งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

อาหารเพื่อการป้องกัน & ควบคุมโรคจากวิถีชีวิต

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "อาหารเพื่อการป้องกัน & ควบคุมโรคจากวิถีชีวิต"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 อาหารเพื่อการป้องกัน & ควบคุมโรคจากวิถีชีวิต
อาหารเพื่อการป้องกัน & ควบคุมโรคจากวิถีชีวิต ดร.สุกัญญา เจริญวัฒนะ คณะวิทยาศาสตร์การกีฬา มหาวิทยาลัยบูรพา บางแสนชลบุรี Tel/Fax;

2 หัวข้อ วิถีชีวิตที่เสี่ยงต่อการเกิดโรค โรคไม่ติดต่อที่ป้องกันได้
อาหารวิเศษมีจริงหรือไม่?

3 วิถีชีวิตที่เสี่ยงต่อการเกิดโรค
เคยตั้งคำถามกับชีวิตหรือไม่ว่า ทำสิ่งเหล่านี้เพื่ออะไร? กินอะไรซ้ำๆ ทำอะไรแบบเคยชิน ได้ยินอะไรก็เชื่อ เบื่อแล้วก็หยุดซะงั้น

4 ผลการวิจัยพบว่าถ้าอยู่ในกลุ่มเพื่อนหรือคนใกล้ชิด ที่อ้วนมักเป็นปัจจัยทำให้อ้วน

5 การที่มีเนื้อเยื่อไขมัน สะสมมาก จากการเพิ่มขนาดของเซลใหญ่ขึ้น
โภชนาการเพื่อสุขภาพ:ภาวะโรคอ้วน อ้วนคืออะไร ? ความอ้วนคือ..... การที่มีเนื้อเยื่อไขมัน สะสมมาก จากการเพิ่มขนาดของเซลใหญ่ขึ้น

6 อาหารวิเศษมีจริงหรือไม่?
สารอาหารที่ทำให้อ้วนมี 3 ชนิดคือ น้ำตาลทราย, อาหารประเภทน้ำตาลเชิงเดี่ยว 2. น้ำมันพืชที่ใช้ปรุงอาหารไม่ว่าจะเป็นน้ำมันอะไร 3 แอลกอฮอล์ คำแนะนำ ควรบริโภคน้ำตาลไม่เกิน 4-6 ช้อนชาต่อ 1 วัน (1 ช้อนชา= 30 แคลอรี) 2. ควรบริโภคน้ำมันไม่เกิน 6-8 ช้อนโต๊ะต่อ 1 วัน (1 ช้อนโต๊ะ= 130 แคลอรี) 3 ควรดื่มไม่เกิน 1-2 แก้วปกติ

7 โภชนาการเพื่อสุขภาพ:ภาวะโรคอ้วน
Endermologie (MFB,1995)

8 เซลล์ของไขมันสามารถขยายขนาด
โภชนาการเพื่อสุขภาพ:ภาวะโรคอ้วน เซลล์ของไขมันสามารถขยายขนาด

9 เซลล์ไขมันมีการเปลี่ยนแปลง 2 ชนิดคือ
โภชนาการเพื่อสุขภาพ:ภาวะโรคอ้วน FAT CELL เซลล์ไขมันมีการเปลี่ยนแปลง 2 ชนิดคือ HYPERTROPHY การเพิ่มขนาดของเซลไขมัน 1 เซลล์มีขนาดใหญ่ขึ้น เกิดในช่วงอายุมากกว่า 13 ปี HYPERPLASIA การเพิ่มปริมาณเซลไขมัน จาก 1เป็น 2 ในช่วงอายุ 8-12 ปี

10 รูปร่างของคนแบ่งเป็น 2 ประเภทคือ
โภชนาการเพื่อสุขภาพ:ภาวะโรคอ้วน รูปร่างของคนแบ่งเป็น 2 ประเภทคือ ลูกแพร์ แอปเปิ้ล Type of Morphology (MFB, 1999)

11 วิถีชีวิตที่เสี่ยงต่อการเกิดโรค
ปัจจัยเสี่ยงที่เปลี่ยนแปลงไม่ได้ เพศ อายุ พันธุกรรม

12 วิถีชีวิตที่เสี่ยงต่อการเกิดโรค
รู้จริงหรือเปล่ากับสิ่งเหล่านี้ หลีกเลี่ยงอาหารไขมันสูง เลิกบุหรี่ ออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ ทำจิตใจให้ผ่องใส

