ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน
แนะนำอุปกรณ์และเครื่องมือตรวจวิเคราะห์ พลังงานไฟฟ้า กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน
2
หัวข้อที่สำคัญ 1. เครื่องมือวัดทางไฟฟ้าที่จำเป็น 2. การเลือกซื้อเครื่องมือวัด 3. ความผิดพลาดของข้อมูลทางการวัด 4. ประเภทของข้อมูลที่ตรวจวัดทางไฟฟ้า 5. วิธีการใช้เครื่องมือและการตรวจวัดทางไฟฟ้า 6. การบำรุงรักษาเครื่องมือวัด
3
1. เครื่องมือวัดทางไฟฟ้าที่จำเป็น
1. เครื่องมือวัดทางไฟฟ้าที่จำเป็น 1.1 เครื่องบันทึกพลังงไฟฟ้า (kW Recorder Meter) เครื่องวัดพลังไฟฟ้า (Powermeter) เครื่องวัดตัวประกอบกำลังไฟฟ้า (Power Factor Meter) เครื่องวัดและบันทึกกระแสไฟฟ้า (Ampare Recorder Meter) เครื่องวัดความเข้มแสง (Lux Meter) เครื่องวัดความเร็วรอบ (Tachometer) เครื่องวัดความเร็วลม (Anemometer)
4
2. การเลือกซื้อเครื่องมือวัดทางไฟฟ้า
2. การเลือกซื้อเครื่องมือวัดทางไฟฟ้า 2.1 ข้อมูลจำเพาะของเครื่องวัด วิธีการใช้เครื่องมือวัด สิ่งที่ใช้วัด ช่วงของการวัด ความแม่นยำ ความไว
5
2.2 การนำเครื่องมือวัดเข้าไปถึงจุดที่จะวัด
ความแข็งแรงและทนทานของเครื่องมือวัด การอ่านค่าง่ายเพียงใด น้ำหนักของเครื่องมือ พลังงานที่ใช้ของเครื่องมือ ราคาของอุปกรณ์
6
3. ความผิดพลาดของข้อมูลจากการวัด แบ่งออกได้ 3 ทางใหญ่ ๆ คือ
3.1 เครื่องมือวัด เครื่องวัดเสีย ไม่มีการเปรียบเทียบมาตรฐาน ผู้วัด อ่านสเกลผิด จดข้อมูลผิด ใช้เครื่องมือวัดไม่เป็น
7
3. 3 ติดตั้งเครื่องมือวัดไม่ถูกต้องตามคู่มือการใช้งาน
3.3 ติดตั้งเครื่องมือวัดไม่ถูกต้องตามคู่มือการใช้งาน ใช้วัดนอกช่วงที่กำหนด - ตั้งสเกลผิด - ติดตั้งเครื่องมือวัดไม่ถูกต้อง - อ่านค่าเร็วเกินไป - สภาพแวดล้อมผิด
8
ตัวอย่างการคำนวณความผิดพลาดของกำลังไฟฟ้า 3 เฟส
ตัวอย่างการคำนวณความผิดพลาดของกำลังไฟฟ้า เฟส P = 3 Iav V COSØ เมื่อ Iav = กระแสไฟฟ้าเฉลี่ย (Amp) V = แรงเคลื่อนไฟฟ้า (Volt) COS Ø = ตัวประกอบกำลังไฟฟ้า P = กำลังไฟฟ้า (Watt)
9
ถ้าความผิดพลาดในการวัดกระแสไฟฟ้า, WI เป็น + 2 %
