรเครดิต ค่าธรรมเนียมในการโอนเงินเดือนของพนักงานเข้าบัญชีธนาคารของพนักงาน

393 WT. สำหรับรางวัล ส่วนลดจาก Sale Promotion
ผู้ขายสินค้า ผู้ซื้อสินค้าไปขายต่อ WT. 3% ผู้ขายสินค้า ผู้ซื้อสินค้าไปผลิต ไม่หัก WT. ผู้ขายสินค้า ผู้ซื้อสินค้าไป ให้บริการ ไม่หัก WT. ผู้ขายสินค้า ผู้ซื้อสินค้าไปใช้ หรือบริโภค ไม่หัก WT.

394 WT.: รางวัล ส่วนลดจาก Sale Promotion (ต่อ)
ต้องเป็นรางวัล ส่วนลด หรือประโยชน์อื่นใดที่ให้เพื่อลดต้นทุนให้หรือสร้าง/เพิ่มยอดขายให้ผู้ซื้อสินค้า เช่น ส่วนลด รางวัล หรือของแถมตามเป้า ไม่ว่าจะให้เป็นเงินสด สิ่งของ หรือบริการ หรือประโยชน์อื่นใด ให้แก่ผู้ซื้อสินค้าที่มีวัตถุประสงค์ที่จะนำไปขายต่อ หรือผู้รับบริการที่มีวัตถุประสงค์ที่จะนำบริการนั้นไปให้บริการต่อ แล้วแต่กรณี โดยไม่มีการเปลี่ยนสภาพของสินค้าหรือบริการ กรณีที่ไม่อยู่ในข่ายต้องหัก WT. ส่วนลดการค้า หรือของแถมที่ลดหรือแถมให้ทันทีในขณะที่ขายสินค้า ส่วนลดเงินสดตามเงื่อนไขการชำระค่าสินค้า เช่น 2/30, n/60

395 การให้สินค้าเพื่อการส่งเสริมการจำหน่าย
ป.118/2545 การให้สินค้าเพื่อการส่งเสริมการจำหน่าย Supplier: Manufacture Importer Wholesaler Reward, Discount, Other Benefit for Sale Promotion เพื่อลดต้นทุนให้หรือ สร้าง/เพิ่มยอดขายให้ลูกค้า Dealer /Distributor: Wholesaler Retailer Exporter WT. 3% ค่าธรรมเนียมแรกเข้า เงินช่วยเหลือค่าใช้จ่าย เงินสนับสนุน ส่วนลดพิเศษ ส่วนลดตามเป้า อื่นๆ goods สินค้า -รับรู้เป็นรายได้ CIT -Non VAT -ถูกหัก ณ ที่จ่าย 3% N Non VAT Y VAT เรียกเก็บจาก ผู้รับรางวัล กรณีผู้ซื้อเป็น ผู้ผลิต ผู้ให้บริการ ผู้ใช้ = Non WT N Supporting Documents นำส่ง VAT Y ใบกำกับภาษี

396 VAT ที่มิได้เป็นเรียกเก็บ ถือเป็นรายจ่ายต้องห้าม มาตรา 65 ตรี (6 ทวิ)
Dealer: Wholesaler Retailer Exporter แจกสินค้าเพื่อการ ส่งเสริมการขาย A. Co., ltd. Y เรียกเก็บ VAT Tax Inv. N ออกใบกำกับภาษี VAT ที่มิได้เป็นเรียกเก็บ ถือเป็นรายจ่ายต้องห้าม มาตรา 65 ตรี (6 ทวิ) WT. บนฐานราคาสินค้าซึ่งรวม VAT ที่มิได้เป็นเรียกเก็บนั้นด้วย WT ที่ออกให้ หรือมิได้เรียกเก็บถือเป็นรายจ่ายได้ = ค่าสินค้า x 3/97

397 WT.: รางวัล ส่วนลดจาก Sale Promotion (ต่อ)
ข้อ 1(1) ป.118/2545 Discount Coupon Agreement ถือเป็นส่วนลดการค้า 1 Discount Coupon 10 บาท ติดไว้กับสินค้า A. Co. Supplier B. Co. Dealer จ่ายค่าส่วนลดตาม Discount Coupon 10 บาท WT. 3% Non VAT 3 2 ซื้อสินค้าราคา 100 บาท จ่ายเงินสดเพียง 90 บาท VAT คิดบนฐาน 90 บาท นาย ก. ผู้บริโภค

