งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

Management system at Dell

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "Management system at Dell"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 Management system at Dell
The supply chain Management system at Dell sdfdsfsdfs

2 สมาชิกในกลุ่ม 1. นางสาวทิพย์สุดา ยุปา 5506105022
1. นางสาวทิพย์สุดา ยุปา 2. นางสาวนฤมล คำคง 3. นางสาวปิยะธิดา แสนเรือน 4. นางสาวเพชรรัตน์ ชัยวงศ์ 5. นางสาวระวิวรรณ บุญเป็ง

3 การก่อตั้งธุรกิจ Dell
บริษัทที่ถูกก่อตั้งโดย Michael S. Dell เมื่อปี 1983 เดิมทีนั้นโฟกัสอยู่ที่การขาย desktop computer ผ่านมากว่า 20 ปี Dell เติบโตขึ้นเป็นผู้ผลิตคอมพิวเตอร์รายใหญ่ของโลก กับการที่มีต้นทุนที่ต่ำ ถือว่าเป็นสิ่งที่อยู่เหนือกว่าคู่แข่งขัน ในปี 1984 Michael จดทะเบียนบริษัทด้วยชื่อ PC Limited ซึ่งสามารถขายได้ประมาณ 50,000-80,000 ดอลลาร์ต่อเดือนจากการขายให้คนในท้องที่ใกล้ ๆ และในปลายปีก็จดทะเบียนบริษัทใหม่ชื่อ Dell Computer ด้วยเงินลงทุนเริ่มต้นเพียง1,000ดอลลาร์

4 การก่อตั้งธุรกิจ Dell (ต่อ)
ในปี 1985 Dell Computerถูกก่อตั้งขึ้น โดย Michael Dell เพื่อขายคอมพิวเตอร์ PC ผ่านระบบ จดหมาย โดยให้ลูกค้าสั่งแบบ Build to order Dell ขายคอมพิวเตอร์ให้กับลูกค้าโดยตรง ติดต่อกับผู้จัดส่งชิ้นส่วนโดยตรง และประสานงานกับพนักงานโดยตรงเช่นกัน ทั้งหมดทำโดยปราศจากขั้นตอนที่ไม่จำเป็นและไม่มีประสิทธิภาพคั่นอยู่ตรงกลาง เลยแม้แต่น้อย Michael เรียกสิ่งนี้ว่า "ต้นแบบตรง (Direct Model)" และใช้คำว่า "ตรงสู่จุดสูงสุด (Direct to the top)" เป็นคำขวัญประจำ Dell โดยมีกลยุทธ์การแข่งขันคือ

5 การก่อตั้งธุรกิจ Dell (ต่อ)
"เข้าตลาด อย่างรวดเร็ว ให้บริการที่เหนือกว่า มุ่งมั่นพัฒนาสินค้าที่ดีที่สุดให้ลูกค้า เปิดโอกาสให้ลูกค้าสั่งประกอบเครื่องคุณภาพสูงด้วยตนเอง จัดหาเทคโนโลยีที่ทันสมัยที่สุดให้ลูกค้า และเข้าสู่อินเทอร์เน็ตตั้งแต่ตอนเริ่มต้น"

6 การก่อตั้งธุรกิจ Dell (ต่อ)

7 การก่อตั้งธุรกิจ Dell (ต่อ)
ใน ปี 1986 เนื่องจาก Dell พูดคุยกับลูกค้าตลอดเวลา ทำให้รู้ดีว่าลูกค้าต้องการอะไร ซึ่งนี่คือสิ่งจำเป็นสำหรับบริษัทที่มีธุรกิจบนพื้นฐานความต้องการของลูกค้า อย่าง Dell ตั้งแต่การออกแบบ เข้าสู่กระบวนการผลิต และไปจนถึงออกจำหน่าย ทั้งหมดล้วนอยู่บนพื้นฐานความต้องการของลูกค้าเป็นสำคัญ Dell พบปะลูกค้าทั้งทางโทรศัพท์ แบบตัวต่อตัว ไปจนถึงการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเรื่องของสินค้าการให้บริการและความต้องการ ทำให้ไม่จำเป็นต้องมีสินค้าคงคลังขนาดใหญ่เพื่อเก็บสินค้า

