งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ภาพรวมพลังงาน.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ภาพรวมพลังงาน."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ภาพรวมพลังงาน

2 ภาพรวมพลังงาน 5.8% 6.0% 1.5% 3.0% 1,366 พันบาร์เรลต่อวัน*
เดือน ม.ค.-ก.ย. 2560 พลังงานขั้นต้น การนำเข้า (สุทธิ) การผลิต การใช้ 5.8% 6.0% 1.5% 1,366 พันบาร์เรลต่อวัน* 963 พันบาร์เรลต่อวัน* 2,137 พันบาร์เรลต่อวัน* การนำเข้าพลังงานทุกชนิดเพิ่มขึ้น ทั้งการนำเข้าน้ำมันดิบ ถ่านหิน ก๊าซธรรมชาติ คอนเดนเสท และไฟฟ้า การผลิตพลังงานที่สำคัญ ทั้งก๊าซธรรมชาติ น้ำมันดิบ และลิกไนต์ลดลง ขณะที่การผลิต คอนเดนเสท และไฟฟ้าพลังน้ำเพิ่มขึ้น เนื่องจากปริมาณน้ำในเขื่อน ปีนี้สูงกว่าปีก่อนจากฝนที่ตกชุก การใช้พลังงานเพิ่มขึ้น จากการใช้น้ำมัน ถ่านหิน และพลังน้ำ/ไฟฟ้านำเข้าที่เพิ่มขึ้น ขณะที่การใช้ก๊าซธรรมชาติลดลง เนื่องจากแหล่งก๊าซ ทั้งในและต่างประเทศบางแห่งหยุด ซ่อมบำรุง เช่นเดียวกับลิกไนต์ที่มี การใช้น้อยลง เนื่องจากการผลิตที่ลดลง พลังงานขั้นสุดท้าย 54% การใช้พลังงานขั้นสุดท้ายที่สำคัญเพิ่มขึ้น ทั้งน้ำมันสำเร็จรูป ไฟฟ้า และถ่านหิน ขณะที่การใช้ ก๊าซธรรมชาติ และลิกไนต์ลดลง น้ำมันสำเร็จรูปมีสัดส่วนการใช้สูงสุด 54% รองลงมาคือไฟฟ้า 22% น้ำมันสำเร็จรูป 3.0% 22% ไฟฟ้า 11% NG 1,506 พันบาร์เรลต่อวัน* 13% ถ่านหิน 0.3% *เทียบเท่าน้ำมันดิบ ลิกไนต์ หมายเหตุ: เทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน

3 พันบาร์เรลเทียบเท่าน้ำมันดิบต่อวัน
การใช้ การผลิต การนำเข้าพลังงานเชิงพาณิชย์ขั้นต้น การใช้ การผลิต การนำเข้า (สุทธิ) 1,366 พันบาร์เรลเทียบเท่าน้ำมันดิบต่อวัน 2,137 963 * เดือน ม.ค.-ก.ย. การนำเข้า/การใช้ 64% หมายเหตุ : 1. การนำเข้า (สุทธิ) หมายถึง การนำเข้าที่หักลบการส่งออกแล้ว 2. การนำเข้า/การใช้ ไม่รวมพลังงานทดแทน

4 การใช้พลังงานเชิงพาณิชย์ขั้นต้น
สัดส่วนการใช้ พลังงานเชิงพาณิชย์ขั้นต้น ก๊าซธรรมชาติ น้ำมัน พันบาร์เรลเทียบเท่าน้ำมันดิบต่อวัน 2560* ถ่านหินนำเข้า ลิกไนต์ ไฟฟ้าพลังน้ำ/ไฟฟ้านำเข้า รวมทั้งสิ้น 2,137 พันบาร์เรลเทียบเท่าน้ำมันดิบต่อวัน การใช้พลังงานขั้นต้น % * เดือน ม.ค.-ก.ย.

5 การผลิตพลังงานเชิงพาณิชย์ขั้นต้น
สัดส่วนการผลิต พลังงานเชิงพาณิชย์ขั้นต้น ก๊าซธรรมชาติ พันบาร์เรลเทียบเท่าน้ำมันดิบต่อวัน 2560* น้ำมันดิบ คอนเดนเสท พลังน้ำ ลิกไนต์ รวมทั้งสิ้น 963 พันบาร์เรลเทียบเท่าน้ำมันดิบต่อวัน การผลิตพลังงานขั้นต้น % * เดือน ม.ค.-ก.ย.

