งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

รองประธานสภาองค์การนายจ้างผู้ประกอบการค้าและอุตสาหกรรมไทย

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "รองประธานสภาองค์การนายจ้างผู้ประกอบการค้าและอุตสาหกรรมไทย"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 รองประธานสภาองค์การนายจ้างผู้ประกอบการค้าและอุตสาหกรรมไทย
การก้าวผ่านของธุรกิจภายใต้บริบทใหม่ทางเทคโนโลยี Transforming to Industry 4.0 โดย ดร.ธนิต โสรัตน์ ประธานกรรมการบริษัทในเครือ V-SERVE GROUP รองประธานสภาองค์การนายจ้างผู้ประกอบการค้าและอุตสาหกรรมไทย “Secure Office of the Future : Transforming Manufacture to Industry 4.0” ณ โรงแรมโนโวเทล สุวรรณภูมิ วันที่ 7 มิถุนายน 2560  ภาพจาก :

2 เปรียบเทียบยุคการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจของไทย กับการปฏิวัติทางเทคโนโลยีของโลก
ปี ยุคการปฏิวัติเทคโนโลยีของโลก ยุคการเปลี่ยนแปลงนโยบาย ทางเศรษฐกิจของประเทศ 1 Steam-Hydro Power - Taylorism Economy เศรษฐกิจยุคการใช้เครื่องจักรกลไอน้ำและน้ำในอุตสาหกรรมทำให้เกิดการผลิตแบบสายพาน และการคมนาคมขนส่งทางไกลข้ามทวีป (Taylorism Production) Agriculture & Primary Good Value Base เศรษฐกิจขับเคลื่อนจากสินค้าเกษตรกรรมและการผลิตสินค้าขั้นต้น (หลังเปลี่ยนแปลงการปกครองถึงสงครามโลกครั้งที่ 2) 2 Fossil-Electric-Cable Power เศรษฐกิจยุคพลังงานฟอสซิลและพลังงานไฟฟ้าในอุตสาหกรรมแบบประหยัดจากขนาด – การผลิตเพื่อการส่งออก และการสื่อสารด้วยสาย (Mass Production) Light Industries & Export Oriented Start up ยุคอุตสาหกรรมเบาและเริ่มต้นเป็นประเทศส่งออก ต่างชาติเริ่มใช้ประเทศไทยเป็นฐานการผลิต เริ่มใช้แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 1 ( ) 3 Computerize-Information Technology-Smart Phone Power เศรษฐกิจยุคการใช้คอมพิวเตอร์ อินเทอร์เน็ต-เทคโนโลยีสารสนเทศ และโทรศัพท์อัจฉริยะ ทั้งด้านอุตสาหกรรม การค้าและชีวิตประจำวัน (Lean Production) Regional Export Base ยุคส่งออกขับเคลื่อนเศรษฐกิจด้วยอานิสงส์จาก “Eastern Seaboard” ในปี2526 ภายใต้แผนสศช. ฉบับที่ 5 ( ) ทำให้เกิดการลงทุนในอุตสาหกรรมต้นน้ำ และเป็นจุดหมายปลายทางของการลงทุน (FDI) ของภูมิภาค เป็นประเทศส่งออกในลำดับที่ 21 ของโลก (2558) แต่ในช่วงทศวรรษสุดท้ายขีดความสามารถในการแข่งขันลดลง 4 Digital–AI–Automation Power เศรษฐกิจยุคดิจิทัล นาโน/ไบโอเทคและระบบปฏิบัติการอัตโนมัติในภาคอุตสาหกรรม-ธุรกรรมการค้า สังคมดิจิทัลเป็นผู้กำหนดอุปสงค์ใหม่ (Cyber – Autonomous Production) Thailand 4.0 National Agenda การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติด้วยอุตสาหกรรมซึ่งมีคุณค่าและนวัตกรรมขับเคลื่อนเศรษฐกิจเพื่อยกระดับเป็นประเทศมีรายได้สูง (ในปี 2579)

