ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
อัตราดอกเบี้ย (Interest Rates)
2
อัตราดอกเบี้ย ความหมายของอัตราดอกเบี้ย การวัดอัตราดอกเบี้ย
ประเภทของอัตราดอกเบี้ย โครงสร้างอัตราดอกเบี้ย ปัจจัยที่เป็นตัวกำหนดอัตราดอกเบี้ย ดร.สิปปภาส พรสุขสว่าง
3
ความหมายของอัตราดอกเบี้ย
ต้นทุนของเงิน (Cost of Money) มูลค่าเวลาของเงิน (Time Value of Money) มูลค่าปัจจุบัน (Present Value) มูลค่าในอนาคต (Future Value) Annuities ดร.สิปปภาส พรสุขสว่าง
4
มูลค่าปัจจุบันและมูลค่าในอนาคต
110 บาท 133 บาท 121 บาท 1 2 3 10% 100 บาท 133 บาท = 100 บาท × ( )3 100 บาท = 133 บาท ( )3 PV0 = FVn (1 + i)n FVn = PV0 × (1 + i)n ดร.สิปปภาส พรสุขสว่าง
5
Annuities Ordinary Annuities Annuities Due PMT 1 2 3 i% 1 2 3 PMT i%
1 2 3 i% Annuities Due 1 2 3 PMT i% ดร.สิปปภาส พรสุขสว่าง
6
Future Value of an Ordinary Annuity
Ordinary Annuities 100 1 2 3 5% 105 110.25 315.25 FVA3 = 100( )1 100( )2 ดร.สิปปภาส พรสุขสว่าง
7
Future Value of an Ordinary Annuity
1 2 3 n PMT FVAn = PMT(1+ i) n-1 + PMT(1+ i) n-2 + PMT(1+ i) n-3 + … + PMT(1+ i) 0 = PMT ∑ (1+ i) n-t t = 1 ดร.สิปปภาส พรสุขสว่าง
8
Future Value of an Annuity Due
Annuities Due 100 1 2 3 5% 105 110.25 115.76 FVA3 (Annuity Due) = 331.01 100( )1 100( )2 100( )3 ดร.สิปปภาส พรสุขสว่าง
9
Future Value of an Annuity Due
PMT(1+ i) n + PMT(1+ i) n-1 + PMT(1+ i) n-2 + … + PMT(1+ i)1 1 2 3 n PMT n - 1 FVAn (Annuity Due) = = PMT ∑ (1+ i) n-t t = 0 n-1 ดร.สิปปภาส พรสุขสว่าง
10
Present Value of an Ordinary Annuity
Ordinary Annuities 100 1 2 3 5% 95.24 90.70 86.38 100/( )1 100/( )2 100/( )3 PVA3 = ดร.สิปปภาส พรสุขสว่าง
11
Present Value of an Ordinary Annuity
1 2 3 n PMT = PMT ∑ t = 1 n 1 (1 + i)t PMT PMT PMT PMT PVAn = (1 + i)3 (1 + i)2 (1 + i)1 (1 + i)n + … ดร.สิปปภาส พรสุขสว่าง
12
Present Value of an Annuity Due
Annuities Due 1 2 3 5% 100 100 100 95.24 100/( )1 90.70 100/( )2 PVA3 (Annuity Due) = ดร.สิปปภาส พรสุขสว่าง
13
Present Value of an Annuity Due