6 การนำเข้า (สุทธิ) พลังงานเชิงพาณิชย์ขั้นต้น
สัดส่วนการนำเข้า (สุทธิ) พลังงานเชิงพาณิชย์ขั้นต้น น้ำมัน พันบาร์เรลเทียบเท่าน้ำมันดิบต่อวัน 2560* ถ่านหินนำเข้า ก๊าซธรรมชาติและ LNG ไฟฟ้า รวมทั้งสิ้น 1,366 พันบาร์เรลเทียบเท่าน้ำมันดิบต่อวัน การนำเข้า(สุทธิ)พลังงานขั้นต้น % * เดือน ม.ค.-ก.ย.

7 การใช้พลังงานเชิงพาณิชย์ขั้นสุดท้าย
สัดส่วนการใช้ พลังงานเชิงพาณิชย์ขั้นสุดท้าย น้ำมัน พันบาร์เรลเทียบเท่าน้ำมันดิบต่อวัน ไฟฟ้า 2560* ก๊าซธรรมชาติ ถ่านหินนำเข้า ลิกไนต์ รวมทั้งสิ้น 1,506 พันบาร์เรลเทียบเท่าน้ำมันดิบต่อวัน การใช้พลังงานขั้นสุดท้าย % * เดือน ม.ค.-ก.ย.

8 ปริมาณสำรองปิโตรเลียมในประเทศไทย
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559 ปริมาณสำรอง การผลิต ปี 2559 ใช้ได้นาน(ปี) P1 P1+P2 P1+P2+P3 น้ำมันดิบ (ล้านบาร์เรล) 178 280 362 60 3 5 6 คอนแดนเสท 171 326 422 31 10 13 ก๊าซธรรมชาติ (พันล้าน ล.บ.ฟุต) 6,830 11,624 14,241 1,379 8 หมายเหตุ : ปริมาณสำรอง P1 คือ Proved Reserves P2 คือ Probable Reserves และ P3 คือ Possible Reserves ปริมาณสำรองและการผลิตปิโตรเลียมของประเทศไทยรวมพื้นที่พัฒนาร่วมไทย-มาเลเซีย ที่มา : กรมเชื้อเพลิงธรรมชาติ

9 น้ำมัน

10 น้ำมันดิบและคอนเดนเสท
เดือน ม.ค.-ก.ย. 2560 การจัดหาน้ำมันดิบ 1,042 พันบาร์เรลต่อวัน 3.4% ผลิตในประเทศ นำเข้า ตะวันออกกลาง 53% ตะวันออกไกล 18% อื่นๆ 15% การจัดหาน้ำมันดิบเพิ่มขึ้นโดยเพิ่มขึ้นจากการนำเข้าจากต่างประเทศ โดยเฉพาะจากตะวันออกไกล และแหล่งอื่นๆ ขณะที่การผลิตในประเทศยังคงลดลง 14% 86% 143 พันบาร์เรลต่อวัน 899 พันบาร์เรลต่อวัน 13.8% 6.3% การใช้กำลังการกลั่น การผลิตคอนเดนเสท กำลังการกลั่น 1,235 พันบาร์เรลต่อวัน 85% 97 พันบาร์เรลต่อวัน ใช้น้ำมันในการกลั่น 1,047 พันบาร์เรลต่อวัน 1.6% หมายเหตุ: เทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน

11 น้ำมันสำเร็จรูป 5.0% 5.5% 1.9% 12.4% 179 ล้านลิตรต่อวัน
เดือน ม.ค.-ก.ย. 2560 น้ำมันสำเร็จรูป หมายเหตุ: เทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน การผลิต 179 ล้านลิตรต่อวัน การนำเข้า 11 ล้านลิตรต่อวัน การใช้ 140 ล้านลิตรต่อวัน 29 ล้านลิตรต่อวัน การส่งออก 5.0% 5.5% 1.9% 12.4% LPG การจัดหา 546 พันตันต่อเดือน 7.3% อุตสาหกรรม 10% ใช้เอง 2% ครัวเรือน 34% ปิโตรเคมี 32% ขนส่ง 22% นำเข้า 9% นำเข้า โรงกลั่นน้ำมัน 33% ในประเทศ โรงแยกก๊าซ 58% การใช้ 518 พันตันต่อเดือน 2.3%