398 WT.: รางวัล ส่วนลดจาก Sale Promotion (ต่อ)
จ่ายค่าบริการ จัดการ WT.3%, VAT 3 A. Co., ltd. Supplier B. Co., ltd Dealer จ่ายส่วนลดตาม Coupon 10 บาท Non WT., Non VAT ซื้อสินค้าราคา บาท จ่ายเงินสดเพียง บาท VAT คิดจากฐาน บาท Discount Coupon 10 บาท 2 1 นาย ก. ผู้บริโภค มีค่าใช้แทนเงินสด

399 Supporting ข้อ 1(2) – (7) . ป.118/45
Supporting/ Subsidize: Right, Entrance Fee Bank Charge Other Subsidize - Tel. Transportation Exp./ Allowances Constructions Advertisement Knowledge Expenses B. Co., ltd. Dealer A. Co., ltd. Supplier จ่ายเงินอุดหนุน เงินช่วยเหลือ WT. 3% Non VAT

400 Subsidize Supporting 10,000 WT. 3% 300 No Yes ออกให้ WT Tax Inv.
- ม.65 ตรี (6) - ม.65 ตรี (13) - ม.65 ตรี (3) WT = 1,000 x 3 97 = WT. Certificate Pay WT. 3 (หัก ณ ที่จ่าย) Net 97 Net Paid WT. ออกให้ Net Paid 1, WT. ออกให้ ,000 x 3/ 97

401 WT.: รางวัล ส่วนลดจาก Sale Promotion (ต่อ)
จ่ายค่าสิทธิประโยชน์ และ ค่าธรรมเนียมแรกเข้า (Entrance Fee) WT. 3%, Non VAT A. Co., ltd. Supplier B. Co., ltd. Convenience Store VAT กรณี ให้เป็นสินค้า บริษัท A จ่ายค่าสิทธิประโยชน์ในการจำหน่ายสินค้า และ ค่าธรรมเนียมแรกเข้า ให้แก่ บริษัท B โดยบริษัท B ไม่สามารถนำสินค้าจากแหล่งอื่นมาขายได้

402 WT.: รางวัล ส่วนลดจาก Sale Promotion (ต่อ)
ค่าธรรมเนียมในการรับรอง ตั๋วสัญญาใช้เงิน WT. 3% Non VAT A. Co., ltd. Supplier B. Co., ltd. Dealer บริษัท A. กำหนดให้บริษัท B. ผู้แทนจำหน่าย ชำระค่าสินค้าด้วยตั๋วสัญญาใช้เงิน โดยต้องเป็นตั๋วสัญญาใช้เงินที่ธนาคารรับรอง ซึ่งบริษัท A. ตกลงชำระค่าธรรมเนียมธนาคารให้แก่ บริษัท B

403 WT.: รางวัล ส่วนลดจาก Sale Promotion (ต่อ)
เงินช่วยเหลือค่าขนส่งหรือส่วนลด ค่าเดินทางและค่าที่พัก WT. 3% Non VAT A. Co., ltd. Supplier B. Co., ltd. Dealer บริษัท A. จ่ายเงินช่วยเหลือค่าขนส่ง หรือลดราคาสินค้าให้แก่บริษัท B. เนื่องจากบริษัท B. ขนส่งสินค้าเอง บริษัท A. จ่ายเงินช่วยเหลือค่าเดินทางและค่าที่พักให้แก่ ให้บริษัท B. เพื่อเข้าร่วมสัมมนาเพิ่มความรู้ความเข้าใจในสินค้าของบริษัท A. หรือ สัมมนาให้ความรู้ในการประกอบธุรกิจ

404 A. Co., ltd. Supplier ขายสินค้า ให้บริการ B. Co., ltd. Dealer VAT
ราคารวมค่าขนส่ง Y VAT Non WT. N ให้ส่วนลดค่าขนส่ง N VAT Non WT. Y ส่วนลดค่าขนส่ง Non VAT, WT.3%

