งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

เทคนิคการจัดการพลังงานไฟฟ้าและกรณีตัวอย่าง

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "เทคนิคการจัดการพลังงานไฟฟ้าและกรณีตัวอย่าง"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 เทคนิคการจัดการพลังงานไฟฟ้าและกรณีตัวอย่าง

2 มีหัวข้อสำคัญดังนี้ การจัดการพลังงานเบื้องต้น 2. บทบาทของผู้จัดการพลังงาน 3. ขั้นตอนของการจัดการพลังงาน 4. แนวทางการจัดการพลังงานไฟฟ้า 5. กรณีศึกษา

3 การจัดการพลังงานเบื้องต้น
ความหมายของการจัดการพลังงาน การจัดการพลังงาน หมายถึง การทำให้ผู้เกี่ยวข้อง ด้านพลังงานมีความเข้าใจตลอดจนสามารถควบคุมและลด ค่าใช้จ่ายด้านพลังงานในหน่วยงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ

4 ประโยชน์ของการจัดการพลังงาน
การจัดการพลังงานที่ดี จะช่วยทำให้หน่วยงานสามารถ  ลดค่าใช้จ่ายด้านพลังงาน  สิ่งแวดล้อมดีขึ้น  เพิ่มผลกำไร  ปรับปรุงคุณภาพของผลิตภัณฑ์

5  มีภาพลักษณ์ของหน่วยงานดีขึ้น
 เสริมสร้างสภาพแวดล้อมในการทำงาน  เพิ่มโอกาสในการดำเนินธุรกิจ ช่วยประเทศชาติในการประหยัดเงินตราและ ทรัพยากรธรรมชาติ

6 บทบาทของผู้จัดการพลังงาน
โครงการประหยัดพลังงานเป็นงานส่วนหนึ่งของการ บริหารการใช้พลังงานหรือการจัดการด้านพลังงาน ซึ่งเป็นเรื่อง เกี่ยวกับการปรับปรุงประสิทธิภาพการใช้พลังงานในกระบวนการ ผลิตในระดับการใช้พลังงานอย่างเหมาะสม

7 บทบาทและหน้าที่ของผู้จัดการพลังงาน
กิจกรรมการจัดการด้านพลังงานเป็นหน้าที่ของผู้จัดการพลัง งานซึ่งจะต้องกระทำประกอบด้วยการแบ่งหน้าที่การพัฒนา การทำงบ ประมาณรายจ่าย การประสานงาน การแก้ปัญหาทางเทคนิค การจด บันทึก การติดตามผลและการวิเคราะห์ เพื่อให้บรรลุเป้าหมายของ บริษัท คือ การประหยัดพลังงาน การประหยัดเงิน

8 บทบาททางด้านเทคนิคของผู้จัดการพลังงาน
หน้าที่หลักของผู้จัดการพลังงาน คือการแก้ไขปัญหาทางด้าน เทคนิคที่เกี่ยวข้องกับการใช้พลังงาน โดยทั่วไปแล้วผู้จัดการพลัง งานสามารถใช้ความรู้ความชำนาญของบุคลากรในบริษัทเองหรือ จากบุคลากรภายนอก การนำความรู้ทางด้านเทคนิคมาใช้งานนั้นมี มากมายหลายแบบและหลายระดับแตกต่างกัน

9 บทบาททางด้านการประสานงานของผู้จัดการพลังงาน
หน้าที่หลักอีกอย่างหนึ่งของผู้จัดการพลังงาน ก็คือการ ประสานงานหรือการให้คำแนะนำด้านบริหารร่วมกับผู้อื่น ซึ่งจะมีผลกระทบอย่างมากกับการใช้พลังงาน

10 บทบาทและหน้าที่ของผู้จัดการพลังงาน
สรูป บทบาทและหน้าที่ของผู้จัดการพลังงาน ตั้งเป้าหมายการประหยัดพลังงานประจำปีขึ้น แนะนำเทคนิค การวินิจฉัยพลังงาน การประสาน งานและการทำรายงานเกี่ยวกับการวินิจฉัยพลังงาน พัฒนาเทคนิคต่างๆ ที่จะทำให้บุคคลต่างๆ ในทุกฝ่าย ตื่นตัวในเรื่องการประหยัดพลังงาน