1 2 3 n PMT n - 1 PMT PMT PMT PMT (1 + i)2 (1 + i)1 (1 + i)0 (1 + i)n-1 + … PVAn (Annuity Due) = = PMT ∑ t = 0 n-1 1 (1 + i)t ดร.สิปปภาส พรสุขสว่าง
14
การวัดอัตราดอกเบี้ย ผลตอบแทนเมื่อสิ้นสุดอายุการไถ่ถอน
(Yield to Maturity-YTM) เครื่องมือในตลาดเครดิต 4 ประเภท Simple Loan Fixed-Payment Loan Coupon Bond Discount Bond ดร.สิปปภาส พรสุขสว่าง
15
1. Simple Loan 110 บาท 1 100 บาท 110 - 100 100 = 110 (1 + i) 100 i =
1 100 บาท 100 = 110 (1 + i) 100 i = = = 10 % ดร.สิปปภาส พรสุขสว่าง
16
2. Fixed-Payment Loan 1 2 3 25 1000 บาท 126 บาท 1000 = 126 (1 + i)2
1 2 3 25 1000 บาท 126 บาท 1000 = 126 (1 + i)2 (1 + i)3 (1 + i)25 (1 + i) + … LV = FP (1 + i)2 (1 + i)3 (1 + i)n (1 + i) + … LV = FP ∑ n t = 1 (1 + i)t 1 ดร.สิปปภาส พรสุขสว่าง
17
3. Coupon Bond 1 2 3 n P 100 บาท 1000 บาท (1 + i)10 1000 P = 100
1 2 3 n P 100 บาท 1000 บาท (1 + i)10 1000 P = 100 (1 + i)2 (1 + i)3 (1 + i) + … (1 + i)n F P = C (1 + i)2 (1 + i)3 (1 + i) + … (1 + i)t (1 + i)n P = C ∑ n t = 1 1 + F ดร.สิปปภาส พรสุขสว่าง
18
4. Discount Bond 1000 บาท 1 900 บาท 1000 900 = (1 + i) 1000 - 900 i =
1 900 บาท 1000 900 = (1 + i) i = 900 = = % ดร.สิปปภาส พรสุขสว่าง
19
การวัดอัตราดอกเบี้ยในแบบอื่น ๆ
Current Yield ( ic ) C P ic = Yield on a Discount Basis ( idb ) F - P F idb = × 360 # วันสิ้นสุดอายุไถ่ถอน ดร.สิปปภาส พรสุขสว่าง
20
ประเภทของอัตราดอกเบี้ย (Classifications of Interest Rates)
Nominal Annual (APR) Rate ( iNom ) Periodic Rate ( iPER ) Effective Annual Rate (EAR or EFF) iNom m iPER = iNom = iPER × m EAR = ( iNom ) m - 1.0 ดร.สิปปภาส พรสุขสว่าง
21
อัตราดอกเบี้ยประเภทอื่น ๆ
Real and Nominal Interest Rates Interest Rate and Returns C + Pt Pt Pt RET = RET = ic + g C ic = Pt Pt = g ir = 5% - 3% = 2% 8% % = - 2% ir i ¶e = i ir + ¶e Pt Pt RET = + Pt C ดร.สิปปภาส พรสุขสว่าง
22
โครงสร้างความเสี่ยงและโครงสร้างอายุการไถ่ถอนของอัตราดอกเบี้ย
(The Risk and Term Structure of Interest Rates) ดร.สิปปภาส พรสุขสว่าง
23
โครงสร้างความเสี่ยงของอัตราดอกเบี้ย (Risk Structure of Interest Rates)
