ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยอภิญญา ชินวัตร ได้เปลี่ยน 6 ปีที่แล้ว
1
Guideline on Good Corporate Governance for Insurance Companies in Thailand
1/11/48
2
Good Corporate Governance
คณะกรรมการบรรษัทภิบาลแห่งชาติ คณะอนุกรรมการยกระดับ CORPORATE GOVERNANCE ด้านธนาคารพาณิชย์ บริษัทเงินทุน และบริษัทประกันภัย คณะกรรมการส่งเสริมยกระดับธรรมาภิบาลในธุรกิจประกันภัย 1/11/48
3
แนวทางปฏิบัติในการกำกับดูแลกิจการที่ดี ของบริษัทประกันภัย
1. คณะกรรมการของบริษัท (Board of Directors) 1.1 แนวทางปฏิบัติในเรื่องโครงสร้าง คุณสมบัติ หน้าที่ และความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริษัทเพื่อส่งเสริมธรรมาภิบาลของบริษัทประกันภัย 1.2 คู่มือกรรมการบริษัทประกันภัย 2. คุณสมบัติและความเหมาะสมของบุคลากร (Fit and Proper) 2.1 ผู้มีอำนาจควบคุมกิจการ 2.2 ผู้บริหารระดับสูง 2.3 นักคณิตศาสตร์ประกันภัย 2.4 ผู้สอบบัญชี 1/11/48
4
แนวทางปฏิบัติในการกำกับดูแลกิจการที่ดี ของบริษัทประกันภัย (ต่อ)
3. การควบคุมภายใน (Internal Control) 3.1 แนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับการควบคุมภายใน 4. การตรวจสอบภายใน (Internal Audit) 4.1 แนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับการตรวจสอบภายใน 5. การกำกับการปฏิบัติงาน (Compliance Function) 5.1 แนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับการกำกับการปฏิบัติงาน 1/11/48
5
แนวทางปฏิบัติในการกำกับดูแลกิจการที่ดี ของบริษัทประกันภัย (ต่อ)
6. ข้อพึงปฏิบัติที่ดีของธุรกิจประกันภัย (Code of Best Practice) จัดทำโดยสมาคมประกันชีวิตไทยและสมาคมประกันวินาศภัย 6.1 ข้อพึงปฏิบัติที่ดีของบริษัทประกันชีวิต 6.2 ข้อพึงปฏิบัติที่ดีของบริษัทประกันวินาศภัย 7. ความโปร่งใสและการเปิดเผยข้อมูล (Transparency and Disclosure) 1/11/48
6
โครงสร้างของคณะกรรมการและคณะกรรมการชุดย่อย
ร่างแนวทางปฏิบัติในเรื่องโครงสร้าง คุณสมบัติ หน้าที่ และความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริษัทเพื่อส่งเสริมธรรมาภิบาลของบริษัทประกันภัย โครงสร้างของคณะกรรมการและคณะกรรมการชุดย่อย ของบริษัทประกันภัย คณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการชุดย่อย 2.1 คณะกรรมการตรวจสอบ 2.2 คณะกรรมการบริหารจัดการความเสี่ยง 2.3 คณะกรรมการพิจารณาการลงทุน 1/11/48
7
คณะกรรมการบริษัทประกันภัย
คุณสมบัติ : กรรมการต้องมีคุณสมบัติตามกฎหมายที่เกี่ยวข้องกำหนด องค์ประกอบ : - คณะกรรมการบริษัทต้องมีจำนวนไม่น้อยกว่า 7 คน - ต้องเป็นกรรมการอิสระอย่างน้อย 1 ใน 4 - เป็นกรรมการบริหารได้ไม่เกิน 1 ใน 2 หน้าที่ความรับผิดชอบ 1/11/48
8
กรรมการอิสระ คุณสมบัติของกรรมการอิสระ
ไม่ถือหุ้นเกิน 0.5% ของทุนชำระแล้วของบริษัท ไม่มีส่วนร่วมในการบริหารงานในบริษัทประกันภัย ไม่มีผลประโยชน์หรือส่วนได้เสียไม่ว่าทางตรงหรือทางอ้อม ไม่เป็นผู้เกี่ยวข้องหรือญาติสนิทของผู้บริหารระดับสูงหรือผู้ถือหุ้น รายใหญ่ 1/11/48
9
คณะกรรมการชุดย่อย คณะกรรมการชุดย่อยที่บริษัทประกันภัยต้องจัดตั้งขึ้น