11 บทบาทและหน้าที่ของผู้จัดการพลังงาน
สรูป บทบาทและหน้าที่ของผู้จัดการพลังงาน แนะนำและนำโปรแกรมการรายงานความก้าวหน้าของการ ประหยัดพลังงาน แสดงเป้าหมายการประหยัดพลังงาน เสนอแนวทางและข้อแนะนำเกี่ยวกับการประหยัดพลังงาน ประจำปี ช่วยสื่อสารเผยแพร่ข่าวสารเกี่ยวกับการประหยัดพลังงาน

12 ขั้นตอนของการจัดการพลังงาน
การตะหนักถึงความสำคัญในการอนุรักษ์พลังงาน กำหนดนโยบาย เป้าหมาย และแผนงาน จัดทำเอกสารสรุปเสนอฝ่ายบริหาร ตรวจสอบและวิเคราะห์การใช้พลังงาน จัดทำแผนงานปรับปรุง นำแผนงานปรับปรุงไปปฏิบัติ การตรวจติดตามผล

13 ขั้นตอนที่ 1 การตระหนักถึงความสำคัญในการอนุรักษ์พลังงาน
ขั้นตอนที่ การกำหนดนโยบาย เป้าหมาย และแผนงาน  เป้าหมายทางนามธรรม  เป้าหมายเฉพาะ  เป้าหมายสมบูรณ์  เป้าหมายสัมพันธ์ ขั้นตอนที่ จัดทำเอกสารสรุปเสนอฝ่ายบริหาร ขั้นตอนที่ การตรวจสอบและวิเคราะห์การใช้พลังงาน

14 วัตถุประสงค์ของการตรวจสอบและวิเคราะห์
การใช้พลังงาน การตรวจสอบและวิเคราะห์การใช้พลังงาน มีจุดประสงค์เพื่อที่จะ  ตรวจสอบว่าส่วนต่างๆ มีการใช้พลังงานเท่าใดบ้าง  ค้นหาศักยภาพในการอนุรักษ์พลังงานต่างๆ วิเคราะห์ความเป็นไปได้ทั้งทางด้านเทคนิคและ ทางด้านเศรษฐศาสตร์ของมาตรการ

15  จัดลำดับความสำคัญในการดำเนินการมาตรการอนุรักษ์พลังงาน
 เป็นเครื่องมือในการวางแผนและจัดเตรียมทรัพยากร ใช้ตรวจสอบประสิทธิภาพการใช้พลังงานขององค์กรเทียบกับค่า มาตรฐาน ใช้ตรวจสอบผลของการดำเนินการเทียบกับเป้าหมายของการ ดำเนินการอนุรักษ์พลังงาน

16 สำรวจและตรวจวิเคราะห์ข้อมูลการใช้พลังงาน จากใบเสร็จรับเงิน
สำรวจและตรวจวิเคราะห์ข้อมูลการใช้พลังงาน จากใบเสร็จรับเงิน ค่าไฟฟ้า ค่าน้ำมันเชื้อเพลิง ตลอดจนข้อมูลปริมาณการผลิต การรวบรวมข้อมูล 1. ปริมาณการใช้ไฟฟ้าที่ใช้ในช่วง 12 เดือนที่ผ่านมา 2. ปริมาณผลผลิตของหน่วยงานในช่วงระยะเดียวกัน 3. รายละเอียดของระบบไฟฟ้า 4. รายละเอียดอุปกรณ์ไฟฟ้า 5. รายละเอียดของพื้นที่งาน 6. รายละเอียดโครงสร้างอาคาร/โรงงาน

17 ข. การตรวจสอบและวิเคราะห์ การใช้พลังงานเบื้องต้น

18 การเก็บรวบรวมข้อมูลการใช้พลังงาน
การเตรียมการ การเก็บรวบรวมข้อมูลการใช้พลังงาน การดำเนินการสำรวจและตรวจวัดเบื้องต้นเพื่อหาศักยภาพในการอนุรักษ์พลังงาน การวิเคราะห์ผลและประเมินศักยภาพในการอนุรักษ์พลังงานเบื้องต้น ระบุมาตรการอนุรักษ์พลังงาน ที่ไม่ต้องลงทุนหรือลงทุนต่ำ ระบุส่วนที่ต้องดำเนินการตรวจสอบ และศึกษาโดยละเอียด รายงานผล ข้อเสนอแนะและแนวทางสำหรับการตรวจสอบและวิเคราะห์การใช้พลังงานโดยละเอียดต่อไป