ความเสี่ยงจาการชำระหนี้คืน (Default risk)—เกิดขึ้นเมื่อผู้ออกหุ้นกู้ไม่สามารถหรือไม่ยินดีที่จะชำระดอกเบี้ยหรือเงินต้นคืนให้แก่ผู้ลงทุน พันธบัตรรัฐบาลมีความเสี่ยงจาการชำระหนี้คืนที่น้อยมาก ส่วนชดเชยความเสี่ยง (Risk premium)—ส่วนต่างระหว่างอัตราดอกเบี้ยของหุ้นกู้ที่มีความเสี่ยงจาการชำระหนี้คืน และอัตราดอกเบี้ยของพันธบัตรรัฐบาล สภาพคล่อง (Liquidity)—ความง่ายที่สินทรัพย์สามารถเปลี่ยนเป็นเงินสด การพิจารณาทางด้านภาษีรายได้ (Income tax considerations) ดร.สิปปภาส พรสุขสว่าง
24
ดร.สิปปภาส พรสุขสว่าง
25
ดร.สิปปภาส พรสุขสว่าง
26
โครงสร้างอายุการไถ่ถอนของอัตราดอกเบี้ย (Term Structure of Interest Rates)
หุ้นกู้ที่มีลักษณะความเสี่ยง สภาพคล่อง และภาษีที่เหมือนกัน อาจจะมีอัตราดอกเบี้ยแตกต่างกัน เนื่องจากระยะเวลาการไถ่ถอนคืนที่เหลือนั้นแตกต่างกัน เส้นผลตอบแทน (Yield curve)—แสดงผลตอบของหุ้นกู้ที่มีระยะเวลาการไถ่ถอนคืนที่แตกต่างกัน แต่มีความเสี่ยง สภาพคล่อง และการพิจารณาทางด้านภาษีที่เหมือนกัน ความชันเป็นบวก แสดงว่า อัตราดอกเบี้ยระยะยาวสูงกว่าอัตราดอกเบี้ยระยะสั้น แบนราบ แสดงว่า อัตราดอกเบี้ยระยะสั้นและอัตราดอกเบี้ยระยะยาวเท่ากัน ผกผัน อัตราดอกเบี้ยระยะยาวต่ำกว่าอัตราดอกเบี้ยระยะสั้น ดร.สิปปภาส พรสุขสว่าง
27
ความจริงเกี่ยวกับอัตราดอกเบี้ย
อัตราดอกเบี้ยของหุ้นกู้ที่มีอายุการไถ่ถอนที่แตกต่างกัน เคลื่อนไหวไปด้วยกันตลอดเวลา เมื่ออัตราดอกเบี้ยระยะสั้นอยู่ในระดับที่ต่ำ มีความเป็นไปได้มากว่าเส้นผลตอบแทนจะมีความชันเป็นบวก เมื่ออัตราดอกเบี้ยระยะสั้นอยู่ในระดับที่สูง มีความเป็นไปได้มากว่าเส้นผลตอบแทนจะมีความชันเป็นลบและผกผัน เส้นผลตอบแทนมักจะมีความชันเป็นบวกเสมอ ดร.สิปปภาส พรสุขสว่าง
28
ThaiBDC Government Bond Yield Curve
29
ดร.สิปปภาส พรสุขสว่าง
30
ดร.สิปปภาส พรสุขสว่าง
31
ทฤษฎีที่อธิบายความจริงทั้งสามเกี่ยวกับอัตราดอกเบี้ย
ทฤษฎีการคาดการณ์ (Expectations theory) อธิบายความจริงสองประการแรกได้ แต่ไม่สามารถอธิบายความจริงที่สาม ทฤษฎีตลาดที่ถูกแบ่งแยก (Segmented markets theory) อธิบายความจริงที่สามได้ แต่ไม่สามารถอธิบายความจริงสองประการแรก ทฤษฎีส่วนชดเชยสภาพคล่อง (Liquidity premium theory) รวมทั้งสองทฤษฎีเข้าด้วยกันในการอธิบายความจริงทั้งสามประการ ดร.สิปปภาส พรสุขสว่าง