1. คณะกรรมการตรวจสอบ (Audit Committee) องค์ประกอบและคุณสมบัติ มีจำนวนไม่น้อยกว่า 3 คน เป็นกรรมการที่ไม่เป็นผู้บริหาร โดยต้องได้รับแต่งตั้งจากคณะกรรมการหรือ ที่ประชุมผู้ถือหุ้นบริษัท ประกอบด้วยกรรมการอิสระอย่างน้อย 2 คน มีความรู้ความชำนาญที่เหมาะสม หน้าที่ความรับผิดชอบ 1/11/48
10
คณะกรรมการชุดย่อย (ต่อ)
2. คณะกรรมการบริหารจัดการความเสี่ยง (Risk Management Committee) องค์ประกอบและคุณสมบัติ มีจำนวนไม่น้อยกว่า 3 คน โดยจะต้องได้รับการแต่งตั้งจากคณะกรรมการบริษัท ประกอบด้วยกรรมการ และหรือ ผู้บริหารของบริษัท กรรมการส่วนใหญ่ต้องมีความรู้ ความชำนาญ และความเข้าใจเกี่ยวกับความเสี่ยงโดยรวม หน้าที่ความรับผิดชอบ 1/11/48
11
คณะกรรมการชุดย่อย (ต่อ)
3. คณะกรรมการพิจารณาการลงทุน (Investment Committee) องค์ประกอบและคุณสมบัติ มีจำนวนไม่น้อยกว่า 3 คน โดยจะต้องได้รับการแต่งตั้งจากคณะกรรมการบริษัท ประกอบด้วยกรรมการ และหรือ ผู้บริหารของบริษัท กรรมการส่วนใหญ่ต้องมีความรู้ ความชำนาญ และความเข้าใจเกี่ยวกับการลงทุน ตลาดเงินและตลาดทุน หน้าที่ความรับผิดชอบ 1/11/48
12
คณะกรรมการชุดย่อยที่บริษัทประกันภัยควรจัดตั้ง
คณะกรรมการสรรหา (Nominating Committee) คณะกรรมการกำหนดค่าตอบแทน (Remuneration Committee) คณะกรรมการพิจารณาการรับประกันภัย (Underwriting Committee) คณะกรรมการจัดการค่าสินไหมทดแทนหรือการใช้เงินตามกรมธรรม์ประกันชีวิต (Claim Settlement Committee) 1/11/48
13
ร่างคู่มือกรรมการบริษัทประกันภัย
บทที่ 1 บทบาทและหน้าที่ของคณะกรรมการ ซึ่งมีอยู่ 2 ด้าน คือ บทบาทของคณะกรรมการด้านปฏิบัติการ บทบาทของคณะกรรมการด้านกำกับดูแล 1/11/48
14
ร่างคู่มือกรรมการบริษัทประกันภัย (ต่อ)
บทที่ 2 ภาระความรับผิดของกรรมการ ตามหลักเกณฑ์ที่กฎหมายกำหนด มีดังนี้ หลักเกณฑ์ว่าด้วยความระมัดระวังตามสมควร หลักเกณฑ์ว่าด้วยความซื่อสัตย์ หลักเกณฑ์ว่าด้วยความเข้าใจในธุรกิจขององค์กร หลักเกณฑ์ว่าด้วยหน้าที่ในการเข้าร่วมประชุมคณะกรรมการ 1/11/48
15
ร่างคู่มือกรรมการบริษัทประกันภัย (ต่อ)
บทที่ 3 โครงสร้างของคณะกรรมการ จำนวนกรรมการในคณะกรรมการของบริษัทประกันภัย องค์ประกอบของคณะกรรมการของบริษัทประกันภัย การจัดให้มีคณะกรรมการย่อย 1/11/48
16
คุณสมบัติและความเหมาะสมของบุคลากร (Fit and Proper)
ผู้มีอำนาจควบคุมกิจการ ผู้บริหารระดับสูง นักคณิตศาสตร์ประกันภัย ผู้สอบบัญชี 1/11/48
17
การควบคุมภายใน (Internal Control)
องค์ประกอบของระบบการควบคุมภายใน สภาพแวดล้อมของการควบคุม (Control Environment ) การประเมินและบริหารความเสี่ยง (Risk Assessments) การควบคุมทางด้านโครงสร้างและวิธีการปฏิบัติงาน (Control Activities) ระบบสารสนเทศและการสื่อสารข้อมูล (Information and Communication) ระบบการติดตาม (Monitoring) 1/11/48
18
การควบคุมภายใน (ต่อ) 1. สภาพแวดล้อมของการควบคุม ประกอบด้วยปัจจัยดังนี้
1. สภาพแวดล้อมของการควบคุม ประกอบด้วยปัจจัยดังนี้ 1.1 คณะกรรมการบริษัท ตระหนักถึงความสำคัญของการกำกับดูแล กิจการที่ดี และจัดให้มีระบบการควบคุมภายในที่เหมาะสมและมีประสิทธิผล 1.2 ผู้บริหารของบริษัท บริหารการดำเนินธุรกิจของบริษัทด้วยความระมัดระวังและเหมาะสม 1.3 การควบคุมทางด้านโครงสร้างและวิธีการปฏิบัติงาน เพื่อให้การบริหารจัดการความเสี่ยงของบริษัทเป็นไปอย่างเหมาะสม 1.4 การตรวจสอบอย่างเป็นอิสระเพื่อติดตามประสิทธิภาพของการควบคุมทางด้านโครงสร้างและวิธีการปฏิบัติงาน 1/11/48