8 การก่อตั้งธุรกิจ Dell (ต่อ)
ในปี 2000 ในอุตสาหกรรมเดียวกันนั้น Dell ถือว่ามีโครงสร้างต้นทุนที่ต่ำที่สุด เพราะว่าระบบที่ถูกสร้างขึ้นมานั้นถูกสร้างเมื่อถูกสั่ง inventory ก็จะถูกเก็บในระดับที่ต่ำ ทำให้ Dell สามารถที่จะส่งให้กับลูกค้าในต้นทุนที่ต่ำ ในปี 2001 พบว่า Dell มีการถือ inventory เพียง 5 วันเท่านั้น การปฏิสัมพันธ์กันกับลูกค้านั้น Dell โฟกัสไปที่ข้อมูลมากกว่าที่จะสร้างความสัมพันธ์Dell ใช้เครื่องมือที่หลากหลายแตกต่างกันเพื่อบริการลูกค้า เพื่อเป็นการสร้าง CRM กับลูกค้า เพื่อช่วยแก้ปัญหาให้กับลูกค้า เช่น ปัญหาเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์, คำแนะนำลูกค้า, ดาวโหลด, อัพเกรดข่าวสารใหม่, FAQ, สถานการณ์สั่งซื้อ และอีกมากมาย

9 การก่อตั้งธุรกิจ Dell (ต่อ)
Dell มีการเก็บฐานข้อมูลของลูกค้า โดยการใช้เครื่องมือที่ชื่อว่า Data mining เพื่อเรียนรู้เกี่ยวกับการพยายามทำให้ลูกค้าพึงพอใจ ซึ่งเป็นฐานข้อมูลที่ช่วยปรับปรุงด้านการตลาดได้อย่างดี Intrabusiness EC การให้บริการ Build to order เป็นการพัฒนาการวางแผนความต้องการ และการผลิตของโรงงาน เพื่อลดเวลาในการสั่งซื้อถึงการส่งมอบ เพิ่มบริการลูกค้า คู่ค้าของ Dell ก็ได้รับสิ่งใหม่สำหรับระบบการวางแผน Supply Chain และ Dell ยังมีโรงงานอัตโนมัติที่มีความสามารถในการวางแผนและจัดการคลังสินค้าโดยใช้ IT และ E-supply chain The Results

10 การก่อตั้งธุรกิจ Dell (ต่อ)
ในปี 2002 Dell สามารถลดการถือ inventory เป็น 4 วัน Dell เริ่มมีร้านขายตรงขายโดยพนักงาน Dell ปี 2009 Dell ทำการ Build to order ในโมเดลขนาดใหญ่ ประโยชน์ในการแยกตัวเป็นกลาง ( online ) กับโมเดลแบบแรก คือ ช่วยลดคลังสินค้าและระบบหมุนเวียนด้านการเงินจะดีกว่า Dell ได้พบความต้องการสินค้าเป็นระดับที่ใหญ่สำหรับสินค้าคุณภาพ Dell ได้เริ่มต้นกับรูปแบบ EC ใหม่ๆ E-procurement กับการซื้อส่วนประกอบของอะไหล่( วัตถุดิบ ) Collaborative Commerce กับคู่ค้า Intrabusiness EC ระบบการบริหารงานภายในองค์กร