12 การจัดหาน้ำมันดิบ 2560* สัดส่วนการจัดหาน้ำมันดิบ พันบาร์เรล/วัน
14% 13% 15% 12% 7% 20% 2560* 17% 16% 18% 9% (899 พันบาร์เรล/วัน) (143 พันบาร์เรล/วัน) พันบาร์เรล/วัน 6.3% 13.8% 64% 56% 55% 53% 56% 15% 15% 15% 16% 14% ผลิตในประเทศ ตะวันออกกลาง ตะวันออกไกล แหล่งอื่นๆ การจัดหาน้ำมันดิบ 1,042 พันบาร์เรล/วัน % การจัดหาน้ำมันดิบเพิ่มขึ้น โดยเพิ่มขึ้นจากการนำเข้าจากต่างประเทศ โดยเฉพาะจากตะวันออกไกล และแหล่งอื่นๆ ขณะที่การผลิตในประเทศยังคงลดลง * เดือน ม.ค.-ก.ย.

13 รวมนำเข้า 899 พันบาร์เรล/วัน
การนำเข้าน้ำมันดิบแยกตามแหล่งผลิต สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ ซาอุดิอาระเบีย โอมาน กาตาร์ อื่นๆ (ตะวันออกกลาง) ตะวันออกกลาง มาเลเซีย อินโดนีเซีย บรูไน อื่นๆ (ตะวันออกไกล) ตะวันออกไกล สหพันธรัฐรัสเซีย ออสเตรเลีย อื่นๆ (แหล่งอื่นๆ) แหล่งอื่นๆ 34.0% 0.7% 2560* 10.8% การนำเข้าน้ำมันดิบ 6.3% รวมนำเข้า 899 พันบาร์เรล/วัน หรือคิดเป็น 39,023 ล้านลิตร * เดือน ม.ค.-ก.ย.

14 รวมทั้งสิ้น 97 พันบาร์เรล/วัน
การผลิตคอนเดนเสท สัดส่วน การผลิตคอนเดนเสท เอราวัณ พันบาร์เรล/วัน 2560* บงกช ไพลิน บงกชใต้ อาทิตย์ ภูฮ่อม รวมทั้งสิ้น 97 พันบาร์เรล/วัน การผลิตคอนเดนเสท % * เดือน ม.ค.-ก.ย.

15 การใช้กำลังการกลั่นของประเทศ
Capacity Intake 1,235 พันบาร์เรล/วัน 1,047 พันบาร์เรล/วัน พันบาร์เรล/วัน (KBD) ปี 2560* FANG TOP BCP ESSO IRPC PTTGC SPRC รวม สัดส่วนการใช้ กำลังการกลั่น (%) 31 108 92 77 79 64 85 หมายเหตุ : กำลังการกลั่นของ PTTGC เป็นกำลังการกลั่นน้ำมันดิบ 145 KBD และคอนเดนเสท 135 KBD * เดือน ม.ค.-ก.ย.

16 การผลิตน้ำมันสำเร็จรูป รวมทั้งสิ้น 179 ล้านลิตร/วัน
สัดส่วน การผลิตน้ำมันสำเร็จรูป ดีเซล ล้านลิตร/วัน เบนซิน 2560* LPG เครื่องบิน น้ำมันเตา น้ำมันก๊าด รวมทั้งสิ้น 179 ล้านลิตร/วัน การผลิตน้ำมันสำเร็จรูป % * เดือน ม.ค.-ก.ย.