19
การควบคุมภายใน (ต่อ) 2. การประเมินและการบริหารความเสี่ยง โดยจัดให้มีกระบวนการเพื่อ 2.1 ระบุและประเมินความเสี่ยงที่บริษัทกำลังเผชิญอยู่ 2.2 ควบคุมด้านโครงสร้างและวิธีการปฏิบัติงานให้สามารถบริหารจัดการความเสี่ยงได้อย่างเหมาะสม ด้วยความระมัดระวัง 2.3 สอบทานการควบคุมด้านโครงสร้างและวิธีการปฏิบัติงานอย่างสม่ำเสมอ 2.4 จัดระบบรายงานให้ผู้บริหารทราบ 1/11/48
20
การควบคุมภายใน (ต่อ) 3. การควบคุมด้านโครงสร้างและวิธีการปฏิบัติงาน ประกอบด้วย 3.1 การควบคุมด้านโครงสร้าง ประกอบด้วย - การจัดทำข้อพึงปฏิบัติที่ดี - การจัดทำแผนการดำเนินธุรกิจ - การกำหนดนโยบายด้านบุคลากร 1/11/48
21
การควบคุมภายใน (ต่อ) 3.2 การควบคุมด้านการปฏิบัติงาน ประกอบด้วย
3.2 การควบคุมด้านการปฏิบัติงาน ประกอบด้วย - การจัดทำคู่มือเกี่ยวกับการควบคุม - ระดับของอำนาจในการอนุมัติที่ชัดเจน - การแบ่งแยกหน้าที่และความรับผิดชอบ - การควบคุมด้านบัญชี และการบันทึกข้อมูลทางบัญชี - ระบบการบริหาร การเก็บรักษา และควบคุมทรัพย์สิน หนี้สิน - นโยบายและวิธีการประเมินราคาทรัพย์สิน หนี้สิน 1/11/48
22
การควบคุมภายใน (ต่อ) 4. ระบบสารสนเทศและการสื่อสารข้อมูล
4.1 ระบบสารสนเทศ 4.2 การควบคุมและรักษาความปลอดภัยด้านสารสนเทศ 5. ระบบการติดตาม 1/11/48
23
การตรวจสอบภายใน (Internal Audit)
การตรวจสอบภายในของบริษัท อาจกระทำได้โดยหน่วยงานดังต่อไปนี้ หน่วยงานตรวจสอบภายในของบริษัทหรือหน่วยงานตรวจสอบภายในของกลุ่มบริษัท ผู้ตรวจสอบภายในจากภายนอกกิจการ (Outsource) 1/11/48
24
การตรวจสอบภายใน (ต่อ)
ตามมาตรฐานการประกอบวิชาชีพตรวจสอบภายในที่ The Institute of Internal Auditors กำหนดขึ้น ได้กล่าวถึงความเป็นอิสระของผู้ตรวจสอบภายใน ดังนี้ สถานภาพในองค์การ ความมีใจเป็นอิสระ 1/11/48
25
การตรวจสอบภายใน (ต่อ)
คุณสมบัติของผู้ตรวจสอบภายใน ความรู้ในวิชาชีพ คุณสมบัติส่วนตัว เช่น มีความเชื่อมั่นในตนเอง มีความซื่อสัตย์สุจริต วางตัวเป็นกลาง มีความอดทน เป็นต้น 1/11/48
26
การตรวจสอบภายใน (ต่อ)
การจัดทำคู่มือการตรวจสอบภายใน แบ่งเป็นสาระสำคัญได้ 3 ส่วน คือ ด้านเทคนิคการตรวจสอบ ด้านการบริหาร การปฏิบัติงานด้านอื่นๆ เช่น กฎหมาย ระเบียบข้อบังคับ 1/11/48
27
การตรวจสอบภายใน (ต่อ)
กระบวนการตรวจสอบ การสำรวจขั้นต้น การประเมินความเสี่ยง การจัดทำแนวการตรวจสอบภายใน การปฏิบัติงานตรวจสอบภาคสนาม การจัดทำรายงานและติดตามผล 1/11/48
28
การกำกับการปฏิบัติงาน (Compliance Function)
ความรับผิดชอบต่อการกำกับการปฏิบัติงานของคณะกรรมการบริษัท ความรับผิดชอบต่อการกำกับการปฏิบัติงานของ ผู้บริหารระดับสูง หน้าที่ของผู้บริหารระดับสูง 1/11/48
29
การกำกับการปฏิบัติงาน (ต่อ)
หน้าที่การกำกับการปฏิบัติงาน (Compliance Function) บริษัทประกันภัยต้องกำหนดหน้าที่การกำกับการปฏิบัติงานไว้อย่างชัดเจน บทบาทและความรับผิดชอบของหน่วยงานกำกับการปฏิบัติงาน ทำการระบุหรือค้นหา ประเมินและติดตามการปฏิบัติงาน 1/11/48
30
การกำกับการปฏิบัติงาน (ต่อ)
ผู้ปฏิบัติหน้าที่กำกับการปฏิบัติงาน ผู้อำนวยการหน่วยงานกำกับการปฏิบัติงาน เจ้าหน้าที่กำกับการปฏิบัติงาน 1/11/48
31
Question & Answer 1/11/48
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.