11 การก่อตั้งธุรกิจ Dell (ต่อ)
ภาพ Michael S. Dell ผู้ก่อตั้ง Dell

12 การเปลี่ยนแปลงในการผลิต
การรวมกันกับการ focus ใหม่ๆ ในการขยายการขายตรง Dell ได้เริ่ม modify โมเดลการผลิตในการสนับสนุนประสิทธิภาพการค้าปลีก ไมเคิล ได้รับ ไมเคิล แคนนอน ซึ่งเป็นผู้บริหารระดับสูงของ Solectron ซึ่งเป็นผู้นำในด้าน Contract manufacturer เพื่อที่จะมาปรับปรุง Supply chain ของ Dell โดยทาง Dell ได้ shift เข้าสู่การทำ ผลิตภัณฑ์ที่มีปริมาณเยอะ ลดความสามารถในการเลือกโครงร่างภายนอก และ การตอบสนองตลาดอย่างทันท่วงที

13 การเปลี่ยนแปลงในการผลิต (ต่อ)
Dell มีเป้าหมายในประหยัดค่าใช้จ่ายภายในปี 2011 โดยเริ่มต้นกับการลดค่าใช้จ่าย 2 สิ่ง คือ ลด COGS และ Opex กับการที่ต้องลด COGS นั้น Dell ต้องใช้เครือข่ายในการผลิตทั่วโลกในการออกแบบ supply chain , ลด development time , ออกแบบ design ให้ตรงตามความต้องการผู้บริโภคและลดความซับซ้อน สำหรับการลด Opex นั้น Dell จะต้องลดเงินชดเชยและต้นทุนด้านผลประโยชน์ลดจำนวนบุคลากรปรับปรุงความสามารถ ในการผลิตและการใช้จ่ายอย่างระมัดระวังรอบคอบ

14 Business Model 1. Make to order
การ make to order เป็นช่องทางของการค้าขายคอมพิวเตอร์ที่ต้องผ่านตัวกลางหรือ retailer มาคั่นกลางเอาไว้ ดังนั้นเมื่อ Michael Dell จึงได้มีความพยายามตัดตัวกลางตรงนี้ออกไป ถึงแม้นว่าในปัจจุบันนี้ Dell ได้มีตัวกลางแล้วก็ตาม แต่ก็เพื่อตอบสนองความต้องการของลูกค้าที่มีความต้องการที่แตกต่างกันในแต่ ละพื้นที่นั่นเอง และกับการ make to order นี้ลูกค้าสามารถที่จะสั่งได้ทั้งทางโทรศัพท์และทางอินเตอร์เน็ตในเว็บไซต์ Dell.com ก็ได้ ยังเป็นราคาที่ต่ำกว่าท้องตลาดที่ผู้บริโภคจะได้รับจาก Dell นั่นเอง กับการที่มีเว็บไซต์มาบริการทำให้รูปแบบการขายของ Dell เปลี่ยนไปจากเดิม

15 Business Model 1. Make to order

16 Business Model 2. Supply chain 36 ชั่วโมง

17 Business Model 2. Supply chain
Dell ประสบความสำเร็จจากธุรกิจโมเดลนี้ ด้วยการกระบวนการผลิตที่มีประสิทธิภาพ การจัดการ supply chain ที่ดีกว่าคู่แข่ง ประหยัดค่าใช่จ่ายในการกระจายสินค้าผ่านคนกลาง ทั้งยังสามารถกระจายสินค้าจากโรงงานตรงไปยังลูกค้าได้รวดเร็ว และการที่ Dell ได้รับรู้ความต้องการโดยตรงจากลูกค้า ทำให้ Dell เห็นภาพเทรนด์ของตลาดได้อย่างชัดเจน

18 Business Model 2. Supply chain
ผู้เล่นใน supply chain ของ Dell เหลือเพียง 3 กลุ่มหลัก คือ suppliers, ผู้ผลิต (ซึ่งก็คือ Dell เอง) และลูกค้า ในขณะที่คู่แข่งรายอื่นๆ จะต้องมีถึง 4-5 กลุ่มใน supply chain คือ จาก suppliers, ผู้ผลิต, ผู้กระจายสินค้า หรือผู้ค้าส่ง, ผู้ค้าปลีก และลูกค้า การที่ Dell ติดต่อขายสินค้าให้ลูกค้าโดยตรง เอื้อประโยชน์ให้ Dell ได้หลายอย่าง เช่น