3 การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยี
พลวัตของนวัตกรรมและเทคโนโลยี ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงยุคของอุตสาหกรรม (1) ยุค ปี ค.ศ. การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยี วิวัฒนาการของเทคโนโลยีพลังไอน้ำและการขนส่ง Industry 1.0 1780 1832 1856 เจมส์ วัตต์ ประดิษฐ์เครื่องจักรไอน้ำ “นิวโคแมน” แซมมวล มอร์ส นำระบบโทรเลขมาใช้ในการสื่อสารทางไกล เฟรดเดริก วินสโล เทเลอร์ ใช้พลังไอน้ำขับเคลื่อนสายพานลำเลียงในอุตสาหกรรมเหล็ก และเป็นพลังงานในการขนส่งสินค้าทางรางและทางน้ำข้ามทวีป วิวัฒนาการของเทคโนโลยีพลังไฟฟ้า-น้ำมัน-การสื่อสาร Industry 2.0 1870 1876 1884 1887 1908 โทมัส เอดิสัน นำพลังงานไฟฟ้า (DC) มาใช้ประโยชน์ ประดิษฐ์หลอดไฟ, มอเตอร์อุตสาหกรรม อเล็กซานเดอ์ เกรแฮม เบลล์ จดสิทธิบัตรโทรศัพท์เครื่องแรกของโลก จอร์จ เวสติงเจอร์ พัฒนาโรงไฟฟ้าเชิงพาณิชย์ เครื่องใช้ไฟฟ้าเริ่มเป็นสินค้าพื้นฐานในครัวเรือน ร็อกกี้เฟลเลอร์ ก่อตั้งสแตนดาร์ดออยล์ ขุดและกลั่นน้ำมันเชิงพาณิชย์ เฮนรี่ ฟอร์ด ผลิตรถยนต์เชิงพาณิชย์ Model-T และเป็นต้นแบบ Mass Production

4 การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยี
พลวัตของนวัตกรรมและเทคโนโลยี ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงยุคของอุตสาหกรรม (2) ยุค ปี ค.ศ. การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยี วิวัฒนาการของเทคโนโลยียุคไอที-คอมพิวเตอร์-อินเทอร์เน็ต Industry 3.0 1946 1981 1989 2001 2004 ดร.จอห์น ดับลิว มอชลีย์ ประดิษฐ์คอมพิวเตอร์เครื่องแรกของโลกเพื่อใช้ในทางทหารเรียกว่า “ENIAC” ใช้ระบบ Electronics Numerical Integrator and Computing IMB พัฒนาคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล (PC-5150) เชิงพาณิชย์ใช้ทั้งในธุรกิจและบ้าน บิล เกตส์ ก่อตั้งไมโครซอฟท์และพัฒนาสู่ยุคโปรแกรม Windows สตีฟ จ๊อบส์ “Apple Group” เปิดตัว “iPod” และ ปีค.ศ เปิดตัวสมาร์ทโฟน “iPhone” เริ่มต้นสู่ยุคโซเชียลมีเดีย มาร์ก ซักเคอร์เบิร์ก พัฒนา Facebook เครือข่ายโซเชียลมีเดียที่มีผู้ใช้มากที่สุดในโลก วิวัฒนาการของยุคเทคโนโลยีหุ่นยนต์ -ปัญญาประดิษฐ์-ออโตเมชั่น Industry 4.0 1949 1961 1997 2000 2013 ยุคเทคโนโลยีระบบการผลิตด้วยหุ่นยนต์ เริ่มจากปีค.ศ วิลเลี่ยม เกรย์ วอลเทอร์ ชาวสหรัฐอเมริกาสร้างหุ่นยนต์ชื่อ “Elmer & Elsie” หุ่นยนต์อุตสาหกรรมเริ่มโดยนายจอร์จ ดีวอล ก่อตั้งบริษัทผลิตหุ่นยนต์เชิงอุตสาหกรรมแห่งแรกของโลก นายแกรี่ กาสปาโรฟ ชาวรัสเซีย ร่วมกับ IBM ประดิษฐ์สมองกล “Deep Blue” สามารถประมวลผลและวิเคราะห์ได้เองเป็นต้นแบบของปัญญาประดิษฐ์ AI : Artificial Intelligence บริษัท โซนี่ ผลิตหุ่นยนต์สุนัข “Aibo” และถัดมาอีกปีฮอนด้าผลิตหุ่นยนต์ชื่อว่า อซิโม (Asimo) นายกู๊ดเทอร์ เอช ออททิงเจอร์ (Gunther H. Oettinger) ชาวเยอรมัน กรรมาธิการรัฐสภาสหภาพยุโรป ผลักดันวิสัยทัศน์การผลิตด้วยนวัตกรรมและเทคโนโลยีในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจของอียูภายในปี 2020 เริ่มเข้าสู่ยุคอุตสาหกรรม 4.0