19 การตรวจสอบและวิเคราะห์การใช้พลังงานเบื้องต้น
การตรวจสอบและวิเคราะห์การใข้พลังงานเบื้องต้นจะทำให้ทราบถึง  ปริมาณและค่าใช้จ่ายการใช้พลังงานโดยรวมขององค์กร  สัดส่วนการใช้พลังงานของระบบวิศวกรรมและอุปกรณ์หลักต่างๆ  ดัชนีการใช้พลังงานและประสิทธิภาพการใช้พลังงานของระบบ  ศักยภาพในการอนุรักษ์พลังงาน  แนวทางในการตรวจสอบและวิเคราะห์การใช้พลังงานโดยละเอียด ต่อไป

20 ขั้นตอนที่ 5 การจัดทำแผนงานปรับปรุง
ก. การรวบรวมแนวความคิด ข. การจัดทำแผนงานปรับปรุง ค. การประเมินผลแผนงาน ขั้นตอนที่ การนำแผนงานปรับปรุงไปปฏิบัติ แผนที่ได้เสนอไว้จะต้องได้รับการนำไปปฏิบัติ ต้องมีการวัด และประเมินผลลัพธ์ที่ได้แล้วนำไปเปรียบเทียบกับผลที่ควรได้รับตามที่ได้กำหนดไว้ในแผนงาน

21 ขั้นตอนที่ 7 การตรวจติดตามผล
ในการทำโครงการการประหยัดพลังงานหรือโครงการใดๆ ก็ ตาม เมื่อได้นำแผนงานไปปฏิบัติแล้วจะต้องมีการประเมินผลลัพธ์ ด้วย เพื่อบ่งบอกให้ทราบว่าโครงการที่ตั้งขึ้นมานั้นประสบความ สำเร็จมากน้อยเพียงใด

22 แนวทางการจัดพลังงานไฟฟ้า
ในการจัดการพลังงานไฟฟ้าเพื่อให้เกิดการประหยัด พลังงานจะแบ่งวิธีการจัดการออกเป็น 2 ส่วนใหญ่ๆ คือ การจัดการพลังงานไฟฟ้าในระบบรวม ประกอบด้วย - การควบคุมพลังไฟฟ้าสูงสุด - การแก้ไขค่าตัวประกอบกำลังไฟฟ้า

23 ประเภทของผู้ใช้ไฟฟ้า
การไฟฟ้าฯ แบ่งประเภทผู้ใช้ไฟฟ้าออกเป็น 7 ประเภท ประเภทที่ 1 บ้านที่อยู่อาศัย ประเภทที่ 2 กิจการขนาดเล็ก ประเภทที่ 3 กิจการขนาดกลาง ประเภทที่ 4 กิจการขนาดใหญ่ ประเภทที่ 5 กิจการเฉพาะอย่าง ประเภทที่ 6 ส่วนราชการและ องค์กรที่ไม่แสวงหา กำไร ประเภทที่ 7 การสูบน้ำเพื่อการเกษตร

24 ประเภทของอัตราค่าไฟฟ้า

25 ค่าความต้องการพลังไฟฟ้า
ก. อัตราปกติ ผู้ใช้ไฟฟ้าที่ไม่สามารถเลือกใช้อัตรานี้คือ ผู้ใช้ไฟฟ้าทุกประเภทยกเว้น ประเภทที่ 4 ประเภทผู้ใช้ไฟฟ้า ค่าความต้องการพลังไฟฟ้า (บาท/กิโลวัตต์) ค่าพลังงานไฟฟ้า (บาท/หน่วย) กิจการขนาดเล็ก - 2.4649 กิจการขนาดกลาง 196.26 1.7034 กิจการเฉพาะอย่าง 256.07 ส่วนราชการและองค์กรที่ ไม่แสวงหากำไร 2.1412

26 ค่าความต้องการพลังไฟฟ้า
ข. อัตราตามช่วงเวลาของการใช้ (Time of use: TOU) ผู้ใช้ไฟฟ้าที่สามารถเลือกใช้อัตราค่าไฟฟ้าแบบนี้ คือผู้ใช้ไฟฟ้าทุกประเภท ประเภทผู้ใช้ไฟฟ้า ค่าความต้องการพลังไฟฟ้า (บาท/กิโลวัตต์) ค่าพลังงานไฟฟ้า (บาท/หน่วย) ค่าบริการ 1* 2* บ้านที่อยู่อาสัย - 3.6246 1.1914 228.17 กิจการขนาดเล็ก กิจการขนาดกลาง 132.93 2.6950 กิจการขนาดใหญ่ กิจการเฉพาะอย่าง 2.650 ส่วนราชการและองค์กรที่ ไม่แสวงหากำไร