17 การใช้น้ำมันสำเร็จรูป รวมทั้งสิ้น 140 ล้านลิตร/วัน
การใช้น้ำมันสำเร็จรูป (ล้านลิตร/วัน) สัดส่วน การใช้น้ำมันสำเร็จรูป ดีเซล ล้านลิตร/วัน เบนซิน 2560* LPG เครื่องบิน น้ำมันเตา น้ำมันก๊าด รวมทั้งสิ้น 140 ล้านลิตร/วัน การใช้น้ำมันสำเร็จรูป % * เดือน ม.ค.-ก.ย. หมายเหตุ : LPG ไม่รวมที่ใช้เป็นวัตถุดิบในปิโตรเคมี

18 การใช้น้ำมันสำเร็จรูป รวมทั้งสิ้น 878 พันบาร์เรล/วัน
การใช้น้ำมันสำเร็จรูป (พันบาร์เรลต่อวัน) สัดส่วน การใช้น้ำมันสำเร็จรูป ดีเซล พันบาร์เรล/วัน 2560* เบนซิน LPG เครื่องบิน น้ำมันเตา น้ำมันก๊าด รวมทั้งสิ้น 878 พันบาร์เรล/วัน * เดือน ม.ค.-ก.ย. การใช้น้ำมันสำเร็จรูป % หมายเหตุ : LPG ไม่รวมที่ใช้เป็นวัตถุดิบในปิโตรเคมี

19 การนำเข้าน้ำมันสำเร็จรูป รวมทั้งสิ้น 11 ล้านลิตร/วัน
สัดส่วน การนำเข้าน้ำมันสำเร็จรูป LPG ล้านลิตร/วัน 2560* เบนซิน ดีเซล น้ำมันเตา เครื่องบิน รวมทั้งสิ้น 11 ล้านลิตร/วัน * เดือน ม.ค.-ก.ย. การนำเข้าน้ำมันสำเร็จรูป % หมายเหตุ : ปี การนำข้า LPG ลดลง เนื่องจากความต้องการใช้ ลดลง ประกอบกับมีการผลิตจากโรงกลั่นและโรงแยกก๊าซ ภายในประเทศเพิ่มขึ้น

20 การส่งออกน้ำมันสำเร็จรูป รวมทั้งสิ้น 29 ล้านลิตร/วัน
สัดส่วน การส่งออกน้ำมันสำเร็จรูป ดีเซล ล้านลิตร/วัน น้ำมันเตา 2560* เบนซิน เครื่องบิน LPG น้ำมันก๊าด รวมทั้งสิ้น 29 ล้านลิตร/วัน การส่งออกน้ำมันสำเร็จรูป % * เดือน ม.ค.-ก.ย.

21 น้ำมันสำเร็จรูปรายประเทศ
การส่งออกน้ำมันสำเร็จรูปของไทยแยกรายประเทศ สัดส่วนการส่งออก น้ำมันสำเร็จรูปรายประเทศ สิงคโปร์ ล้านลิตร/วัน 2560* กัมพูชา ลาว เวียดนาม เมียนมา มาเลเซีย เขตต่อเนื่อง อื่นๆ*** ฟิลิปปินส์ ** เขตต่อเนื่อง หมายถึงพื้นที่เขตต่อเนื่องที่เกินกว่า 12 ไมล์ทะเล *** อื่นๆ ได้แก่ จีน เกาหลีใต้ ฯลฯ 91 % ส่งออกประเทศในอาเซียน ได้แก่ สิงคโปร์ กัมพูชา ลาว เวียดนาม เมียนมา มาเลเซีย และฟิลิปปินส์ * เดือน ม.ค.-ก.ย.

22 รวมทั้งสิ้น 546 พันตัน/เดือน
การจัดหา LPG สัดส่วนการจัดหา LPG โรงแยกก๊าซ โรงกลั่นน้ำมัน พันตัน/เดือน 2560* นำเข้า รวมทั้งสิ้น 546 พันตัน/เดือน * เดือน ม.ค.-ก.ย. หมายเหตุ : 1. LPG หมายถึง LPG โพรเพน และบิวเทน 2. ปี การนำข้า LPG ลดลง ตามความต้องการใช้ในประเทศที่ลดลง 3. ปี 2560 การนำเข้าเริ่มเพิ่มขึ้น จากนโยบายเปิดเสรีธุรกิจ LPG ทั้งระบบ ตั้งแต่ 1 ส.ค ทำให้มีบริษัทเอกชนเริ่มนำเข้า LPG มากขึ้น การจัดหา LPG %