5 อนาคตของภาคอุตสาหกรรมไทยจะไปทางไหน
ภาคการผลิตและการส่งออก ซึ่งเคยเป็นจุดแข็งของประเทศกำลังเผชิญกับการลดน้อยถอยลงของขีดความสามารถในการแข่งขันทั้งจากทรัพยากรธรรมชาติที่ลดน้อย, ข้อจำกัดด้านแรงงาน การเข้ามาของการเข้าสู่อุตสาหกรรมยุคที่ 4 เกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลงทั้งด้านเทคโนโลยีแห่งอนาคตและรูปแบบธุรกรรมการค้าใหม่ที่ต่างไปจากอดีตซึ่งสอดคล้องภายใต้นโยบาย “ไทยแลนด์ 4.0” อุตสาหกรรมไทยอยู่ในช่วงรอยต่อ ของข้อจำกัดของศักยภาพและขีดความสามารถในการแข่งขันที่ลดน้อยถอยลง New Business Model การแข่งขันด้วยค่าจ้างที่ต่ำและการผลิตที่เป็น “Mass Production” และกำลังจะผ่านออกไปจากประเทศไทยและอาจไม่ใช่ทางเดินอีกต่อไป เทคโนโลยีและนวัตกรรมซึ่งเป็นแนวโน้มของทศวรรษหน้า จะมีผลอย่างไรต่อการแข่งขัน โดยธุรกรรมการค้าในรูปแบบเดิมๆกำลังจะเปลี่ยนไปผลที่ตามมามี 2 ทางเลือก คือ ประการแรก : ใช้วิกฤตให้เป็นโอกาส ประการที่สอง : การเปลี่ยนแปลงที่จะมาเป็นภัยคุกคาม

6 อุตสาหกรรมแห่งอนาคต : New Engine Industries (1)
อุตสาหกรรมซึ่งยังคงมีศักยภาพพัฒนาไปสู่อุตสาหกรรมใหม่ (First S-curve Industries) เป็นกลุ่มอุตสาหกรรมที่มีอยู่แล้วและสามารถเพิ่มเทคโนโลยีและศักยภาพ ประกอบด้วย     1 อุตสาหกรรมยานยนต์สมัยใหม่ (Next – Generation Automotive)   2 อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์อัจฉริยะ (Smart Electronics)  3 อุตสาหกรรมการท่องเที่ยวกลุ่มรายได้ดีและการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ (Affluent, Medical and Wellness Tourism)   4 เศรษฐกิจชีวภาพ (Bio Economic)   5 อุตสาหกรรมการแปรรูปอาหารสำหรับอนาคต (Food for the Future)

7 อุตสาหกรรมแห่งอนาคต : New Engine Industries (2)
อุตสาหกรรมใหม่แห่งอนาคต (New S-curve Industries) เป็นอุตสาหกรรมที่ประเทศไทยมีนโยบายขับเคลื่อนเป็นอุตสาหกรรมซึ่งมีมูลค่าเพิ่มใช้พื้นที่ไม่มากเป็นอุตสาหกรรมใช้ทุนเข้มข้น (Capital Intensive) ใช้แรงงานไม่มาก ประกอบด้วย  1 อุตสาหกรรมหุ่นยนต์ (Robotics Industries)  2 อุตสาหกรรมการบินและโลจิสติกส์ (Aviation and Logistics)   3 อุตสาหกรรมเชื้อเพลิงชีวภาพและเคมีชีวภาพ (Biofuels and Biochemicals)  4 อุตสาหกรรมดิจิตอล (Digital Industries)   5 อุตสาหกรรมการแพทย์ครบวงจร (Medical Industries)