27 ค. อัตราตามช่วงเวลาของวัน (Time of Day: TOD) ค่าความต้องการพลังไฟฟ้า
ผู้ใช้ไฟฟ้าที่สามารถเลือกใช้อัตราค่าไฟฟ้าแบบนี้ คือ ประเภทที่ 4 ประเภทผู้ใช้ไฟฟ้า ค่าความต้องการพลังไฟฟ้า (บาท/กิโลวัตต์) ค่าพลังงานไฟฟ้า (บาท/หน่วย) 1* 2* 3* กิจการขนาดใหญ่ 285.05 58.88 1.7034

28 ง. อัตราค่าไฟฟ้าประเภทที่สามารถงดจ่ายไฟฟ้าได้
ผู้ใช้ไฟฟ้าที่สามารถเลือกใช้อัตราค่าไฟฟ้าแบบนี้ คือ ประเภทที่ 4 กิจการขนาดใหญ่ โดยต้องมีความต้องการพลัง ไฟฟ้าตั้งแต่ kW ขึ้นไป

29 องค์ประกอบที่มีผลต่อค่าไฟฟ้า
มีอยู่ 4 ส่วนคือ ส่วนที่ 1 ค่าไฟฟ้าฐาน - ค่าพลังงานไฟฟ้า - ค่าความต้องการพลังไฟฟ้า - ค่าตัวประกอบกำลังไฟฟ้า ส่วนที่ 2 ค่าบริการ ส่วนที่ 3 ค่าไฟฟ้าผันแปร (Ft : Fuel Tarriff) ส่วนที่ 4 ภาษีมูลค่าเพิ่ม 7%

30 แนวทางในการพิจารณาเพื่อลดค่าความต้องการพลังไฟฟ้าสูงสุด
จำเป็นต้องทำความเข้าใจกับคำว่าตัวประกอบโหลด (Load Factor) ตัวประกอบโหลด (Load Factor) = จำนวนกิโลวัตต์ – ชั่วโมงที่ใช้ทั้งหมดต่อเดือน  100% กิโลวัตต์สูงสุด จำนวนชั่วโมงในเดือนนั้น

31 เราสามารถที่จะเพิ่มค่าประกอบโหลดให้สูงขึ้นได้ 2 วิธีคือ
@ ลดจำนวนกิโลวัตต์สูงสุด (Peak demand) ลง @ ลดการใช้จำนวนกิโลวัตต์ – ชั่วโมง (Unit) ลง โดยปกติทั่วไปสถานประกอบการที่ทำงาน 24 ชม./วัน ตัวประกอบควรจะประกอบ 80 เปอร์เซ็นต์ หรือการทำงานที่ 16 และ 8 ชั่วโมง ตัวประกอบโหลดควรจะประมาณ 53 และ 26 เปอร์เซ็นต์

32 ผลประโยชน์ที่ได้รับโดยตรงจากการลดค่าความต้องการไฟฟ้าสูงสุด
มีอยู่ด้วยกัน 4 ประการคือ 1. ทำให้ประสิทธิภาพการใช้พลังงานไฟฟ้าสูงขึ้น อาคารธุรกิจจะเสียค่าไฟฟ้าในส่วนที่เป็นค่าความต้องการพลังไฟฟ้า ทำให้พลังงานไฟฟ้าสูญเสียในหม้อแปลงและสายไฟฟ้าลดลง การที่ความต้องการพลังไฟฟ้าสูงสุดลดลงทำให้หม้อแปลงสายเมน และสายป้อนกระแสไฟฟ้าลดลง

33 ขั้นตอนการควบคุมค่าความต้องการพลังไฟฟ้าสูงสุด มีอยู่ด้วย 4 ขั้นตอน คือ
มีอยู่ด้วย 4 ขั้นตอน คือ ขั้นตอนที่ 1 การรวบรวมข้อมูล - จัดทำรายการแสดงเครื่องจักรและอุปกรณ์ใช้ไฟฟ้าทั้งหมด ภายในโรงงาน - จัดทำวงจรทางไฟฟ้า - สำรวจปริมาณการใช้ไฟฟ้า - คำนวณหาค่าตัวประกอบโหลดและจัดทำกราฟโหลด