13 อาหารทำให้อ้วนและหลอดเลือดอุดตัน
วิถีชีวิตที่เสี่ยงต่อการเกิดโรค อาหารทำให้อ้วนและหลอดเลือดอุดตัน : SFA

14 อาหารไขมันอิ่มตัวสูง ทำให้อ้วนและหลอดเลือดอุดตัน
วิถีชีวิตที่เสี่ยงต่อการเกิดโรค อาหารไขมันอิ่มตัวสูง ทำให้อ้วนและหลอดเลือดอุดตัน

15 ปริมาณวิตามินซีในผลไม้ 100 กรัม (ต่อ)
ปริมาณวิตามินซีในผลไม้ 100 กรัม (ต่อ) (สถาบันวิจัยโภชนาการมหิดล, 2545) ผลไม้ หน่วยมิลลิกรัม ฝรั่ง มะขามเทศ มะปราง มะขามหวาน ส้มเกลี้ยง ส้มโอ มะละกอสุก เงาะ มะม่วงสุก น้อยหน่า มะนาว ทุเรียน แคนตาลูป 145 133 100 75 65 52 49 47 46 41 34 พุทรา สัปปะรด ส้มเขียวหวาน ชมพู่เขียว กล้วยน้ำว้า ทับทิม ลูกหวาย แตงโม มะยม ลางสาด ลำใย แอปเปิ้ล องุ่น 25 17 15 13 12 7 5 6 4 3

16 การทำงานของสารต้านอนุมูลอิสระเช่น
วิตามิน A,C, E

17 การเปรียบเทียบผลไม้สด และแห้ง 100 กรัม (สถาบันวิจัยโภชนาการมหิดล, 2545)
สด(แคลอรี่) แห้ง(แคลอรี่) มะพร้าว 55 449 สับปะรด 61 353 ลำใย 76 319 มะขาม 77 314 อินทผาลัม - 292 พุทรา 89 281 ลูกเกด 271 กล้วยน้ำว้า 122 256 ลิ้นจี่ 65 233 ลูกพลับ 52 225

18 วิถีชีวิตที่เสี่ยงต่อการเกิดโรค
เป้าหมายสำคัญทางคลินิกของ การปรับพฤติกรรม วิเคราะห์สิ่งแวดล้อมที่เอื้อให้เกิดความเสี่ยง เรียงลำดับขั้นการปฏิบัติแบบค่อยเป็นค่อยไป ใช้สิ่งแวดล้อมสังคมและกายภาพเป็นตัวช่วย มีเทรนเนอร์ให้ปรึกษาเมื่อมีปัญหา

19 BMI = BW (kg.) [HT(m.)]2 โภชนาการเพื่อสุขภาพ:ภาวะโรคอ้วน < 18.5
underweight 18.5 to 24.9 healthy 25 to 29.9 overweight 30 to 34.9 grade 1 obesity 35 to 39.9 grade 2obesity ≥ 40 grade 3 (morbid obesity) Figure Mortality and BMI ACSM (2001). ACSM's Resource Manual for Guidelines for Exercise Testing and Prescription, 4th ed., pg 7.

20 โรคไม่ติดต่อคืออะไร คือโรคที่ไม่ได้เกิดจาก เชื้อโรคโดยตรง
โรคไม่ติดต่อที่ป้องกันได้ โรคไม่ติดต่อคืออะไร คือโรคที่ไม่ได้เกิดจาก เชื้อโรคโดยตรง และส่วนใหญ่เกิดจากพฤติกรรม การดำเนินชีวิตและพันธุกรรม

21 โรคอ้วน เบาหวาน ความดันโลหิตสูง
โรคไม่ติดต่อที่ป้องกันได้ โรคอ้วน เบาหวาน ความดันโลหิตสูง ทำให้หลอดเลือดเสื่อมเร็วขึ้น เกิดขึ้นกับหลอดเลือดทั่วร่างกาย แต่ที่จะมีปัญหามาก ก็คือหลอดเลือดที่ตา ไต สมอง และหัวใจ เป็นต้นเหตุสำคัญของอัมพาต ไตวาย และโรคหัวใจขาดเลือด การควบคุมระดับน้ำตาล ในเลือดและความดันโลหิตให้อยู่ในเกณฑ์ปกติ จะช่วยชะลอการดำเนินโรคได้