8 การเตรียมพร้อมธุรกิจ-กลยุทธ์-คน คลื่นการเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีจากการปฏิวัติอุตสาหกรรมยุคที่ 4

9 ความอยู่รอดของธุรกิจ ความสามารถในการก้าวผ่านอุปสงค์ใหม่ภายใต้การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี Transforming to Industry 4.0 Consumer 4.0 Demand NaNo-Bio- Genome Digital Innovation E-Commerce Accessibility Fintech Logistics Technology Cyber Lean Production Systems (CPS) Automation Technology Intelligent (AI) & Robotics Cloud & Big Data Analytics Space & Satellite Tech Environment Technology Smart Phone for Every things

10 ธุรกิจกลุ่มเสี่ยงจากเทคโนโลยี 4.0
1.นวัตกรรมและเทคโนโลยีที่มีแข่งขันไม่ได้ 2. มีสัดส่วนการใช้เทคโนโลยีต่ำกว่าร้อยละ 20 3. สินค้าที่ผลิตมีแนวโน้มเป็นผลิตภัณฑ์-บริการตกยุค 4. จุดแข็งที่มีอาจไม่สามารถขับเคลื่อนธุรกิจในอนาคต 5. กลไกภายในองค์กรไม่เอื้อต่อการเปลี่ยนแปลง

11 อาชีพที่มีความเสี่ยงจากการถูกทดแทนด้วยเทคโนโลยี
ลำดับ อาชีพที่มีความเสี่ยงจากเทคโนโลยี ภัยคุกคาม 1 พนักงานขายปลีกหน้าร้านในห้างโมเดิร์นเทรดต่างๆ และพนักงานขายตรง ถูกแทนที่ด้วยอี-คอมเมิร์ซ 2 พนักงานโรงแรม, ร้านอาหาร, รปภ. ถูกทดแทนด้วยหุ่นยนต์และระบบคอมพิวเตอร์อัจฉริยะในการรับจองห้องพัก-การลงทะเบียนและต้อนรับ 3 พนักงานที่เกี่ยวข้องกับสถาบันทางการเงิน และแรงงานที่อยู่ในอุตสาหกรรมการเงินและประกันภัย ถูกแทนที่ด้วย Fintech & Digital Banking เช่น ระบบ VTM/CDM, EFT (Electronic Fund Transfer), พร้อมเพย์ (Prompt-Pay) , ระบบORFT : Online Retail Fund 4 แรงงานและผู้ประกอบการในอุตสาหกรรมใช้แรงงานเข้มข้นยุค 2.0 ซึ่งปรับเปลี่ยนไปใช้เครื่องจักรแทนแรงงาน ถูกแทนที่ด้วยหุ่นยนต์อัตโนมัติซึ่งปัจจุบันมีการพัฒนาทำงานได้หลากหลาย เช่น งานพ่นสี, งานประกอบชิ้นส่วนยานยนต์ และอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ 5 แรงงานในภาคโลจิสติกส์ เช่น เคลื่อนย้ายสินค้า – คัดแยก – บรรจุ – จัดเรียงสินค้าในคลัง, ศูนย์กระจายสินค้าและเทคโนโลยี ถูกแทนที่ด้วย รถยกสินค้าแบบอัตโนมัติไร้คนขับ, หุ่นยนต์คัดแยก-บรรจุสินค้า, หุ่นยนต์จัดเรียงสินค้า และคลังสินค้าอัจฉริยะใช้ระบบออโตเมชั่น 6 แรงงานในอุตสาหกรรมที่ถูกทดแทนด้วยเทคโนโลยี เช่น อุตสาหกรรมผลิตเครื่องรับโทรทัศน์, วิทยุ, แรงงานอุตสาหกรรมผลิตหลอดภาพทีวี, โทรศัพท์บ้าน, กล้องถ่ายรูป, วีดีโอ, เทปบันทึกเสียง, อุตสาหกรรมเครื่องนุ่งห่ม,โคมไฟประเภทหลอดฟูออเรสเชน (แทนที่ด้วยหลอด LED) ถูกแทนที่ด้วยสินค้าใหม่และนวัตกรรม-เทคโนโลยีใหม่ๆ 7 ธุรกิจสื่อ-สิ่งพิมพ์และแรงงานที่เกี่ยวข้องในอุตสาหกรรมการพิมพ์-นิตยสาร ถูกแทนที่ด้วยสื่ออิเล็กทรอนิกส์ , มัลติมีเดียผ่านสมาร์ทโฟนและแท็บเล็ตต่างๆ 8 Counter Service ในภาคธุรกิจต่างๆ เช่น สนามบิน แอร์ไลน์, จองทัวร์-ที่พัก, ขายตั๋วต่างๆ, งานประชาสัมพันธ์และโอเปอเรเตอร์ จะถูกแทนที่ด้วย IoT,E-money,คอมพิวเตอร์อัจฉริยะ (AI), Chatbot, Robo - Advisor 9 แรงงานในอุตสาหกรรมตกยุคซึ่งผลิตภัณฑ์ไม่เป็นที่ต้องการและถูกทดแทนด้วยนวัตกรรมและเทคโนโลยีแห่งอนาคต นวัตกรรมการผลิตสินค้า-บริการนำมาซึ่งการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมผู้บริโภคและการลดน้อยถอยลงของกลุ่มผู้บริโภคยุค 2.0 ทั้งกลุ่ม Gen Y, Gen Z รวมทั้งสังคมคนชราล้วนมีผลต่อสินค้าตกยุค