23 รวมทั้งสิ้น 518 พันตัน/เดือน
การใช้ LPG สัดส่วนการใช้ LPG * เดือน ม.ค.-ก.ย. ครัวเรือน ปิโตรเคมี พันตัน/เดือน 2560* ขนส่ง อุตสาหกรรม ใช้เอง รวมทั้งสิ้น 518 พันตัน/เดือน LPG หมายเหตุ : 1. LPG หมายถึง LPG โพรเพน และบิวเทน 2. ใช้เอง หมายถึง ผู้ผลิตใช้เป็นเชื้อเพลิงในกระบวนการผลิตเอง 3. ปี 2556 – 2557 การใช้ LPG ภาคครัวเรือนลดลง โดยเพิ่มขึ้นในภาคขนส่งจากมาตรการสกัดกั้นการลักลอบ จำหน่าย LPG ผิดประเภท และจำกัดโควต้าโรงบรรจุ LPG 4. ปี การใช้ LPG ภาคขนส่ง และปิโตรเคมีลดลง จากมาตรการปรับโครงสร้างราคา LPG ให้สะท้อน ต้นทุนที่แท้จริง โดยการใช้ LPG ในภาคขนส่งลดลงเนื่องจากผู้ใช้รถยนต์บางส่วนกลับไปใช้น้ำมันซึ่งมีราคาถูกลง ทดแทน ด้านภาคปิโตรเคมีลดลงเนื่องจากมีการเปลี่ยนไปใช้แนฟทาในการทำ cracking แทน LPG การใช้ LPG %

24 ก๊าซธรรมชาติ

25 การจัดหาก๊าซธรรมชาติ
เดือน ม.ค.-ก.ย. 2560 การจัดหาก๊าซธรรมชาติ 4,969 MMSCFD 1.9% การผลิตก๊าซธรรมชาติของแหล่งก๊าซสำคัญในประเทศลดลงเกือบทุกแหล่ง อาทิ แหล่งเอราวัณ บงกช อาทิตย์ประกอบความต้องการใช้ในภาคอุตสาหกรรมและโรงแยกแก๊สเพิ่มขึ้น ทำให้ต้องนำเข้าก๊าซเพิ่มขึ้น ทั้งการนำเข้าจากเมียนมา และการนำเข้าในรูปของ LNG ผลิตในประเทศ นำเข้า เมียนมา ยาดานา 9% เยตากุน 4% ซอติก้า 4% 72% 28% 17% 3,559 MMSCFD 1,410 MMSCFD LNG 6.4% 11.4% 11% 4,687 MMSCFD 1.4% การใช้ก๊าซธรรมชาติ 1 ภาพ = 400 MMSCFD NGV 5% การใช้ก๊าซธรรมชาติลดลง จากการใช้เพื่อผลิตไฟฟ้า และการใช้ในภาคขนส่ง (NGV) ขณะที่การใช้ในภาคอุตสาหกรรม และ การใช้ในโรงแยกก๊าซ ยังคงเพิ่มขึ้น อุตสาหกรรม 15% โรงแยกก๊าซ 21% ผลิตไฟฟ้า 59% หมายเหตุ: เทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน

26 สัดส่วนการจัดหาก๊าซธรรมชาติ ล้านลูกบาศก์ฟุต/วัน (MMSCFD)
11.4% ผลิตในประเทศ ล้านลูกบาศก์ฟุต/วัน (MMSCFD) 2560* นำเข้าจากเมียนมา นำเข้า LNG 6.4% รวมทั้งสิ้น 4,969 MMSCFD * เดือน ม.ค.-ก.ย. การจัดหาก๊าซธรรมชาติ % หมายเหตุ : นำเข้า LNG ตั้งแต่เดือนพฤษภาคม 2554 นำเข้า NG จากแหล่งซอติกา ตั้งแต่เดือนสิงหาคม 2557

27 การใช้ก๊าซธรรมชาติรายสาขา ล้านลูกบาศก์ฟุต/วัน (MMSCFD)
สัดส่วน การใช้ก๊าซธรรมชาติรายสาขา ผลิตไฟฟ้า ล้านลูกบาศก์ฟุต/วัน (MMSCFD) 2560* โรงแยกก๊าซ อุตสาหกรรม NGV รวมทั้งสิ้น 4,687 MMSCFD การใช้ก๊าซธรรมชาติ % * เดือน ม.ค.-ก.ย.