ถ้าความผิดพลาดในการวัดกระแสไฟฟ้า, WI เป็น + 2 % ถ้าความผิดพลาดในการวัดแรงเคลื่อนไฟฟ้า, Wv เป็น + 1 % ถ้าความผิดพลาดในการวัดตัวประกอบกำลังไฟฟ้า, W เป็น + 3% ค่ากำลังไฟฟ้าที่คำนวณได้จะมีความผิดพลาดกี่เปอร์เซ็นต์ (WP/P)2 = (WI/I)2 + (WV/V)2 + (W /COS ) = (0.02)2 + (0.01)2 + (0.03) = (WP/P) = = นั่นคือ ความผิดพลาดของกำลังไฟฟ้าที่ได้มีค่าเท่ากับ %
10
4. ประเภทของข้อมูลที่จะทำการตรวจวัด
4. ประเภทของข้อมูลที่จะทำการตรวจวัด 4.1 พลังงานไฟฟ้า (กิโลวัตต์ชั่วโมง หรือหน่วย) กระแสไฟฟ้า (แอมแปร์) แรงดันไฟฟ้า (โวลต์) กำลังงาน (กิโลวัตต์) ความต้องการพลังงานไฟฟ้า (กิโลวัตต์) ตัวประกอบพลังไฟฟ้า (PF หรือ %) ความเร็วรอบของมอเตอร์ (รอบต่อนาที) ความสว่าง (ลักซ์)
11
5. วีธีการใช้เครื่องมือและการตรวจวัดทางไฟฟ้า
5.1 เครื่องบันทึกพลังไฟฟ้า (kW Recorder Meter) การวัดไฟ 1 เฟส การวัดไฟ 3 เฟส
12
ต่อเครื่องมือวัด ดังรูป
การวัดไฟ 1 เฟส ต่อเครื่องมือวัด ดังรูป
13
เครื่องบันทึกพลังไฟฟ้า อาจต่อเข้ากับเครื่องบันทึกกราฟ หรือต่อพวงกับเครื่องคอมพิวเตอร์
14
การวัดไฟ 3 เฟส การวัดไฟฟ้า 3 เฟส 4 สาย
15
การวัดไฟฟ้า 3 เฟส 3 สาย
16
5.2 เครื่องวัดพลังไฟฟ้า (Powermeter)
แบบมือถือ แบบหิ้วได้
17
การวัดค่าในวงจรไฟฟ้า 1 เฟส ให้ต่อวงจร ดังรูป
แบบมือถือ การวัดค่าในวงจรไฟฟ้า 1 เฟส ให้ต่อวงจร ดังรูป
18
การวัดค่าในวงจรไฟฟ้า 3 เฟส 3 สาย ที่โหลดสมดุล ให้ต่อวงจรดังรูป
การวัดค่าในวงจรไฟฟ้า 3 เฟส 3 สาย ที่โหลดสมดุล ให้ต่อวงจรดังรูป แบบมือถือ Measurement on Three Phase Balance Circuit
19
การวัดค่าในวงจรไฟฟ้า 3 เฟส 3 สาย ที่โหลดไม่สมดุล ให้ต่อวงจรดังรูป
การวัดค่าในวงจรไฟฟ้า 3 เฟส 3 สาย ที่โหลดไม่สมดุล ให้ต่อวงจรดังรูป แบบมือถือ
20
P รวม = V12 I1 COS V32 I3 COS 32 เมื่อ O 12 คือ มุมระหว่างแรงดัน V12 และกระแส I O 32 คือ มุมระหว่างแรงดัน V32 และกระแส I3
21
การวัดค่าแบบต่อเนื่องในกรณีที่ต้องการวัดข้อมูลอย่างต่อเนื่อง ดังรูป
แบบมือถือ Analong output connection
22
วิธีใช้งาน แบบหิ้วได้
การวัดค่าในวงจรไฟฟ้า 3 เฟส 4 สาย การวัดค่าในวงจรไฟฟ้า 3 เฟส 3 สาย การวัดค่าในวงจรไฟฟ้า 1 เฟส 2 สาย การวัดข้อมูลแบบต่อเนื่องให้ต่อสัญญาออกแบบ เข้าเครื่องบันทึกกราฟ การคำนวณค่าตัวประกอบกำลังไฟฟ้า
23
5.3 เครื่องวัดตัวประกอบกำลังไฟฟ้า (Power Factor Merter)
