งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

คณะที่ 1 การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัยและระบบควบคุมโรค

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "คณะที่ 1 การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัยและระบบควบคุมโรค"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 คณะที่ 1 การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัยและระบบควบคุมโรค
ประเด็นการพัฒนาสุขภาพ:กลุ่มวัยเรียน กรมอนามัย กรมควบคุมโรค สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา

2 ภาวะโภชนาการเด็กวัยเรียนอายุ 5 – 14 ปี
สถานการณ์ภาวะเริ่มอ้วน +อ้วนนักเรียนอายุ 5 – 14 ปี จากระบบ HDC ปี เขตสุขภาพที่ 12 (N = 217,552 คน) ณ 25 ธ.ค.58 จังหวัด ร้อยละ เริ่มอ้วน+อ้วน เทียบลำดับ ของประเทศ 1 สตูล 15.6 19 2. พัทลุง 12.4 42 3. ตรัง 10.3 55 4. สงขลา 10.0 57 ยะลา 7.2 67 นราธิวาส 6.9 71 7. ปัตตานี 3.0 76 ภาพรวม 10.2 (N=18,442 คน) 10 ภาพรวมประเทศ ร้อยละ 12.5 จำนวนเด็กที่ ชั่ง นน./สส. = 2,545,072 คน

3 สถานการณ์ภาวะโภชนาการนักเรียนอายุ 6-14ปีภาพรวมปี2558
เตี้ยภาพรวม10% ผอม13%ผอมและเตี้ย6% อ้วน6% แหล่งข้อมูล:สพป.พัทลุง

4 อำเภอที่มีภาวะเตี้ย ≥ ร้อยละ 10 มีจำนวน 5 อำเภอ (ร้อยละ 45.45)
อำเภอที่มีภาวะเตี้ย ≥ ร้อยละ 10 มีจำนวน 5 อำเภอ (ร้อยละ 45.45) มีพื้นที่เสี่ยงที่มีภาวะเตี้ยสูงมากกว่าร้อยละ15 อยู่ 18 รร. อ.ป่าพะยอม อ.กงหรา อ.บางแก้ว อ.ศรีนครินทร์ 10.65 อ.ป่าบอน รายชื่อโรงเรียน ร้อยละ 1.โรงเรียนวัดบ่วงช้าง 18.86 2.โรงเรียนอนุบาลเมืองพัทลุง 18.69 3.โรงเรียนวัดควนแร่ 16.15 4.โรงเรียนวัดตำนาน(วรพัฒนประชาสรรค์) 23.94 5.โรงเรียนอนุบาลเมืองพัทลุง 6.โรงเรียนวัดหรังแคบ 30.91 7.โรงเรียนวัดป่าตอ 25.0

5 อำเภอที่มีภาวะเตี้ย ≥ ร้อยละ 10 มีจำนวน 5 อำเภอ (ร้อยละ 45.45)
อำเภอที่มีภาวะเตี้ย ≥ ร้อยละ 10 มีจำนวน 5 อำเภอ (ร้อยละ 45.45) มีพื้นที่เสี่ยงที่มีภาวะเตี้ยสูงมากกว่าร้อยละ18อยู่ รร. อ.ป่าพะยอม อ.กงหรา อ.บางแก้ว อ.ศรีนครินทร์ 10.65 อ.ป่าบอน รายชื่อโรงเรียน ร้อยละ 8.โรงเรียนบ้านธรรมเถียร 19.05 9.โรงเรียนบ้านบ่อทราย 16.67 10.โรงเรียนบ้านทุ่งชุมพล 19.33 11.โรงเรียนบ้านถ้ำลา 33.63 12.โรงเรียนบ้านนาวง 36.13

6 มีพื้นที่เสี่ยงที่มีภาวะเตี้ยสูงมากกว่าร้อยละ15อยู่ 18 รร.(ต่อ)
รายชื่อโรงเรียน ร้อยละ 13.โรงเรียนวัดเขาวังก์ 21.79 14.โรงเรียนบ้านทอนตรน 17.69 15.โรงเรียนบ้านต้นประดู่ 22.22 16.โรงเรียนบ้านพรุนายขาว 18.27 17.โรงเรียนบ้านทุ่งคลองควาย 20.66 18.โรงเรียนบ้านหนองธง 17.39