28 การใช้ NGV หน่วย : MMSCFD หน่วย : ตัน/วัน 2557 2557 2556 2556 2558
2559 2559 2560 2560 243 MMSCFD 6,760 ตัน/วัน การใช้ NGV ลดลงต่อเนื่องตั้งแต่ไตรมาสสามของปี 2557 เนื่องจากราคาขายปลีกน้ำมันลดลง ผู้ใช้รถยนต์จึงหันไปใช้น้ำมันแทน โดยการใช้ในปี 2560 ลดลงจากปีก่อน %

29 ถ่านหิน/ลิกไนต์

30 การจัดหาถ่านหิน/ลิกไนต์ การใช้ถ่านหิน/ลิกไนต์
เดือน ม.ค.-ก.ย. 2560 การจัดหาถ่านหิน/ลิกไนต์ 3.0% 29,536 พันตัน 12,414 พันตัน 42% 2.3% ผลิตในประเทศ 17,122 พันตัน 58% นำเข้า การจัดหาถ่านหิน/ลิกไนต์เพิ่มขึ้น ในส่วนของ การนำเข้าถ่านหิน จากต่างประเทศ ในขณะที่การผลิตลิกไนต์ในประเทศลดลง แม่เมาะ 41% อื่นๆ 1% 7.2% 14,140 KTOE 4.3% การใช้ถ่านหิน/ลิกไนต์ 1 ภาพ = 800 KTOE การใช้ถ่านหิน/ลิกไนต์เพิ่มขึ้น โดยเพิ่มขึ้น จากการใช้ในภาค อุตสาหกรรม ขณะที่การใช้เพื่อการผลิตไฟฟ้าลดลง อุตสาหกรรม 51% ผลิตไฟฟ้า 49% หมายเหตุ: เทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน

31 ถ่านหินนำเข้า/ลิกไนต์
การจัดหาถ่านหินนำเข้า/ลิกไนต์ สัดส่วนการจัดหา ถ่านหินนำเข้า/ลิกไนต์ 56% 54% 51% 50% 59% พันตัน 58% 2560* 4% 3% 2% 1% 2% 1% 45% 47% 44% 43% 39% 41% รวมทั้งสิ้น 29,536 พันตัน * เดือน ม.ค.-ก.ย. การจัดหาถ่านหินนำเข้า/ลิกไนต์ % หมายเหตุ : อื่นๆ หมายถึง ลิกไนต์ของเหมืองเอกชน ภายในประเทศที่ไม่ใช่เหมืองแม่เมาะ

32 ถ่านหินนำเข้า/ลิกไนต์ พันตันเทียบเท่าน้ำมันดิบ (KTOE)
การใช้ถ่านหินนำเข้า/ลิกไนต์ สัดส่วนการใช้ ถ่านหินนำเข้า/ลิกไนต์ 47% 47% 50% 47% 44% พันตันเทียบเท่าน้ำมันดิบ (KTOE) 2560* 51% 53% 53% 56% 53% 50% 49% รวมทั้งสิ้น 14,140 KTOE การใช้ถ่านหินนำเข้า/ลิกไนต์ % * เดือน ม.ค.-ก.ย.