12 ภูมิทัศน์ใหม่และการก้าวผ่านภายใต้คลื่นอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี 4.0
SMART MANUFACTURERS โอกาส : อี-คอมเมิร์ซทำให้เข้าถึงผู้บริโภคโดยตรง ลดการพึ่งพาช่องทางขายปลีกกึ่งผูกขาด ภัยคุกคาม : ความเสี่ยงจากการเข้าถึงเทคโนโลยี,สินค้าตกยุค, ต้นทุนแข่งขันไมได้, การย้ายฐานการผลิต (OEM) TECHNOLOGY CYBER PLATFORM INNOVATION CYBER PLATFORM TRANSFORMING TO INDUSTRY 4.0 ภัยคุกคาม : ระบบค้าปลีก Physical Market รายเล็ก- ย่อยสัดส่วนจะลดน้อยถอยลง ต่ำกว่าการค้าออนไลน์ CONSUMER 4.0 ON SOCIAL MEDIA CONTEXT PHYSICAL MARKET VIRTUAL MARKET CYBER PLATFORM โอกาส : - ตอบโจทย์คนยุคโซเชียลมีเดีย - ตลาดออนไลน์ Virtual Market เข้าถึง ลูกค้าได้ดีกว่า สะดวกกว่า, ถูกกว่า, หลากหลาย และรวดเร็ว โอกาส : บริบทการค้าออนไลน์ผู้บริโภคจะเป็นทั้งผู้ซื้อและผู้ขายปลีก โซเชียลมีเดียมีอิทธิพลต่อการตัดสินใจซื้อเหนือโฆษณากระแสหลัก ภัยคุกคาม : - บริโภคนิยมจะทำให้หนี้ครัวเรือนสูง การถูกหลอกลวงด้านคุณภาพ/ราคา /คุ้มครองผู้บริโภค ขาดการเข้าถึงด้านมาตรฐานคุณภาพ / ความปลอดภัย รัฐเก็บภาษีได้น้อยลง โดย : ดร.ธนิต โสรัตน์ (2017) 12/17