32
ทฤษฎีการคาดการณ์ (Expectations Theory)
อัตราดอกเบี้ยของหุ้นกู้ระยะยาวจะเท่ากับค่าเฉลี่ยของอัตราดอกเบี้ยระยะสั้นที่ประชาชนคาดว่าจะเกิดขึ้นตลอดอายุของหุ้นกู้ระยะยาว ผู้ซื้อหุ้นกู้ไม่ได้มีความพึงพอใจในหุ้นกู้ที่มีอายุการไถ่ถอนหนึ่งมากกว่าหุ้นกู้ที่มีอีกอายุการไถ่ถอนหนึ่ง ผู้ซื้อหุ้นกู้จะไม่ถือครองหุ้นกู้ที่มีอัตราผลตอบแทนจากการคาดการณ์น้อยกว่าอัตราผลตอบแทนจากการคาดการณ์ที่ได้รับจากหุ้นกู้อื่นที่มีอายุการไถ่ถอนที่แตกต่างกัน หุ้นกู้เช่นนี้เรียกว่าเป็นการทดแทนกันอย่างสมบูรณ์ (substitutes) ดร.สิปปภาส พรสุขสว่าง
33
ทฤษฎีการคาดการณ์—ตัวอย่าง
กำหนดให้ อัตราดอกเบี้ย ณ ปัจจุบัน ของหุ้นกู้อายุการไถ่ถอนหนึ่งปี เท่ากับ 6% เราคาดว่า อัตราดอกเบี้ยของหุ้นกู้อายุการไถ่ถอนหนึ่งปี จะเท่ากับ 8% ในปีหน้า ดังนั้น อัตราผลตอบแทนจากการคาดการณ์ สำหรับการซื้อหุ้นกู้สองตัวที่มีอายุการไถ่ถอนหนึ่งปี โดยเฉลี่ยจะเท่ากับ (6% + 8%)/2 = 7% อัตราดอกเบี้ยของหุ้นกู้อายุการไถ่ถอนสองปีจะต้องเท่ากับ 7% ที่จะทำให้เรายินดีซื้อหุ้นกู้นี้ ดร.สิปปภาส พรสุขสว่าง
34
ทฤษฎีการคาดการณ์—โดยทั่วไป
สำหรับการลงทุน 1 บาท it = อัตราดอกเบี้ย ณ วันนี้ ของหุ้นกู้อายุการไถ่ถอน 1 ปี i et + 1 = อัตราดอกเบี้ยของหุ้นกู้อายุการไถ่ถอน 1 ปี ที่คาดการณ์ในปีหน้า i2t = อัตราดอกเบี้ย ณ วันนี้ ของหุ้นกู้อายุการไถ่ถอน 2 ปี ดร.สิปปภาส พรสุขสว่าง
35
ทฤษฎีการคาดการณ์—โดยทั่วไป (ต่อ)
อัตราผลตอบแทนที่คาดการณ์ตลอดระยะเวลา 2 ปีจากการลงทุน 1 บาท ในหุ้นกู้อายุการไถ่ถอน 2 ปี และถือครองไว้เป็นเวลา 2 ปี (1 + i2t)(1 + i2t) – 1 = 1 + 2i2t + ( i2t)2 – 1 = 2i2t + (i2t)2 เนื่องจาก (i2t)2 มีค่าน้อยมาก ดังนั้น อัตราผลตอบแทนที่คาดการณ์สำหรับการถือครองหุ้นกู้อายุการไถ่ถอน 2 ปี เป็นระยะเวลา 2 ปี คือ 2i2t ดร.สิปปภาส พรสุขสว่าง
36
ทฤษฎีการคาดการณ์—โดยทั่วไป (ต่อ)
ถ้าหุ้นกู้อายุการไถ่ถอน 1 ปี 2 ตัว ซื้อด้วยเงิน 1 บาท (1 + it)(1 + i et + 1) – 1 = 1 + it + i et it( i et + 1) – 1 = it + i et it( i et + 1) it( i et + 1) มีค่าน้อยมาก ดังนั้น เราจึงได้ it + i et + 1 ดร.สิปปภาส พรสุขสว่าง
37