33 ไฟฟ้า

34 ไฟฟ้า เดือน ม.ค.-ก.ย. 2560 การจัดหาไฟฟ้า การผลิตไฟฟ้า กำลังผลิตในระบบ EGAT 38% IPP 36% SPP 17% Import 9% การผลิตไฟฟ้าเพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันของปีก่อน โดยเพิ่มขึ้นจากการผลิตไฟฟ้าจากพลังน้ำ พลังงานหมุนเวียน รวมทั้งไฟฟ้านำเข้า ขณะที่การผลิตไฟฟ้าจากก๊าซธรรมชาติ ถ่านหินนำเข้า/ลิกไนต์ และน้ำมัน มีการผลิตลดลง 1.0% 41,983 MW 152,574 GWh ณ เดือน ก.ย. 2560 รวมผู้ผลิตไฟฟ้าขนาดเล็กมาก (VSPP) ไม่รวมผู้ผลิตไฟฟ้าขนาดเล็กมาก (VSPP) การใช้ไฟฟ้า Peak ครัวเรือน ธุรกิจ อุตสาหกรรม ส่วนราชการและองค์กร ไม่แสวงหากำไร เกษตรกรรม ประเภท ไฟไม่คิดมูลค่า  1.5  1.7  0.2  2.5 Growth (%)  5.9  20.2 24 25 47 0.1 0.2 2 Share (%) ในระบบ 3 การไฟฟ้า ในระบบ กฟผ. การใช้ไฟฟ้า  0.6 30,303 MW 28,578 MW 1.5% ณ วันที่ 4 พ.ค เวลา 14:20 น. ณ วันที่ 4 พ.ค เวลา 14:20 น. รวม Peak ของ VSPP ไม่รวม Peak ของ VSPP 140,113 GWh 2.2% 3.5% การใช้ไฟฟ้าเพิ่มขึ้นในทุกสาขาเศรษฐกิจตามการขยายตัวทางเศรษฐกิจของประเทศ โดยเฉพาะในภาคอุตสาหกรรมและภาคธุรกิจซึ่งเป็นภาคการใช้ไฟฟ้าสำคัญ สำหรับภาคครัวเรือนมีการใช้ไฟฟ้าเพิ่มขึ้นเล็กน้อย เนื่องจากมีฝนตกเร็วกว่าฤดูกาลปกติ ส่งผลให้สภาพอากาศไม่ร้อนอบอ้าวเหมือนปีก่อน ในขณะที่ภาคเกษตรกรรม มีการขยายตัวสูงสุดสอดคล้องกับการขยายตัวของดัชนีผลผลิตสินค้าเกษตร อื่นๆ (คือ ไฟฟ้าชั่วคราว และอื่นๆ) หมายเหตุ: เทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน

35 กำลังผลิตในระบบไฟฟ้า
ณ เดือนกันยายน 2560 9% 9 % 9% 15% 17% 7% 7% 13% 10% 10% 36% 36% 38% 38% 38% เมกะวัตต์ (MW) 2560* 40% 40% 38% 45% 45% รวมทั้งสิ้น 41,983 MW หมายเหตุ : กำลังผลิตในระบบไฟฟ้าในที่นี้ ยังไม่รวมข้อมูลของผู้ผลิตไฟฟ้า ขนาดเล็กมาก (VSPP) กำลังผลิตในระบบไฟฟ้า ณ เดือนกันยายน 2560 เพิ่มขึ้นจากเดือนสิงหาคม 60 MW เนื่องจากมีผู้ผลิตไฟฟ้ารายเล็ก (SPP) เข้าระบบเพิ่มขึ้น * เดือน ม.ค.-ก.ย.

36 จากเชื้อเพลิงชนิดต่างๆ กิกะวัตต์-ชั่วโมง (GWh)
การผลิตไฟฟ้าจากเชื้อเพลิงชนิดต่างๆ สัดส่วนการผลิตไฟฟ้า จากเชื้อเพลิงชนิดต่างๆ 6% 5% 5% 4% 8% 10% 7% 7% 7% 18% 19% 20% 20% 12% กิกะวัตต์-ชั่วโมง (GWh) 18% 2560* 65% 67% 63% 66% 60% รวมทั้งสิ้น 152,574 GWh หมายเหตุ : การผลิตไฟฟ้าในที่นี้รวมถึงการผลิต ของผู้ผลิตไฟฟ้าขนาดเล็กมาก (VSPP) การผลิตไฟฟ้า % จากการผลิตไฟฟ้าจากพลังน้ำ พลังงานหมุนเวียน และไฟฟ้านำเข้าที่เพิ่มขึ้น ขณะที่การผลิตไฟฟ้าจากก๊าซธรรมชาติ ถ่านหินนำเข้า/ลิกไนต์ และน้ำมันลดลง * เดือน ม.ค.-ก.ย.