405 WT.: รางวัล ส่วนลดจาก Sale Promotion (ต่อ)
ค่าส่วนลดภายหลัง (Rebate) WT. 3% Non VAT A. Co., ltd. Supplier B. Co., ltd. Dealer บริษัท A. ตกลงจ่ายส่วนลดภายหลัง (Rebate) เนื่องจากการซื้อสินค้าตามเป้า ในลักษณะเป็นใบลดหนี้ (Credit Note) ให้บริษัท B. เพื่อนำไปชำระหนี้ค่าสินค้าในคราวต่อไป

406 Rebate Co., ltd. Supplier B. Co., ltd. Dealer + Target Promotion Cash
Material/ Goods C/N - ลดยอดหนี้ปัจจุบัน - ลดราคา ส/ค ในอนาคต 4 Other services C/N ,000 WT .3% ,000 Net C/N ,000 (Trade Discount) WT. Cert. +

407 WT.: รางวัล ส่วนลดจาก Sale Promotion (ต่อ)
A. Co., ltd. Supplier B. Co., ltd. Dealer C. Co., ltd. Customer ขายสินค้า ให้บริการ ขายสินค้า ให้บริการ รางวัล ส่วนลดหรือประโยชน์ใดๆ จากการส่งเสริมการขาย Non WT., Non VAT

408 3. Permanent “Trade Name”
GIFT Yes Calendar, Diary Daily Reward Input Tax Non VAT Base Non WT. No 1. Festival 2. Traditional Goods 3. Permanent “Trade Name” 4. Reasonable Price Yes No Yes Reward for Sale Promotion WT. 3% ที่จ่ายให้แก่ Dealer ตามป.118/2545 VAT No Non WT. เรียกเก็บ

409 Taxable Discount Trade Discount Cash Discount Special Discount
- Target Promotion - Special Discount - Other ลดให้ในขณะขายหรือให้บริการ กรณีออก Full Form Tax Inv.ต้องแสดงให้ชัดแจ้งใน Tax Inv. - ส่งเสริมให้ชำระหนี้ตามกำหนด 2/10 , n/30 Credit Sale /Services ที่ได้ออกใบกำ กับภาษีแล้ว Credit Services ที่ยังมิได้ออกใบกำกับภาษี ผลทางปฏิบัติเหมือนกับ Trade Discount ผลทางปฏิบัติเหมือนกับ Cash Discount Reduce VAT Base ม.79(1) Reduce VAT Base ม.78/1 ดู Trade Discount ดู Cash Discount ไม่กระทบต่อ VAT Base Non WT. For Discount W.T. 3% Non WT. For Discount ถ้า Dealer เป็นผู้รับ

410 Premium พร้อมกับการ Sale Services Y N Y มูลค่าของ Premium เกิน Base N
VAT Finished Non VAT Non WT VAT Non WT. Non WT.

411 Cash Discount Non WT 2/10, n/30 Over 30 days Penalty 2% * ม. 40(4)(ก)
Non VAT (Supply of goods) Non VAT Non WT * จ่ายไปต่างประเทศ WT ม % ภ.ง.ด. 54

412 WT. สำหรับรางวัล ส่วนลดจาก Sale Promotion
ข้อ 7 ของ ป.118/45 การหัก WT. ผู้ให้บริการ ผู้รับบริการเพื่อนำไป ให้บริการต่อ WT. 3% ผู้ให้บริการ ผู้รับบริการไปเพื่อ ใช้ในการผลิต ไม่หัก WT. ผู้ให้บริการ ผู้รับบริการไปเพื่อ ใช้ในกิจการ ไม่หัก WT. ผู้ให้บริการ ผู้บริโภค ไม่หัก WT.