ทฤษฎีการคาดการณ์—โดยทั่วไป (ต่อ)
เราจะถือครองหุ้นกู้ทั้งสองชนิดก็ต่อเมื่ออัตราผลตอบแทนที่คาดการณ์นั้นเท่ากัน 2i2t = it + i et + 1 อัตราดอกเบี้ยของหุ้นกู้อายุการไถ่ถอน 2 ปี จะต้องเท่ากับค่าเฉลี่ยของอัตราดอกเบี้ยหุ้นกู้อายุการไถ่ถอน 1 ปี 2 ตัว it + i et + 1 i2t = 2 ดร.สิปปภาส พรสุขสว่าง
38
it + i et + 1 + i et + 2 + … + i et + (n – 1)
ทฤษฎีการคาดการณ์—โดยทั่วไป (ต่อ) สำหรับหุ้นกู้ที่มีอายุการไถ่ถอนที่ยาวขึ้น it + i et i et … + i et + (n – 1) int = n อัตราดอกเบี้ยของหุ้นกู้อายุการไถ่ถอน n ปี จะต้องเท่ากับค่าเฉลี่ยของอัตราดอกเบี้ยของหุ้นกู้อายุการไถ่ถอน 1 ปี ที่คาดการณ์ว่าจะเกิดขึ้นตลอดระยะเวลาอายุการไถ่ถอน n ปี ของหุ้นกู้นั้น ดร.สิปปภาส พรสุขสว่าง
39
ทฤษฎีการคาดการณ์ อธิบายว่า ทำไมโครงสร้างอายุการไถ่ถอนของอัตราดอกเบี้ยเปลี่ยนแปลงในเวลาต่าง ๆ อธิบายว่า ทำไมอัตราดอกเบี้ยของหุ้นกู้ที่มีอายุการไถ่ถอนที่แตกต่างกัน เคลื่อนไหวไปด้วยกันตลอดเวลา (ความจริงที่ 1) อธิบายว่า ทำไมเส้นผลตอบแทนมีแนวโน้มที่มีความชันเป็นบวก เมื่ออัตราดอกเบี้ยระยะสั้นอยู่ในระดับที่ต่ำ และมีความชันเป็นลบ เมื่ออัตราดอกเบี้ยระยะสั้นอยู่ในระดับที่สูง (ความจริงที่ 2) ไม่สามารถอธิบายว่า ทำไมเส้นผลตอบแทนมักจะมีความชันเป็นบวก (ความจริงที่ 3) ดร.สิปปภาส พรสุขสว่าง
40
ทฤษฎีตลาดที่ถูกแบ่งแยก (Segmented Markets Theory)
หุ้นกู้ที่มีอายุการไถ่ถอนต่างกันไม่สามารถทดแทนกันได้เลย อัตราดอกเบี้ยของหุ้นกู้แต่ละชนิดที่มีอายุการไถ่ถอนต่างกัน จะถูกกำหนดโดยอุปสงค์และอุปทานของหุ้นกู้ชนิดนั้น ผู้ลงทุนมีความพึงพอใจในหุ้นกู้ที่มีอายุการไถ่ถอนหนึ่งมากกว่าหุ้นกู้ที่มีอีกอายุการไถ่ถอนหนึ่ง ถ้าผู้ลงทุนมีระยะเวลาการถือครองที่สั้น และมีความพึงพอใจในหุ้นกู้ที่มีอายุการไถ่ถอนที่สั้นกว่า (ความเสี่ยงอัตราดอกเบี้ยน้อยกว่า) ด้วยเหตุนี้จึงอธิบายว่า ทำไมเส้นผลตอบแทนมักจะมีความชันเป็นบวก (ความจริงที่ 3) ดร.สิปปภาส พรสุขสว่าง
41
ทฤษฎีส่วนชดเชยสภาพคล่อง และ ทฤษฎีความพึงพอใจเฉพาะ (Liquidity Premium & Preferred Habitat Theories)