5.4 เครื่องวัดและบันทึกกระแสไฟฟ้า (Ampare Recorder Meter)
24
ความสัมพันธ์ของพลังไฟฟ้า แรงเคลื่อนไฟฟ้า กระแสไฟฟ้าและตัวประกอบกำลังไฟฟ้าปรากฎ มีดังนี้ ระบบไฟฟ้า 1 เฟส 2 สาย V = I x Z ; (โวลท์) S = V x I ; (โวลท์ - แอมป์) P = S x PF = Vx I x PF ; (วัตต์) E = ( P/1000) x t ; (กิโลวัตต์ - ชั่วโมง,หน่วย)
25
ระบบไฟฟ้า 3 เฟส. VP = IP x Z. V = 3 VP. I = 3 IP. S = 3 V x I
ระบบไฟฟ้า 3 เฟส VP = IP x Z V = 3 VP I = IP S = 3 V x I P = 3 V x I x PF E = (P/1000) x t
26
5.5 เครื่องวัดความเข้มแสง (Lux Meter)
วิธีการใช้งาน - ปรับเข้มให้ชี้ตำแหน่งศูนย์ - เลือกสเกลที่จะวัดให้เหมาะสม - วางหัววัดตรงตำแหน่งที่จะวัดค่าความสว่าง - อ่านค่าความสว่างหลังจากเวลาผ่านไปแล้วประมาณ 1 นาที - ตำแหน่งที่จะวัดค่าความสว่าง ควรสูงจากพื้น 76 เซ็นติเมตร - ค่าความสว่างเฉลี่ยหาได้ดังนี้
27
ค่าความสว่างเฉลี่ยหาได้ดังนี้
รูป a Ea = [R(N - 1) (M - 1) + Q(N -1) + T(M - 1) + P] NM N = จำนวนโคมในแต่ละแถว M = จำนวนแถว รูป a
29
ค่าความสว่างเฉลี่ยหาได้ดังนี้
รูป b Ea = P = P1 + P2 + P3 + P รูป b
31
ค่าความสว่างเฉลี่ยหาได้ดังนี้
รูป c Ea = Q(N - 1) + P ; N = จำนวนโคม NM รูป C
33
ค่าความสว่างเฉลี่ยหาได้ดังนี้
รูป d Ea = [RN (M - 1) + QN + T(M - 1) + P] NM (N + 1) N = จำนวนโคมในแต่ละแผ่น M = จำนวนแถว รูป d
35
ค่าความสว่างเฉลี่ยหาได้ดังนี้
รูปe Ea = QN + P ; จำนวนโคม N + 1 รูป e
37
ค่าความสว่างเฉลี่ยหาได้ดังนี้
รูปที่ f Ea = R(L - 8) (W - 8) + 8Q(L - 8) + 8T(W - 8) + 64 P WL W = ความกว้างของห้อง (ฟุต) L = ความยาวของห้อง (ฟุต) รูป f
39
- แบบฟอร์มที่ใช้ในการสำรวจความสว่างที่จุดทำงานต่าง ๆ เป็นดังนี้
40
5.6 เครื่องวัดความเร็วรอบ (Tachometer)
5.7 เครื่องวัดความเร็วอากาศ (Anemometer)
41
6. การบำรุงรักษาเครื่องมือวัด
6. การบำรุงรักษาเครื่องมือวัด ทำให้ได้ข้อมูลที่มีความถูกต้องแล้ว ยังยืดอายุการใช้งานของเครื่องวัดต่อไปตลอดจนสามารถใช้งานเครื่องมือวัดอย่างปลอดภัย 6.1 ได้ข้อมูลที่ถูกต้อง 6.2 ยืดอายุการใช้งาน 6.3 ปลอดภัยในการใช้งาน
42
กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.