7 มีพื้นที่เสี่ยงที่มีภาวะอ้วน
≥ร้อยละ 10.0) รายชื่อโรงเรียน ร้อยละ 1.โรงเรียนอนุบาลพัทลุง 10.77 2.โรงเรียนบ้านมะกอกใต้ 13.97 3.โรงเรียนบ้านนาโหนด 10.53 4.โรงเรียนวัดลานแซะ 13.47 5.โรงเรียนวัดพังดาน 11.66 6.โรงเรียนวัดตะแพน 12.03

8 ข้อมูลสูงดีสมส่วนเด็กวัยเรียนปี2558

9 ร้อยละของค่าเฉลี่ยปริมาณพลังงานและสารอาหารที่นักเรียน อายุ 5 – 14 ปี ได้รับจากอาหารกลางวันโรงเรียนต่อคนเทียบกับความต้องการของร่างกายใน 1 มื้อ เป้าหมาย อย่างน้อยร้อยละ 70ของความต้องการใน 1 มื้อ จำนวนทั้งหมด 15 สำรับ

10 จุดเสี่ยงของมาตรการแก้ไขปัญหานักเรียนผอม,เตี้ย
1. แผนปฏิบัติงาน มาตรการ ยังไม่ครอบคลุมถึงการลดภาวะผอมและเตี้ย ซึ่งสถานการณ์ของจังหวัดเพิ่มสูงขึ้นถึงร้อยละ10 จึงควรมีมาตรการเร่งด่วนในการลดภาวะผอมและเตี้ยชัดเจน 2. ทีม ติดตามงานวัยเรียน ยังไม่ครอบ คลุมถึงผู้รับผิดชอบงาน ซึ่งดูแลเด็กกลุ่มเสี่ยงที่มี Obesity sign และทีม SKC ควรดูแลเด็กเตี้ยด้วยโดยมีการจัดตั้ง School Health Manager 3. การคัดกรองเด็กกลุ่มเสี่ยง ยังไม่เห็นการ set ระบบและแนว ปฏิบัติชัดเจน 4. การจัดกิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ อาจไม่ครอบคลุมโรงเรียนเป้าหมายแก้ไขปัญหาเด็กผอมและเตี้ย เนื่องจากมีโรงเรียนเข้าร่วมกิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ของกระทรวงศึกษาธิการ ควรผลักดัน สนับสนุนให้โรงเรียนเป้าหมายแก้ปัญหาผอม เตี้ยทุกโรงเรียนได้ดำเนินการกิจกรรมดังกล่าวด้วย

11 โอกาสพัฒนา ข้อสังเกต โอกาสพัฒนา
1. จังหวัดมีแผนงานโครงการพัฒนาโรงเรียนต้นแบบตามแนวพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี - พัฒนาโรงเรียน-ชุมชนต้นแบบให้ครอบคลุมทุกกิจกรรม ส่งเสริมกลุ่มแม่บ้าน – ผู้ปกครอง – นักเรียน พัฒนาสูตร-ผลิตอาหาร ขนม เครื่องดื่มสุขภาพ เพื่อเป็นทางเลือกให้กับโรงเรียน-ชุมชน เรียนรู้จากโรงเรียนในพระราชดำริฯ 2. คุณภาพของข้อมูลและการเฝ้าระวังการเจริญเติบโตของนักเรียน มีการสุ่มสำรวจข้อมูลและการเฝ้าระวังการเจริญเติบโตของนักเรียน 46โรง

12 โอกาสพัฒนา ข้อสังเกต โอกาสพัฒนา
3. คุณภาพอาหารกลางวันยังไม่ได้มาตรฐานโภชนาการ พัฒนาศักยภาพครูโครงการอาหารกลางวัน แม่ครัว ด้านการปรุงประกอบอาหารตามมาตรฐานโภชนาการ แนะนำให้โรงเรียนใช้โปรแกรมสำเร็จรูป Thai School Lunch ในการพัฒนาเมนูอาหารรายเดือน