34 การวางแผนดำเนินการ ขั้นตอนที่ 2
1. พิจารณาว่าเครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใดสามารถเปลี่ยนเวลาการใช้งาน ไปเป็นเวลาอื่นได้บ้าง 2. ช่วงเวลาที่คาดว่าจะมีการใช้พลังงานไฟฟ้าสูงสุด ควรตัดหรือหยุด การใช้งานชั่วคราวสำหรับเครื่องไฟฟ้าที่ไม่จำเป็น 3. การลดขนาดของเครื่องใช้ไฟฟ้าให้เล็กลง 4. จารณาสิ่งที่ไม่ต้องใช้พลังงานไฟฟ้า

35 5. ใช้เครื่องไฟฟ้าให้เต็มกำลัง
6. ใช้ระบบควบคุมเครื่องใช้ไฟฟ้าที่เหมาะสม 7. พิจารณาเปลี่ยนแปลงหรือปรับปรุงระบบการผลิต 8. หลีกเลี่ยงการสตาร์ทมอเตอร์ขนดใหญ่และอุปกรณ์ให้ความร้อน ต่างๆ ในเวลาเดียวกัน

36 9. ควรหลีกเลี่ยงการนำพลังไฟฟ้ามาใช้ทำน้ำร้อนและน้ำเย็น
ในช่วงที่มีความต้องการพลังไฟฟ้าสูงสุด 10. สนับสนุนให้มีการประหยัดในช่วงที่มีความต้องการ พลังไฟฟ้าสูงสุด

37 การจัดทำเอกสารสรุปผลเสนอฝ่ายบริหาร
ขั้นตอนที่ 3 การจัดทำเอกสารสรุปผลเสนอฝ่ายบริหาร การทำเอกสารนี้จะเป็นประโยชน์ต่อฝ่ายบริหารในการ พิจารณาตัดสินใจว่าจะให้ดำเนินการได้หรือไม่

38 การดำเนินการควบคุมและติดตามผล
ขั้นตอนที่ 4 การดำเนินการควบคุมและติดตามผล เมื่อได้มีการวางแผนอย่างรอบคอบแล้ว ก็มาถึงขั้นตอนการ ปฏิบัติ การควบคุมการปฏิบัติงาน มี 2 วิธี คือ 1. ใช้พนักงานควบคุมการเปิดและปิดอุปกรณ์ไฟฟ้า 2. การใช้เครื่องควบคุมอัตโนมัติทำการตัดต่อโหลด

39 การแก้ไขเพาเวอร์แฟคเตอร์
อัตราส่วนของกำลังงานจริงต่อกำลังงานปรากฏ เราเรียกว่า เพาเวอร์แฟคเตอร์ (Power Factor)

40 การปรับปรุงค่าเพาเวอร์แฟคเตอร์ของระบบไฟฟ้าให้มีค่าสูงขึ้น
จะมีผลดีต่อระบบไฟฟ้าหลายประการ เช่น ลดกระแสไฟฟ้าที่ไหลอยู่ในวงจร 2. ลดกำลังงานสูญเสียในระบบไฟฟ้าลง 3. ลดแรงดันไฟฟ้าตกในระบบไฟฟ้าลง 4. เพิ่มขีดความสามารถในการรับหรือจ่ายกำลังไฟฟ้าของ ระบบไฟฟ้าให้สูงขึ้น 5. ลดค่าไฟฟ้าที่ต้องจ่ายให้กับการไฟฟ้าฯ

41 การจัดการพลังงานไฟฟ้าในอุปกรณ์ไฟฟ้าต่าง ๆ
- ระบบปรับอากาศ - ระบบแสงสว่าง - มอเตอร์ - หม้อแปลงไฟฟ้า - ระบบอัดอากาศ - อื่นๆ

42 กรณีศึกษา ตัวอย่างที่ 1 การหาดัชนีการใช้พลังงาน
ตัวอย่างที่ 1 การหาดัชนีการใช้พลังงาน จากบิลค่าพลังงานของโรงงานแห่งหนึ่ง ในเดือนมีนาคม มีดังนี้ แหล่งพลังงาน ปริมาณการใช้ มูลค่า (บาท) ไฟฟ้า 480,000 kWh 1,152,000 น้ำมันเตา 3,000 litre 21,000 ขี้เลื่อย 2,500 kg. 1,500 ถ้าในเดือนนี้มีผลผลิต ตัน จงหาดัชนีการใช้พลังงาน