13 การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีส่งผลต่อ พฤติกรรมผู้บริโภคและช่องทางจำหน่ายสินค้า
คนไทยนิยมใช้อินเทอร์เน็ตติดลำดับโลก ประเทศไทย (ปี2560) ติดลำดับโลกด้านการใช้โซเชียลเน็ตเวิร์กสูง มีผู้ใช้เฟซบุ๊ค 47 ล้านคนติดลำดับ 9 ของโลกแซงหน้าประเทศญี่ปุ่นและประเทศชั้นนำของอียู ขณะที่อินสตาแกรมมีผู้ใช้งาน 11 ล้านคนติดลำดับที่ 13 ของโลก และทวิตเตอร์มียอดผู้ใช้งาน 9 ล้านคน การซื้อสินค้าออนไลน์เป็นที่นิยมและมาแรง (Virtual Market) ช่วงที่ผ่านมามีการใช้ผ่านแพลตฟอร์มโซเชียลเน็ตเวิร์กเต็มรูปแบบ เพราะมีความสะดวกทั้งแชท-แชร์-คลิก-การชำระเงิน-การจัดส่งแบบ Express อนาคตการซื้อขายออนไลน์จะมีสัดส่วนสูงมากกว่าการค้าปลีกแบบ Physical Market ทำให้เจ้าของสินค้าหันมาใช้ด้านประชาสัมพันธ์บนโฆษณาออนไลน์และมีเม็ดเงินจำนวนมากขึ้นเพราะเป็นช่องทางที่ผู้บริโภคเข้าถึง กระทบต่อธุรกิจสื่อสิ่งพิมพ์ต่างๆ การขายบนโซเชียลเน็ตเวิร์กไม่ใช่ของมือสมัครเล่นอีกต่อไป กลุ่มธุรกิจค้าปลีกขนาดใหญ่กำลังมีการลงทุนเปิดช่องทางจำหน่ายออนไลน์ และมีการจัดตั้งศูนย์กระจายสินค้าและ Express ของตนเอง การขายออนไลน์มีทั้งผู้จำหน่ายในประเทศและข้ามประเทศ (Cross Border) ซึ่งมีแนวโน้มขยายตัวในอนาคตจะกระทบกับรายย่อย Value ล้านบาท B2C : 30% มูลค่า 731,823 ล้านบาทB2B : 14% มูลค่า 343,866 ล้านบาท B2S : 25% มูลค่า 643,033 ล้านบาท

14 ลำดับขั้นการปรับตัวก้าวผ่านการเปลี่ยนแปลงยุค 4.0
จำลองภาพธุรกิจในอนาคต และจัดทำกลยุทธ์ให้สอดคล้อง (Business New Design) 2. การเตรียมพร้อมรับ มือการเปลี่ยนแปลง (Threat From Technology & Innovation) 1. ความว่องไว และยืดหยุ่นในการปรับตัว (Agility & Flexibility) 3. New Business Model กำหนดรูปแบบธุรกิจซึ่งสอดคล้อง กับการแข่งขันรูปแบบใหม่ 7. ผู้ประกอบการ –ผู้บริหาร Business Entreneur ขีดความสามารถของธุรกิจ ไม่ได้ลดลงแต่คู่แข่งมาแรงกว่า (Competitor Analysis) 4. โอกาสการก้าวผ่านอุตสาหกรรม 4.0 (Transforming to Industry 4.0, Opportunity or Disruptive) 6. การเตรียมคนให้พร้อม เพื่อการก้าวผ่าน (People Transform) 5. ที่มา : ดร.ธนิต โสรัตน์ (2017)

15 New Business Model Design โมเดลธุรกิจรับมือให้สอดคล้องกับ บริบทใหม่ของธุรกิจ-อุตสาหกรรม
Smart Business การปรับธุรกิจให้สอดคล้องกับนวัตกรรม-เทคโนโลยี New Demand Conforming โมเดลธุรกิจใหม่ต้องสอดรับกับพฤติกรรมการบริโภค ทั้งการเข้าถึงข้อมูล, รูปแบบสินค้า-บริการ และช่องทางจัดจำหน่าย Upskill & HRD การให้ได้มาซึ่งทักษะเกี่ยวข้องกับการเพิ่มผลิตภาพ แรงงานและการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ Cyber Lean Production & Supply Chain Design การออกแบบระบบการผลิต ดิจิทัลและโซ่อุปทานการผลิตที่ซับซ้อน Agility – Flexibility – ability การปรับเปลี่ยนธุรกิจให้มีความคล่องตัว, มีความ ยืดหยุ่นและมีความสามารถในการเข้าถึงโอกาสของการเปลี่ยนแปลง

16 Changing with Industry 4

17 END


ดาวน์โหลด ppt รองประธานสภาองค์การนายจ้างผู้ประกอบการค้าและอุตสาหกรรมไทย

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google