13 ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนา
วิเคราะห์หาความเชื่อมโยงของเด็กที่มีภาวะโภชนาการ ต่ำกว่าเกณฑ์เพื่อนำสู่การแก้ไขปัญหาที่ตรงประเด็นเช่น -การรับประทานอาหารเช้า -การบริโภคขนมกรุบกรอบ น้ำหวาน น้ำอัดลม -ภาวะสุขภาพช่องปาก -ภาวะเจ็บป่วยเช่น หวัด ,ท้องร่วงฯ การติดตามนิเทศหน้างานระดับพื้นที่เพื่อการพัฒนา คืนข้อมูลให้กับพื้นที่

14 อยู่ระหว่างดำเนินการ
Small Success 3 เดือน กิจกรรม ผลงาน หมายเหตุ แต่งตั้งคณะกรรมการลดอ้วนระดับจังหวัด อำเภอ อยู่ระหว่างดำเนินการ แผนปฏิบัติงานลดอ้วนระดับจังหวัด อำเภอ และโรงเรียน / ยังไม่ครอบคลุมทุกโรงเรียน รายชื่อโรงเรียนเป้าหมาย และรายชื่อ นักเรียนอ้วนกลุ่มเสี่ยง 4. ข้อมูลการชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง นักเรียน เทอม 2 ปี 2558 การคัดกรองเด็กอ้วนกลุ่มเสี่ยงที่มี Obesity sign ส่งต่อระบบ Service plan และคลินิก DPAC 6. การพัฒนา SKC & SKL (ทีมจังหวัด เข้ารับการอบรมกับกรมอนามัย วันที่ 9-10 ก.พ.59) มีทีม SKC อำเภอ เตรียมอบรม SKC SKL โรงเรียนเป้าหาย

15 อัตราการเสียชีวิตจากการจมน้ำของเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี ไม่เกิน 6
อัตราการเสียชีวิตจากการจมน้ำของเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี ไม่เกิน 6.5 ต่อแสนประชากรเด็กต่ำกว่า 15 ปี

16 แหล่งข้อมูล : สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข
อัตราการเสียชีวิตต่อประชากรเด็กแสนคน จากการจมน้ำของเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี พ.ศ – จังหวัดพัทลุง จำแนกรายปี แหล่งข้อมูล : สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข

17 จำนวนทีมผู้ก่อการดีระดับทองแดง
พื้นที่เสี่ยงมาก เป้าหมายตัวชี้วัด จำนวนทีมผู้ก่อการดีระดับทองแดง 6 ทีม

18 มาตรการและการดำเนินงานสร้างทีมผู้ก่อการดี
ทบทวนข้อมูลการเสียชีวิตจาก 19 สาเหตุ ,สนย., สอบสวนการจมน้ำ ,สำรวจความเสี่ยงเด็กต่อการบาดเจ็บ สิ่งที่ต้องทำต่อ คืนข้อมูลชุมชน 1 ข้อมูลสถานการณ์ สาธารณสุข + มูลนิธิร่มไทร สำรวจแหล่งน้ำจุดเสี่ยง และความลึก สิ่งที่ต้องทำต่อ คืนข้อมูล อปท. ชุมชน + จัดการแหล่งน้ำเสี่ยง 2 การจัดการแหล่งน้ำเสี่ยง ให้ความรู้แก่ผู้มารับบริการใน รพสต. และ รพ.สต. ให้ชุมชน + ประสาน สพฐ สอดแทรกเนื้อหาในช่วง การเรียน เช่น ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ 4 การให้ความรู้ สำรวจแหล่งน้ำเสี่ยงในและนอกศูนย์ฯ +แก้ไขทันที หากต้องใช้งบต้องแก้ไขภายในมกราคม + ให้ความรู้ครูพี่เลี้ยง สิ่งที่ต้องทำต่อ ติดตามผลการแก้ไขความเสี่ยง 3 ศูนย์เด็กเล็ก สคร.12 ได้จัดอบรมสร้างครู ก สอนว่ายน้ำเพื่อเอาชีวิตรอดในวันที่ ธ.ค.58 จังหวัดสตูลเข้าร่วม 8 คน เป็นทีมของกู้ชีพกู้ภัยและ สสจ. ดังเอกสารแนบรายชื่อเครือข่ายอบรมครู ก สื่อสารในเวทีต่างๆ สิ่งที่ต้องทำต่อ การสื่อสารผลการสอบสวนเพื่อกระตุ้นตุ้นชุมชน 6 สื่อสารประชาสัมพันธ์ มีแผนดำเนินการอบรมครู ข สิ่งที่ต้องทำต่อ เร่งรัดการประสานหาทีมผู้ก่อการดีตามเป้าหมายจังหวัดอำเภอละ 1 ทีม และเตรียมขยายครู ข เพื่อสอนเด็ก/ประชาชนในพื้นที่ 5 สอนหลักสูตรว่ายน้ำเพื่อเอาชีวิตรอด