19 Business Model 2. Supply chain
1. เอื้อให้สามารถแบ่งตลาด (market segments) ได้อย่างเหมาะสม เพราะได้ทราบความต้องการจริงจากลูกค้าโดยตรง 2. สามารถวิเคราะห์ความต้องการของลูกค้า และความสามารถการทำกำไรในแต่ละกลุ่ม segment ได้ 3. การคาดเดาความต้องการของลูกค้า (demand forecast) ทำได้ดีและแม่นยำขึ้น ซึ่งแน่นอนว่านี่ทำให้การจัดการ supply chain มีประสิทธิภาพมากขึ้น

20 Build-to-order ดิ๊ก ฮันเตอร์ รองผู้จัดการของDellด้านปฏิบัติการผลิตในสหรัฐฯกล่าวว่า “เราไม่มีทางรู้ล่วงหน้าว่าจะมีการสั่งจองสินค้าแต่ละวัน ดังนั้น การออกแบบระบบปฏิบัติงานที่ยืดหยุ่นจะเป็นเรื่องทำให้ผลผลิตเพิ่มขึ้นหรือลดลงตามต้องการได้”

21 Build-to-order ตัวอย่างเช่น ในระบบของDellนั้น เมื่อใดที่มีการขาดแคลนชิ้นส่วนคอมพิวเตอร์ใดเกิดขึ้น การสนองตอบอย่างทันใจ จะเกิดขึ้น โดยบริษัทจะเสนอสินค้าใหม่ที่กำลังอยู่ในช่วงโปรโมชั่นเอาไปชดเชยให้

22 Build-to-order การกำกับดูแลแบบ real time ในชิ้นส่วนสินค้าคงคลังที่มีประสิทธิภาพ ทำให้DellและSupplier มองเห็นปัญหาที่เกิดขึ้นในชิ้นส่วนแต่ละชนิดอย่างละเอียดถี่ถ้วน ขั้นตอนแรกสุด เป็นการเพิ่ม lead time ที่จะให้คำแนะนำแก่ลูกค้ารายใหม่ๆ ที่ต้องการให้ preferred configuration ว่าจะมีการส่งมอบช้าไปเป็นประมาณ 8-10 วัน มิใช่ 5 วัน ตามปกติ

23 Competitive Advantage
ปัจจัยในความสำเร็จที่สำคัญที่สุดประการหนึ่งของ Dell คือการมีพันธมิตรทางธุรกิจแข็งแกร่ง ซึ่งทำให้ Dell สามารถบริหารสินค้า คงคลังอย่างมีประสิทธิภาพ พันธมิตรทางธุรกิจของ Dell ช่วยให้บริษัทสามารถนำผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ ออกสู่ตลาดได้อย่างสม่ำเสมอโดยใช้เวลาน้อยมากเช่น สามารถ นำเครื่องคอมพิวเตอร์รุ่นใหม่ที่ใช้ซีพียูรุ่นล่าสุดของอินเทล (Intel) ออกสู่ตลาดได้ในวันเดียวกันกับที่อินเทลนำซีพียูรุ่นดังกล่าวออกสู่ตลาด

24 Competitive Advantage
บริษัท Dell มีการจัดการความรู้ที่ยอดเยี่ยมมาก เมื่อเทียบกับผู้ผลิตและจำหน่ายเครื่องคอมพิวเตอร์รายอื่น ดังนี้ 1. Dell ขายสินค้าตามคำสั่งของลูกค้าแต่ละราย ทั้งนี้เพราะ Dell เข้าใจธุรกิจของคอมพิวเตอร์ว่ามีการเปลี่ยนแปลงเร็วมากสินค้าล้าสมัยได้ ง่าย การที่จะผลิตเก็บเข้าคลังสินค้าเพื่อรอขายจึงมีความเสี่ยงมากและทำให้ต้นทุน สูง