22 เป้าหมายหลัก อาหารวิเศษมีจริงหรือไม่? A = HbA1C = FBS < 7% < 126
< 126 ลดอาหารน้ำตาลสูง(น้ำตาลทรายไม่เกิน 6-8 ข้อนชาต่อวัน) BP = BLOOD PRESSURE ≤ 140/90 ออกกำลังกาย C = TOTAL CHOLESTEROL LDL HDL MEN = WOMEN = TRIGLYCERIDE <200 mg/dl <160 mg/dl >40 >50 <150 mg/dl -ลดเนื้อสัตว์,นม,เนย ลดกะทิ,ไขมันพืช

23 อาหารวิเศษมีจริงหรือไม่?
ตารางแสดงอัตราส่วน ความเสี่ยงคลอเลสเตอรอล Score/Ratio Risk 6 high 5 above average 4.5 average 4 below average 3.5 low Total cholesterol HDLcholesterol ตัวเลขที่คำนวณมีค่าต่ำกว่า 4.5 จะแสดงว่ามีความเสี่ยงต่ำในการเป็นโรคหลอดเลือดหัวใจตีบ

24 อาหารทะเลที่มีคลอเลสเตอรอลสูง
ปริมาณ 100 กรัม (1 ขีด) (สถาบันวิจัยโภชนาการมหิดล, 2545) ชนิดอาหาร ปริมาณ คลอเลสเตอรอล(mg) ปริมาณโซเดียม(mg) ปูทะเล 361 - ปลาหมึกกล้วย 251 254 หอยนางรม 231 76 กุ้งทะเล 192 184 หอยแครงลวก 195 506 หอยแมลงภู่สด 148 221 ปลากะพงขาว 84 57 ปลาเก๋า 54 165 ปลาสำลี 72 284 ปลาจะระเม็ดขาว 166

25 ความดันโลหิตสูงและโรคหัวใจ
โรคไม่ติดต่อที่ป้องกันได้ ความดันโลหิตสูงและโรคหัวใจ ผู้ที่ดื่มมากกว่า 3 หน่วยสุราทุกวันมีโอกาสความดันโลหิตสูงเป็นปัจจัยเสี่ยงทำให้เกิดโรคหัวใจ และโรคหลอดเลือดสมอง ผู้ที่ดื่มครั้งละมากกว่า 8 หน่วยสุราต่อครั้งจะมีโอกาสเป็นโรคหัวใจมากกว่าคนปกติ 2 เท่า ผู้ดื่มสุราเป็นปริมาณมากและเรื้อรังจะมีโอกาสเป็นโรคหัวใจวาย 

26 โรคไม่ติดต่อที่ป้องกันได้

27 โรคไม่ติดต่อที่ป้องกันได้
แอลกอฮอล์ (ต่อ) แอลกอฮอล์ถูกดูดซึมเข้าสู่กระแสเลือดแล้ว บางส่วนจะเข้าไปในปอดแล้วขับออกมาทางลมหายใจ จึงตรวจวัดปริมาณแอลกอฮอล์ในเลือดโดยทางหายใจ ดื่มเบียร์ 10 แก้ว หรือไวน์ 2 ขวด ต่อให้นอนหลับไปนานถึง 8 ชั่วโมง ก็ยังมีปริมาณแอลกอฮอล์ตกค้างอยู่ในกระแสเลือดมากเกินขีดที่กฎหมายอนุญาตให้ขับขี่ยวดยานได้ ตับจะใช้เวลาประมาณ 1 ชั่วโมง ในการย่อยสลายแอลกอฮอล์ 10 กรัม

28 โรคตับ ไขมันจับที่ตับ Fatty liver พบได้บ่อย
โรคไม่ติดต่อที่ป้องกันได้ โรคตับ ไขมันจับที่ตับ Fatty liver พบได้บ่อย ตับอักเสบ พบร้อยละ ของผู้ดื่มสุรามาก ตับจะใช้เวลาประมาณ 1 ชั่วโมง ในการย่อยสลายแอลกอฮอล์ 10 กรัม ร้อยละ จะเป็นตับแข็ง ผู้ที่ดื่มสุราและไม่ค่อยรับประทานอาหารจะมีโอกาสเป็นตับแข็งสูงและมะเร็งตับ