19 ผลการดำเนินงานสร้างทีมผู้ก่อการดีจังหวัดพัทลุง
Small sucess ผลงาน แผนงานโครงการ/แนวทางสนับสนุนการแก่ทีมผู้ก่อการดีของสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด มีทีมผู้ก่อการดีที่สมัครใจดำเนินการป้องกันการจมน้ำ 6 อำเภอๆละ 1 ทีม รวม 6 ทีม 8 อำเภอ สมัครใจดำเนินการ เมือง เขาชัยสน ป่าบอน กงหรา ควนขนุน บางแก้ว ศรีนครินทร์ ตะโหมด มีแนวทางดำเนินการ ดังนี้ จัดประชุมราชการชี้แจงมาตรการดำเนินงานแก่ทุกอำเภอ นิเทศติดตามการดำเนินงานของทีมผู้ก่อการดี

20 อำเภอที่มีภาวะผอมและเตี้ย ≥ ร้อยละ 10 มีจำนวน 9 อำเภอ (ร้อยละ 75.0)
อำเภอที่มีภาวะผอมและเตี้ย ≥ ร้อยละ 10 มีจำนวน 9 อำเภอ (ร้อยละ ) มีพื้นที่เสี่ยงสูงมาก 3อำเภอ (ภาวะผอมและเตี้ย ≥ร้อยละ 20) อ.เมือง อ.ไม้แก่น อ.กะพ้อ อ.ยะรัง อ.โคกโพธิ์ อ.มายอ อ.ปะนาเระ 15.22 8. อ.หนองจิก 16.46 9. อ.ยะหริ่ง รายชื่อโรงเรียน ร้อยละ 1.อำเภอทุ่งยางแดง 22.47 2.อำเภอแม่ลาน 21.38 3.อำเภอสายบุรี 20.48 มีโรงเรียนในโครงการลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ จำนวน 20 โรงเรียน

21 ร้อยละของค่าเฉลี่ยปริมาณพลังงานและสารอาหารที่นักเรียน อายุ 5 – 14 ปี ได้รับจากอาหารกลางวันโรงเรียนต่อคนเทียบกับความต้องการของร่างกายใน 1 มื้อ เป้าหมาย อย่างน้อยร้อยละ 70ของความต้องการใน 1 มื้อ จำนวนทั้งหมด 55 สำรับ

22 จุดเสี่ยงของมาตรการแก้ไขปัญหานักเรียนผอม,เตี้ย
1. แผนปฏิบัติงาน มาตรการ ยังไม่ครอบคลุมถึงการลดภาวะเตี้ย ซึ่งสถานการณ์ของจังหวัดเพิ่มสูงขึ้นถึง 2 เท่าภายใน 1 ปี จึงควรมีมาตรการเร่งด่วนในการลดเตี้ยที่ชัดเจน 2. ทีม ติดตามงานวัยเรียน ยังไม่ครอบ คลุมถึงผู้รับผิดชอบงาน ซึ่งดูแลเด็กอ้วนกลุ่มเสี่ยงที่มี Obesity sign และทีม SKC ควรดูแลเด็กเตี้ยด้วย 3. การคัดกรองเด็กกลุ่มเสี่ยง ยังไม่เห็นการ set ระบบและแนวปฏิบัติชัดเจน 4. การจัดกิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ อาจไม่ครอบคลุมโรงเรียนเป้าหมายแก้ไขปัญหาเด็กผอมและเตี้ย เนื่องจากมีโรงเรียนเข้าร่วมกิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ของกระทรวงศึกษาธิการ เพียง โรงเรียน ควรผลักดัน สนับสนุนให้โรงเรียนเป้าหมายแก้ปัญหาผอม เตี้ยทุกโรงเรียนได้ดำเนินการกิจกรรมดังกล่าวด้วย