25 Competitive Advantage
2. Dell นำระบบซัพพลายเชนและระบบบริหารลูกค้าสัมพันธ์มาใช้โดยการจัดการความรู้ทั้งส่วนการสร้างความรู้, การ Capture, การ Sharing knowledgeเพื่อที่จะสามารถตอบสนองความต้องการของลูกค้าและ Supplier ได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3. Dell มีพันธมิตรทางธุรกิจที่แข็งแกร่ง เช่น Microsoft ซึ่งการมีพันธมิตรทางธุรกิจจะช่วยในการดึงและ Share เอา knowledge ของพันธมิตรและของ Dell มาใช้ในการพัฒนาและปรับปรุงงานให้เกิดประโยชน์สูงสุด

26 SWOT Analysis

27 SWOT Analysis (ต่อ) จุดแข็ง (Strength)
โมเดลการดำเนินธุรกิจที่เรียกว่า Direct Business Model ถือได้ว่าเป็นเครื่องมือที่ทำให้ Dell ประสบความสำเร็จมาจนทุกวันนี้ โดยให้ความสำคัญกับ การบริหารห่วงโซ่อุปทาน และ การขายตรงของ Dell มีคุณภาพอย่างมาก เป็น make to order โดยมีการใช้ Information technology และ CRM ให้กับลูกค้า ทำให้ลูกค้าสามารถที่เลือกชิ้นส่วนที่ลูกค้าต้องการได้เพื่อให้ตรงตามความ ต้องการ ทำให้ลด inventory อย่างมาก

28 SWOT Analysis (ต่อ) จุดอ่อน (Weakness)
Dell เป็น computer maker ไม่ใช่ computer manufacturer จึงซื้อ ผู้ผลิตชิ้นส่วนที่ไฮเทคซึ่งถือเป็นข้อได้เปรียบในเทอมของการปฏิบัติการทาง ธุรกิจ ทำให้ Dell ไปโฟกัสการตลาดและการ logistics แต่ว่า supplier ขนาดใหญ่ที่น่าไว้วางใจก็จะมีน้อย ดังนั้นในช่วงเวลาหนึ่งไม่สามารถหาตัวแทนได้เมื่อเกิดปัญหาขึ้น ในระยะสั้นก็จะ switch ไปหา supplier รายใหญ่รายอื่นยาก

29 SWOT Analysis (ต่อ) โอกาส (Opportunity)
- การเปิดเสรีทางการค้าในหลายๆประเทศทำให้ต้นทุนในการผลิตก็จะถูกลง - การพัฒนาและประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์เข้ากับอุปกรณ์ อิเล็กทรอนิกส์ และเครื่องใช้ต่างๆ เช่น โทรศัพท์มือถือ ทีวี รถยนต์ เป็นต้น ทำให้เกิดโอกาสที่จะขยายการดำเนินธุรกิจไปยังผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ เหล่านี้ - อินเทอร์เน็ตทำให้เกิดช่องทางในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ที่เกี่ยว ข้องกับการสื่อสาร เปิดโอกาสให้ดำเนินธุรกิจได้หลากหลายมากขึ้น

30 SWOT Analysis (ต่อ) ภัยคุกคาม (Threat)
- ในสภาวะที่เศรษฐกิจฝืดเคืองอาจจะส่งผลให้ผู้บริโภคมีกำลังซื้อที่น้อยลง โดยเฉพาะสินค้าที่ฟุ่มเฟือยอย่าง คอมพิวเตอร์ - อุตสาหกรรมนี้มีความเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วและมีการแข่งขันกันค่อนข้างสูง และคู่แข่งขันก็ยังมีอยู่เป็นจำนวนมาก - สภาพการแข่งขันในตลาดคอมพิวเตอร์เริ่มอิ่มตัว - การเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วของเทคโนโลยี ทำให้สินค้าในอุตสาหกรรมนี้มีวงจรชีวิตค่อนข้างสั้น - ความเสี่ยงจากการแข่งขันทางด้านราคาค่อนข้างสูง