413 การหัก WT. สำหรับค่าขนส่งในราชอาณาจักร
ขนส่งทางบก ขนส่งทางน้ำ ขนส่งทางอากาศ ขนส่งทางท่อ ขนส่งคนโดยสาร ขนส่งสัมภาระ รับจางขนส่ง สาธารณะ รับจางขนส่ง ไม่สาธารณะ Non WT. WT. 1% WT. 1%

414 WT. สำหรับการขนส่งระหว่างประเทศ
รายการ การขนส่งทางอากาศยาน การขนส่งทางเรือเดินทะเล การขนส่งทางอื่น การขนส่งคนโดยสารไม่สาธารณะ บริษัทไทย บริษัทต่างประเทศ – DTA บริษัทต่างประเทศ – Non DTA 1% Non WT.* Non WT. การขนส่งสัมภาระ หมายเหตุ 1. กรณีบริษัทขนส่งต่างประเทศให้หัก WT. เฉพาะการขนส่งขาออกเท่านั้น 2. * กรณีประเทศอังกฤษ และโปแลนด์ต้องคำนวณหัก WT.1% ตามปกติ

415 Transportation Vs Logistic
Description.. Transportation Logistic 1. Service Transport passenger/ things by distance Transport + time & space mgmt. 2. VAT Non VAT (inland) 0% inter-trans-port: air freight / sea freight VAT 3. WT. 1% (esp. inland & out bound) 3% 4. Stamp Duty Non SD 1,000: 1 B

416 Supply of Services (Movable)
Sweepstake: ชิงโชค Supply of Services (Movable) No Benefit A. Co., ltd. B. Co., ltd. Y Charge VAT N No need to issue Tax Invoice. Issue Tax Invoice - WT. on value of goods only - WT. on value of goods & VAT - VAT: Non deductible exp.

417 การขายสินค้าพร้อมให้บริการ
Supply of Goods with Services Separate Service Fee Sale all of amount VAT: delivery Non W.T. N Y Service Fee Goods Value Separate item in same Tax Inv. Separate Tax Inv. Tax Point: together with Sale amount W.T. 3% Tax Point: when received W.T. 3%

418 การขายสินค้าพร้อมให้บริการขนส่ง
Supply of Goods with Transportation Separate Transportation Fee Sale all of amount VAT: delivery Non W.T. N Y Either, self transport or hire the other Public Transportation License N ประกอบกิจการรับจ้างขนส่ง เป็นปกติธุระ? Y Transportation Fee Goods Value Non VAT W.T. 1%

419 การให้บริการพร้อมการขนส่ง
Supply of Services with Transportation Separate Transportation Fee Service all of amount VAT: Received WT. 2%,3%,5% N Y Either, self transport or hire the other Public Transportation License N ประกอบกิจการรับจ้างขนส่ง เป็นปกติธุระ? Y Transportation Fee Services Value Non VAT W.T. 1%

420 การขายสินค้ากับการให้บริการ
รายการ ขายสินค้า ให้บริการ 1. ความมุ่งหมาย มุ่งโอนกรรมสิทธิ์ในสินค้า มุ่งผลสำเร็จของงาน 2. ความรับผิดในการ เสีย VAT เมื่อส่งมอบสินค้า เมื่อรับชำระราคา 3. ภาษีเงินได้หัก ณ ทีจ่าย โดยทั่วไปไม่ต้องหักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่าย หักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่าย 2%, 3% 4. การจัดทำรายงานสินค้าและวัตถุดิบ ต้องจัดทำ ไม่ต้องจัดทำ 5. ปิดอากรแสตมป์ ไม่ต้องปิดอากรแสตมป์ โดยเฉพาะสัญญาจ้างทำของต้องปิด 1,000:1

421 ค่าปรับเนื่องจากผิดสัญญา (Penalty)
ไม่เป็นการขายสินค้าหรือการให้บริการ ดังนั้นไม่ต้องเสีย VAT ค่าปรับดังกล่าวไม่ใช่บริการไม่อยู่ในข่ายที่ต้องหัก WT ค่าปรับดังกล่าว เป็นประโยชน์ใดๆ ที่ได้จากสิทธิเรียกร้องในหนี้ทุกชนิด ถือเป็นเงินได้ตามมาตรา 40(4)(ก) ไม่อยู่ในข่ายที่ต้องหัก WT. สำหรับการจ่ายให้แก่ผู้รับในประเทศไทย แต่ถ้าจ่ายให้ผู้รับที่มิได้ประกอบการในไทยหรือมิได้อยู่ในไทยให้หัก WT. 15%


ดาวน์โหลด ppt สิทธิประโยชน์ทางภาษีสรรพากร

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google