อัตราดอกเบี้ยของหุ้นกู้ระยะยาวจะเท่ากับค่าเฉลี่ยของอัตราดอกเบี้ยระยะสั้นที่ประชาชนคาดว่าจะเกิดขึ้นตลอดอายุของหุ้นกู้ระยะยาว บวกด้วยส่วนชดเชยสภาพคล่องที่ตอบสนองต่อเงื่อนไขด้านอุปสงค์และอุปทานสำหรับหุ้นกู้นั้น หุ้นกู้ที่มีอายุการไถ่ถอนต่างกันสามารถทดแทนกันได้ แต่ไม่สมบูรณ์ ดร.สิปปภาส พรสุขสว่าง
42
ทฤษฎีส่วนชดเชยสภาพคล่อง (Liquidity Premium Theory)
+ Lnt it + i et i et … + i et + (n – 1) int = n Lnt คือ ส่วนชดเชยสภาพคล่อง (ส่วนชดเชยอายุการไถ่ถอน) ของหุ้นกู้ที่มีอายุการไถ่ถอน n ช่วงระยะเวลา ณ เวลา t Lnt มีค่าเป็นบวกเสมอ และเพิ่มขึ้นเมื่ออายุการไถ่ถอนมากขึ้น ดร.สิปปภาส พรสุขสว่าง
43
ทฤษฎีความพึงพอใจเฉพาะ (Preferred Habitat Theory)
ผู้ลงทุนมีความพึงพอใจในหุ้นกู้ที่มีอายุการไถ่ถอนหนึ่งมากกว่าหุ้นกู้ที่มีอีกอายุการไถ่ถอนหนึ่ง ผู้ลงทุนจะยินดีซื้อหุ้นกู้ที่มีอายุการไถ่ถอนที่แตกต่างไป ต่อเมื่อผู้ลงทุนนั้นได้ผลตอบแทนที่สูงกว่าที่ได้คาดการณ์ ผู้ลงทุนมักจะมีความพึงพอใจในหุ้นกู้ระยะสั้นมากกว่าหุ้นกู้ระยะยาว ดร.สิปปภาส พรสุขสว่าง
44
ทฤษฎีส่วนชดเชยสภาพคล่อง และ ทฤษฎีความพึงพอใจเฉพาะ การอธิบายความจริง
ทฤษฎีส่วนชดเชยสภาพคล่อง และ ทฤษฎีความพึงพอใจเฉพาะ การอธิบายความจริง อัตราดอกเบี้ยของหุ้นกู้ที่มีอายุการไถ่ถอนที่แตกต่างกัน เคลื่อนไหวไปด้วยกันตลอดเวลา (อธิบายโดยพจน์แรกในสมการ) เส้นผลตอบแทนมีแนวโน้มที่มีความชันเป็นบวก เมื่ออัตราดอกเบี้ยระยะสั้นอยู่ในระดับที่ต่ำ และมีความชันเป็นลบ เมื่ออัตราดอกเบี้ยระยะสั้นอยู่ในระดับที่สูง (อธิบายโดยพจน์ของส่วนชดเชยสภาพคล่อง-ในกรณีแรก และโดยค่าเฉลี่ยที่คาดการณ์อยู่ระดับต่ำ-ในกรณีที่สอง) เส้นผลตอบแทนมักจะมีความชันเป็นบวก (อธิบายโดยส่วนชดเชยสภาพคล่องที่มากขึ้น เมื่ออายุการไถ่ถอนยาวขึ้น) ดร.สิปปภาส พรสุขสว่าง
45
ดร.สิปปภาส พรสุขสว่าง
46
ปัจจัยที่เป็นตัวกำหนดอัตราดอกเบี้ย
k = k* + IP + DRP + LP + MRP k = required return on a debt security k* = real risk-free rate of interest IP = inflation premium DRP = default risk premium LP = liquidity premium MRP = maturity risk premium ดร.สิปปภาส พรสุขสว่าง
47
ส่วนชดเชยที่เพิ่มขึ้นให้กับ k* สำหรับประเภทตราสารหนี้ที่แตกต่างกัน
IP MRP DRP LP S-T Treasury L-T Treasury S-T Corporate L-T Corporate ดร.สิปปภาส พรสุขสว่าง
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.