31 บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทบาทของเดลล์ที่มีต่อเทคโนโลยีสารสนเทศ โดยมากจะเป็นเรื่องของความสามารถของเดลล์ที่ทำให้ต้นทุนการเข้าถึงเทคโนโลยี สารสนเทศของโลกโดยรวมลดต่ำลง ผู้บริโภคเข้าถึงเทคโนโลยีสารสนเทศ โดยเฉพาะคอมพิวเตอร์ได้ง่ายขึ้น เพราะเดลล์มีสถานะในลักษณะ “เครื่องจักรด้านการขายและโลจิสติกส์ที่มีค่าต่ำมาก” มาโดยตลอด

32 บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศ (ต่อ)
ส่วนในด้านการผลิตนวัตกรรมนั้น เดลล์ไม่ได้เน้นการผลิตนวัตกรรมในเชิงเทคโนโลยีมากเท่าใด แต่จะเน้นการสร้างนวัตกรรมในเชิงการผลิต ซึ่งก็เพื่อทำให้ธุรกิจของเดลล์เข้มแข็งขึ้นนั่นเอง นวัตกรรมด้านการผลิตของเดลล์นั้นก็มีมากมาย เช่น การลดรอบเวลากระบวนการ กำจัดของเสียความสูญเปล่าในการขาย การพยากรณ์อุปสงค์ให้แม่นยำ การลดต้นทุนการทำงาน เพิ่มรอบหมุนสินค้าคงคลัง เพิ่มประสิทธิภาพในแง่สินทรัพย์ที่หน่วยผลิตใช้

33 Dell กับ ปัญหาในเรื่องการผลิต
เดลล์จะเน้นไปที่การผลิตหรือเน้นไปที่การบริการ จากเดิมที่เดลล์เน้นการเอาท์ซอร์สเรื่องการผลิตชิ้นส่วนให้กับซัพพลายเออร์ มาโดยตลอด และมุ่งเน้นการประกอบคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลตามคำสั่งของลูกค้าและบริการจัด ส่งรวมถึงการบริการต่อเนื่องต่างๆ แต่หลังจากปี2007 เดลล์เริ่มปรับกลยุทธ์ เช่น การรวบรวมกิจการกับบริษัทที่ผลิตชิ้นส่วนต่างๆ การเริ่มปรับปรุงกระบวนการผลิตเพื่อสนับสนุนการขายปลีก การหันมาเน้นผลิตภัณฑ์ราคาสูง ลดต้นทุนขาย

34 Dell กับ ปัญหาในเรื่องการผลิต (ต่อ)
แนวทางการแก้ไข คือ เน้นหน้าที่หลักขององค์กรไปที่การเป็นผู้ให้บริการสินค้าทางด้าน เทคโนโลยีมากขึ้น เน้นบทบาทของตนเองจากผู้ผลิตมาเป็นผู้ให้บริการเน้นการจัดหาสินค้าเทคโนโลยี ครบวงจรแทน ที่วางตัวเป็น “เครื่องจักรด้านการขายและลอจิสติกส์ที่มีค่าต่ำมาก” มากขึ้นเรื่อยๆ

35 สุดยอดการบริหารห่วงโซ่อุปทาน : Dell
ลอจิสติกส์ มีมาตั้งแต่สมัยโบราณกาลโดยเฉพาะในแวดวงทหาร เป็นปัจจัยชี้ขาดการแพ้ชนะสงคราม “สงคราม รู้แพ้รู้ชนะตั้งแต่ยังไม่ได้เริ่มต้น” ปัจจุบันได้กลายเป็นปัจจัยที่ใช้วัดความสามารถในการแข่งขันทั้ง ของบริษัท และของประเทศ

36 สุดยอดการบริหารห่วงโซ่อุปทาน : Dell (ต่อ)
จุดเริ่มต้น จุดสุดท้าย จากความซับซ้อนข้างต้นจึงจำเป็นต้องมีระบบบริหารห่วงโซ่อุปทาน (SCM) เพื่อให้มั่นใจว่ากิจกรรมเหล่านี้ทำงานร่วมกันอย่างราบรื่นและมีประสิทธิภาพสูงสุด