23 ปัญหา-อุปสรรค และแนวทางแก้ไข
ข้อสังเกต ข้อเสนอแนะ 1. จังหวัดมีมาตรการด้านอาหารในการส่งเสริมภาวะโภชนาการนักเรียนสนับสนุนให้โรงเรียนจัดกิจกรรมเกษตรเพื่ออาหารกลางวันฯ - เรียนรู้จาก Best Practice โรงเรียนในพระราชดำริฯ ค้นหาและพัฒนาโรงเรียน-ชุมชนต้นแบบ ส่งเสริมกลุ่มแม่บ้าน – ผู้ปกครอง – นักเรียน พัฒนาสูตร-ผลิตอาหาร ขนม เครื่องดื่มสุขภาพ เพื่อเป็นทางเลือกให้กับโรงเรียน-ชุมชน 2. ทักษะบุคลากรในระดับพื้นที่ขาดทักษะในการดำเนินงานสนับสนุนงานอนามัยโรงเรียนโดยเฉพาะการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการ สื่อสารสร้างความรู้ ความเข้าใจหลายช่องทางอย่างต่อเนื่อง จัดทำ Guideline การปฏิบัติงานอย่างง่ายของจังหวัด การคัดกรองเด็กกลุ่มเสี่ยง การจัดทำฐานข้อมูลและการดูแลและติดตามเด็กกลุ่มเสี่ยง ฯลฯ นิเทศ ติดตาม สอนงานต่อเนื่อง 46โรง

24 ปัญหา-อุปสรรค และแนวทางแก้ไข
ข้อสังเกต ข้อเสนอแนะ 3. คุณภาพอาหารกลางวันยังไม่ได้มาตรฐานโภชนาการ พัฒนาศักยภาพครูโครงการอาหารกลางวัน แม่ครัว ด้านการปรุงประกอบอาหารตามมาตรฐานโภชนาการ แนะนำให้โรงเรียนใช้โปรแกรมสำเร็จรูป Thai School Lunch ในการพัฒนาเมนูอาหารรายเดือน 4.ความครอบคลุมของการได้รับยาเม็ดเสริมธาตุเหล็ก ให้ยาเสริมธาตุเหล็กในเด็กวัย เรียนครอบคลุมทุกคน ตามชุดสิทธิประโยชน์

25 อยู่ระหว่างดำเนินการ
Small Success 3 เดือน กิจกรรม ผลงาน หมายเหตุ แต่งตั้งคณะกรรมการลดอ้วนระดับจังหวัด อำเภอ อยู่ระหว่างดำเนินการ แผนปฏิบัติงานลดอ้วนระดับจังหวัด อำเภอ และโรงเรียน / ยังไม่ครอบคลุมทุกโรงเรียน รายชื่อโรงเรียนเป้าหมาย และรายชื่อ นักเรียนอ้วนกลุ่มเสี่ยง 4. ข้อมูลการชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง นักเรียน เทอม 2 ปี 2558 การคัดกรองเด็กอ้วนกลุ่มเสี่ยงที่มี Obesity sign ส่งต่อระบบ Service plan และคลินิก DPAC 6. การพัฒนา SKC & SKL (ทีมจังหวัดอบรมกับ ศอ.12 เมื่อ พย.58และเข้ารับการอบรมกับกรมอนามัย วันที่ 9-10 ก.พ.59) มีทีม SKC อำเภอ เตรียมอบรม SKC คน จาก 12 อำเภอ SKL 12 โรงเรียนเป้าหาย