43 เนื่องจากพลังงานข้างต้นมีหน่วยแตกต่างกัน ดังนั้นต้องแปลงค่าพลังงานแต่ละชนิดให้อยู่ในหน่วยเดียวกันก่อน (ดูตารางที่ 2 ประกอบ) คือ GJ ไฟฟ้า = 480,000 x = ,728 GJ 1,000 น้ำมันเตา = 3,000 x = GJ 1,000 ขี้เลื่อย = 2,500 x = GJ 1,000 รวม = 1, GJ ดัชนีการใช้พลังงาน = 1,863.64/40 = 46.6 GJ/ตัน

44 LF = จำนวนพลังงานไฟฟ้าที่ใช้ (kWh) x 100
พลังไฟฟ้าสูงสุด (kW) x จำนวนชั่วโมงในเดือนนั้น = 248,000 x 100 590 x 31 x 24 = 56.5 %  เนื่องจากมีการทำงานวันละ 24 ชั่วโมง ค่าตัวประกอบโหลด ควรมีค่ามากกว่า 80 % แต่จากการคำนวณมีค่าเพียง 56.5% จึงสรุปได้ว่าการจัดการพลังงานไฟฟ้ายังไม่ดีพอ ต้องปรับปรุง

45 ตัวอย่างที่ 2 การเปรียบเทียบอัตราค่าไฟฟ้า TOU กับ อัตราปกติ
แรงดันไฟฟ้า kV ความต้องการไฟฟ้า - ช่วง On Peak kW - ช่วง Off Peak kW

46 จำนวนพลังงานไฟฟ้า ,000 kW - ช่วง On Peak ,000 kW - ช่วง Off Peak ,000 kW ความต้องการไฟฟ้ารีแอคทีฟ kVAR ค่าไฟฟ้าอัตโนมัติ (Ft) สต./kWh จงหาค่าไฟฟ้าที่ต้องเสีย และเปรียบเทียบเมื่อใช้อัตราปกติ

47 อัตรา TOU ส่วนที่ 1 ค่าไฟฟ้าฐาน
ส่วนที่ 1 ค่าไฟฟ้าฐาน 1. ค่าความต้องการพลังไฟฟ้า = 480 x = 63,806.4 บาท 2. ค่าพลังงานไฟฟ้า = (138,000 x ) + (110,000 x ) = 502,964 บาท 3. ค่าเพาเวอร์แฟคเตอร์ = จำนวน kVAR ที่เกินกว่าร้อยละ ของ kW x 14.02 =  340 – (590 x )  x 14.02 = x 14.02 = บาท (กรณีตัวเลขในวงเล็บมีค่าเป็นลบให้มีค่าเป็นศูนย์) รวมค่าไฟฟ้าฐาน = 566, บาท

48 ส่วนที่ 2 ค่าบริการ = 228.17 บาท
ส่วนที่ 3 ค่า Ft = 248,000 x = 60, บาท ส่วนที่ 4 ภาษีมูลค่าเพิ่ม 7% = (ค่าไฟฟ้าฐาน + ค่าบริการ + ค่า Ft) x 7% = (566, ,611.2) x 7 100 = , บาท รวมค่าไฟฟ้าที่ต้องเสีย = 671, บาท

49 อัตราปกติ ส่วนที่ 1 ค่าไฟฟ้าฐาน
อัตราปกติ ส่วนที่ 1 ค่าไฟฟ้าฐาน 1. ค่าความต้องการพลังไฟฟ้า = 590 x = 115,793.4 บาท 2. ค่าพลังงานไฟฟ้า = 248,000 x = 422,443.2 บาท 3. ค่าเพาเวอร์แฟคเตอร์ = บาท (คำนวณเหมือนกับข้างต้น) รวมค่าไฟฟ้าฐาน = 538,236.6 บาท

50 ส่วนที่ 2 ค่าบริการ = ไม่ต้องเสีย
ส่วนที่ 3 ค่า Ft = 248,000 x = 60,611.2 บาท ส่วนที่ 4 ภาษีมูลค่าเพิ่ม 7% = (538, ,611.2) x 7 100 = 41, บาท รวมค่าไฟฟ้าที่ต้องเสีย = 640, บาท

51 ค่าไฟฟ้าอัตราปกติจะประหยัดกว่าอัตรา TOU
= 671, – 640,767.15 = 30,775.3 บาท

52 จบการบรรยาย


ดาวน์โหลด ppt เทคนิคการจัดการพลังงานไฟฟ้าและกรณีตัวอย่าง

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google