37 สุดยอดการบริหารห่วงโซ่อุปทาน : Dell (ต่อ)
ปัจจัยสำคัญในการเพิ่มประสิทธิภาพของ ห่วงโซ่อุปทาน กำจัดสิ่งที่สูญเปล่าในทุกจุดของ ห่วงโซ่อุปทาน ทำให้สั้นที่สุด รวดเร็วที่สุด ข้อมูลแบบ Real time

38 สุดยอดการบริหารห่วงโซ่อุปทาน : Dell (ต่อ)
ไม่ได้เป็นบริษัทผลิตคอมพิวเตอร์ แต่เป็นธุรกิจการบริหารห่วงโซ่อุปทานด้านคอมพิวเตอร์

39 สุดยอดการบริหารห่วงโซ่อุปทาน : Dell (ต่อ)
เดลล์มีความรู้และเข้าใจ SCM อย่างลึกซึ้ง กลยุทธสำคัญคือ Direct Sales ขายตรง Built to Order ผลิตตามสเปกที่ลูกค้าสั่ง การดำเนินการจริงจะยุ่งยากในด้าน scm เนื่องจากจะต้องมีชิ้นส่วนที่หลากหลายแบบเพื่อสนองความต้องการของลูกค้าที่แตกต่างกันไป ยิ่งกว่านั้นยังต้องมีระบบลอจิสติกส์ที่มีประสิทธิภาพสูงเพื่อจัดส่งสินค้าไปยังลูกค้าให้รวดเร็ว

40 สุดยอดการบริหารห่วงโซ่อุปทาน : Dell (ต่อ)
ดำเนินธุรกิจในรูปแบบ Virtual Company โดยการผลิตคอมพิวเตอร์ของบริษัทเดลล์ จะเป็นเพียงการขันน๊อตประกอบชิ้นส่วนต่าง ๆ เข้าเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์เท่านั้น ไม่มีการผลิตชิ้นส่วนต่าง ๆ ด้วยตัวเองแม้แต่ชิ้นเดียว

41 สุดยอดการบริหารห่วงโซ่อุปทาน : Dell (ต่อ)
สินค้าคงคลังของ ABC 3.8 วัน 30 – 45 วัน

42 สุดยอดการบริหารห่วงโซ่อุปทาน : Dell (ต่อ)
ปัจจัยสำคัญต่อความสามารถในการแข่งขัน คือ จะต้องจัดการในด้าน SCM อย่างมีประสิทธิภาพสูง โดยต้องประสานงานกับบริษัทต่างๆ ที่รับช่วงงานเพื่อให้มั่นใจว่าการดำเนินการเป็นไปตามเป้าหมายที่กำหนด จากการบริหารอย่างมีประสิทธิภาพ ทำให้บริษัทเดลล์สามารถจัดส่งคอมพิวเตอร์ไปยังลูกค้าอย่างรวดเร็ว ขณะเดียวกันมีสินค้าคงคลังต่ำมากเพียงแค่ 3.8 วันเท่านั้นเปรียบเทียบกับคู่แข่งที่มีสินค้าคงคลังจำนวนมากถึง 30 – 45 วันเพื่อให้เกิดความมั่นใจ ถึงแม้จะมีสินค้าคงคลังต่ำมาก แต่ก็ไม่เกิดผลกระทบทำให้การผลิตหยุดชะงักหากส่งชิ้นส่วนป้อนไม่ทัน

43 สุดยอดการบริหารห่วงโซ่อุปทาน : Dell (ต่อ)
บริษัทเดลล์ได้กำหนดให้ผู้ผลิตชิ้นส่วนจะต้องมีโรงงานหรือคลังสินค้าห่างจาก โรงงานประกอบคอมพิวเตอร์ของตนเองโดยใช้เวลาขนส่งไม่เกิน 15 – 30 นาทีโดยมีชิ้นส่วนคงคลังสามารถป้อนโรงงานประกอบคอมพิวเตอร์เพื่อใช้ผลิตได้ อย่างต่ำ 5 – 10 วันและสามารถจัดส่งชิ้นส่วนมาเติมในสายการผลิตเพื่อทำการผลิตได้ภายในเวลาเพียง แค่ 90 นาทีเท่านั้น