26 อัตราการเสียชีวิตจากการจมน้ำของเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี ไม่เกิน 6
อัตราการเสียชีวิตจากการจมน้ำของเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี ไม่เกิน 6.5 ต่อแสนประชากรเด็กต่ำกว่า 15 ปี

27 แหล่งข้อมูล : สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข
อัตราการเสียชีวิตต่อประชากรเด็กแสนคน จากการจมน้ำของเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี พ.ศ – จังหวัดพัทลุง จำแนกรายปี แหล่งข้อมูล : สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข

28 จำนวนทีมผู้ก่อการดีระดับทองแดง
พื้นที่เสี่ยงมาก เป้าหมายตัวชี้วัด จำนวนทีมผู้ก่อการดีระดับทองแดง 6 ทีม

29 มาตรการและการดำเนินงานสร้างทีมผู้ก่อการดี
ทบทวนข้อมูลการเสียชีวิตจาก 19 สาเหตุ ,สนย., สอบสวนการจมน้ำ ,สำรวจความเสี่ยงเด็กต่อการบาดเจ็บ สิ่งที่ต้องทำต่อ คืนข้อมูลชุมชน 1 ข้อมูลสถานการณ์ สาธารณสุข + มูลนิธิร่มไทร สำรวจแหล่งน้ำจุดเสี่ยง และความลึก สิ่งที่ต้องทำต่อ คืนข้อมูล อปท. ชุมชน + จัดการแหล่งน้ำเสี่ยง 2 การจัดการแหล่งน้ำเสี่ยง ให้ความรู้แก่ผู้มารับบริการใน รพสต. และ รพ.สต. ให้ชุมชน + ประสาน สพฐ สอดแทรกเนื้อหาในช่วง การเรียน เช่น ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ 4 การให้ความรู้ สำรวจแหล่งน้ำเสี่ยงในและนอกศูนย์ฯ +แก้ไขทันที หากต้องใช้งบต้องแก้ไขภายในมกราคม + ให้ความรู้ครูพี่เลี้ยง สิ่งที่ต้องทำต่อ ติดตามผลการแก้ไขความเสี่ยง 3 ศูนย์เด็กเล็ก สคร.12 ได้จัดอบรมสร้างครู ก สอนว่ายน้ำเพื่อเอาชีวิตรอดในวันที่ ธ.ค.58 จังหวัดสตูลเข้าร่วม 8 คน เป็นทีมของกู้ชีพกู้ภัยและ สสจ. ดังเอกสารแนบรายชื่อเครือข่ายอบรมครู ก สื่อสารในเวทีต่างๆ สิ่งที่ต้องทำต่อ การสื่อสารผลการสอบสวนเพื่อกระตุ้นตุ้นชุมชน 6 สื่อสารประชาสัมพันธ์ มีแผนดำเนินการอบรมครู ข สิ่งที่ต้องทำต่อ เร่งรัดการประสานหาทีมผู้ก่อการดีตามเป้าหมายจังหวัดอำเภอละ 1 ทีม และเตรียมขยายครู ข เพื่อสอนเด็ก/ประชาชนในพื้นที่ 5 สอนหลักสูตรว่ายน้ำเพื่อเอาชีวิตรอด

30 ผลการดำเนินงานสร้างทีมผู้ก่อการดีจังหวัดพัทลุง
Small sucess ผลงาน แผนงานโครงการ/แนวทางสนับสนุนการแก่ทีมผู้ก่อการดีของสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด มีทีมผู้ก่อการดีที่สมัครใจดำเนินการป้องกันการจมน้ำ 6 อำเภอๆละ 1 ทีม รวม 6 ทีม 8 อำเภอ สมัครใจดำเนินการ เมือง เขาชัยสน ป่าบอน กงหรา ควนขนุน บางแก้ว ศรีนครินทร์ ตะโหมด มีแนวทางดำเนินการ ดังนี้ จัดประชุมราชการชี้แจงมาตรการดำเนินงานแก่ทุกอำเภอ นิเทศติดตามการดำเนินงานของทีมผู้ก่อการดี

31 ขอบคุณ และสวัสดีค่ะ


ดาวน์โหลด ppt คณะที่ 1 การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัยและระบบควบคุมโรค

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google