29 ดื่มเท่าไหร่ จึงพอดี สำนักงานอาหารแห่งชาติออสเตรเลียให้นิยาม
อาหารวิเศษมีจริงหรือไม่? แอลกอฮอล์ (ต่อ) ดื่มเท่าไหร่ จึงพอดี สำนักงานอาหารแห่งชาติออสเตรเลียให้นิยาม "ขนาดดื่มมาตรฐาน" (standard alcoholic drink หรือเรียกย่อว่า sd) หมายถึงปริมาณเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์อยู่ 10กรัม 1 ดื่มมาตรฐาน ได้แก่ เบียร์แอลกอฮอล์ต่ำ แก้วใหญ่ 425 ม.ล., เบียร์ธรรมดา แก้วกลาง 285 ม.ล., ไวน์ แก้วเล็ก 100 ม.ล., เชอร์รี่ แก้วเล็ก 60 ม.ล., เหล้า 1 เป๊ก 30 ม.ล.

30 อาหารวิเศษมีจริงหรือไม่?
ร่างกายของเราต้องการสารอาหารอะไร?

31 อาหารวิเศษมีจริงหรือไม่?
อาหารคือสิ่งที่เรารับเข้าสู่ร่างกายมี 5 หมู่ได้แก่เนื้อสัตว์, ข้าว&แป้ง,ไขมัน,ผักและผลไม้ สารอาหารคือสารเคมีที่เป็นส่วนประกอบในอาหารได้แก่ โปรตีน, คาร์โบไฮเดรต, ไขมัน,วิตามินและเกลือแร่

32

33 ระยะเวลาและปริมาณการเปลี่ยนสารอาหารเป็นน้ำตาล ชนิดอาหาร
% การเปลี่ยนเป็นกลูโคส เวลาที่ใช้เปลี่ยน คาร์โบไฮเดรตเชิงเดี่ยว เช่นผลไม้,น้ำอัดลม 100% 15-30 นาที คาร์โบไฮเดรตเชิงซ้อน เช่น ข้าวเจ้า,ข้าวโพด 90-100% 30-90 โปรตีน เช่นเนื้อสัตว์,นม 58% 3-4 ชั่วโมง ไขมัน เช่นน้ำมันจากสัตว์และพืช 10-30% หลายชั่วโมง

34 อาหารวิเศษมีจริงหรือไม่?
ปริมาณสารอาหาร ที่มีอยู่ในร่างกาย 1. น้ำมีร้อยละ 60-65 2. โปรตีนร้อยละ 20 3. ไขมันร้อยละ 10 4. คาร์โบไฮเดรต มีน้อยกว่าร้อยละ 1 5. เกลือแร่ร้อยละ 4 สัดส่วนของอาหารที่ต้องรับประทาน 100% คาร์โบไฮเดรต(60%) ไขมัน(25 %) โปรตีน(15 %)

35 McDONALD’S Nutritional Information Center, 2004
Energy (cal) Carbohydrate (g) Protein FAT Cholesterol (mg) Sodium (mg) Big Mac 500 43 26 25 75 340 Hamberger 260 14 11 40 270 Mcnuggets 6 pieces 290 17 18 70 170 Mac Fries Medium 360 45 5 68 88 McDONALD’S Nutritional Information Center, 2004

36 Energy (cal) Carbo hydrate (g) Protein FAT Cholesterol (mg) Sodium (mg) Coke 16 oz 100 26 Lemon Iced Tea 190 32 5 Orange Juice 200 50 Iced coffee float 350 64 7 8 McDONALD’S Nutritional Information Center, 2004

37 น่องไก่ 1 ชิ้น 280 กิโลแคลอรี่ ขนมกรุบกรอบ 1 ถุง 170 กิโลแคลอรี่ วิ่งประมาณ 1 ชั่วโมง วิ่ง 20 นาที น้ำอัดลม 1 กระป๋อง 240 กิโลแคลอรี่ พิซซ่า 1 ชิ้น 219 กิโลแคลอรี่ ว่ายน้ำ ครึ่งชั่วโมง ว่ายน้ำ ครึ่งชั่วโมง


ดาวน์โหลด ppt อาหารเพื่อการป้องกัน & ควบคุมโรคจากวิถีชีวิต

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google