44 สุดยอดการบริหารห่วงโซ่อุปทาน : Dell (ต่อ)
เป็นที่น่าสังเกตว่าเดลล์เป็นบริษัทคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่เพียง แห่งเดียวเท่านั้นที่ยังคงมีโรงงานประกอบเครื่องคอมพิวเตอร์แบบตั้งโต๊ะใน สหรัฐฯ ซึ่งนับว่าแตกต่างจากบริษัทขนาดใหญ่อื่นๆ ที่ย้ายฐานประกอบคอมพิวเตอร์แบบตั้งโต๊ะไปยังประเทศอื่นที่มีต้นทุนด้านแรง งานต่ำกว่าโดยจะส่งคอมพิวเตอร์ที่ประกอบแล้วมาเก็บในคลังสินค้าในสหรัฐฯ เพื่อรอคำสั่งซื้อของลูกค้า

45 สุดยอดการบริหารห่วงโซ่อุปทาน : Dell (ต่อ)
เหตุผลที่บริษัทเดลล์ยังคงตั้งโรงงานในสหรัฐฯ เนื่องจากตระหนักว่าหากตั้งโรงงานประกอบคอมพิวเตอร์แบบตั้งโต๊ะในต่างประเทศ จะทำให้ Supply Chain ของตนเองยาวเกินไปก่อให้เกิดความเสี่ยงเพิ่มขึ้นในด้านต่างๆ - การเปลี่ยนแปลงในอุปสงค์ - การล้าสมัยของผลิตภัณฑ์ ยิ่งไปกว่านั้น คอมพิวเตอร์แบบตั้งโต๊ะมีน้ำหนักมากถึง 30 – 40 กก. จึงเสียค่าใช้จ่ายสูงมากหากจะจัดส่งด่วนโดยทางอากาศจากต่างประเทศมายัง ลูกค้าที่สั่งซื้อในสหรัฐฯ แต่สำหรับโน๊ตบุ๊คเดลล์ได้จัดทำจากเอเซียทั้งหมดเพราะการขนส่งมีน้ำหนักเบา ค่าขนส่งไม่แพงเมื่อเทียบกับเครื่อง pc

46 สุดยอดการบริหารห่วงโซ่อุปทาน : Dell (ต่อ)
ต้นทุนในด้านลอจิสติกส์ สูงกว่าต้นทุนด้านแรงงานเนื่องจากมีการประกอบเองเพียงเล็ก ๆ น้อย ๆ เดลล์ให้เลือกตั้งฐานประกอบคอมพิวเตอร์ขึ้นที่รัฐเทนเนสซีเพื่อให้อยู่ใกล้กับศูนย์กระจายสินค้าของบริษัทขนส่งพัสดุทางอากาศ FedEx เดลล์ยังให้ความสนใจสูงสุดในการบริการลูกค้าโดยจะควบคุมการให้บริการอย่างเข้มงวดเพื่อความพอใจสูงสุด

47 สุดยอดการบริหารห่วงโซ่อุปทาน : Dell (ต่อ)
เมื่อประสบปัญหาเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ที่ไม่สามารถแก้ไขได้ด้วยตัวเอง ลูกค้าสามารถเชื่อมโยงกับอินเตอร์เน็ตในระบบ บอร์ดเบนด์ พนักงานจะ ล็อกออน เข้าไปยังเครื่องของลูกค้าผ่านเครือข่ายเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างรวดเร็วโดยไม่ต้องส่งพนักงานมายังที่ทำงานของลูกค้าเลย

48


ดาวน์โหลด ppt Management system at Dell

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google