37 การใช้เชื้อเพลิงในการผลิตไฟฟ้าของโรงไฟฟ้า กฟผ. ลดลงทุกประเภทเชื้อเพลิง
การใช้เชื้อเพลิงในการผลิตไฟฟ้าของ กฟผ. 9.7% 17.8% 2.1% 74.0% น้ำมันเตา ดีเซล ก๊าซธรรมชาติ ลิกไนต์ (ล้านลิตร) (ล้านลิตร) (MMSCFD) (ล้านตัน) * เดือน ม.ค.-ก.ย. การใช้เชื้อเพลิงในการผลิตไฟฟ้าของโรงไฟฟ้า กฟผ. ลดลงทุกประเภทเชื้อเพลิง

38 ความต้องการพลังไฟฟ้าสูงสุดสุทธิของระบบ กฟผ.
3.5% Peak 11 พ.ค เวลา 22:28 น. 29,619 MW 4 พ.ค เวลา 14:20 น. 28,578 MW 2560 2559 เมกะวัตต์ (MW) 2558 2557 2556 หมายเหตุ : ความต้องการพลังไฟฟ้าสูงสุดสุทธิของระบบ กฟผ. (Net Peak Generation Requirement) ไม่รวมที่ใช้ใน Station Service

39 กิกะวัตต์-ชั่วโมง (GWh)
ปริมาณการใช้ไฟฟ้า สัดส่วนการใช้ไฟฟ้า 11.6% กฟภ. (PEA) 0.1% 2560* กิกะวัตต์-ชั่วโมง (GWh) กฟน. (MEA) 2.2% ลูกค้าตรง EGAT รวมทั้งประเทศ 140,113 GWh การใช้ไฟฟ้าทั้งประเทศ % * เดือน ม.ค.-ก.ย.

40 กิกะวัตต์-ชั่วโมง (GWh)
ปริมาณการใช้ไฟฟ้ารายสาขา * เดือน ม.ค.-ก.ย. ปี 2560* ประเภท Growth (%) Share (%) ครัวเรือน  0.6 24 ธุรกิจ  1.5 25 อุตสาหกรรม  1.7 47 ส่วนราชการและองค์กรไม่แสวงหากำไร**  0.2 0.1 เกษตรกรรม***  20.2 0.2 อื่นๆ****  2.5 2 ไฟฟ้าไม่คิดมูลค่า  5.9 อุตสาหกรรม กิกะวัตต์-ชั่วโมง (GWh) 2560* ธุรกิจ ครัวเรือน ส่วนราชการฯ เกษตรกรรม*** ไฟฟ้าไม่คิดมูลค่า อื่นๆ**** ** ตั้งแต่เดือน ต.ค เป็นต้นไป ผู้ใช้ไฟฟ้าที่เป็นหน่วยงานราชการจะถูกจัดเข้าประเภทธุรกิจ/กิจการขนาดเล็ก แล้วแต่กรณี *** การใช้ไฟฟ้าในสาขาเกษตรกรรม ได้แก่ การใช้ไฟฟ้าในการสูบน้ำเพื่อการเกษตร **** อื่นๆ ได้แก่ ไฟฟ้าชั่วคราว และอื่นๆ

41 กิกะวัตต์-ชั่วโมง (GWh)
การจำหน่ายไฟฟ้าจำแนกตามประเภทอัตราค่าไฟฟ้า ปี 2560* ประเภท Growth (%) Share (%) บ้านอยู่อาศัย  0.6 24 กิจการขนาดเล็ก  1.1 11 กิจการขนาดกลาง  1.2 16 กิจการขนาดใหญ่  2.7 40 กิจการเฉพาะอย่าง  0.4 3 ส่วนราชการและองค์กรไม่แสวงหากำไร**  0.2 0.1 สูบน้ำการเกษตร  20.2 0.2 ไฟฟ้าชั่วคราว  0.8 1 อื่นๆ***  2.2 ลูกค้าตรง กฟผ.  11.6 * เดือน ม.ค.-ก.ย. กิจการขนาดใหญ่ กิกะวัตต์-ชั่วโมง (GWh) กิจการขนาดกลาง กิจการขนาดเล็ก บ้านอยู่อาศัย กิจการเฉพาะอย่าง ส่วนราชการฯ สูบน้ำการเกษตร ไฟฟ้าชั่วคราว อื่นๆ*** ลูกค้าตรง กฟผ. ** ตั้งแต่เดือน ต.ค เป็นต้นไป ผู้ใช้ไฟฟ้าที่เป็นหน่วยงานราชการจะถูกจัดเข้าประเภทกิจการขนาดเล็ก/กลาง/ใหญ่ แล้วแต่กรณี *** อื่นๆ ได้แก่ ประเภทไฟฟ้าสำรอง ประเภทที่สามารถงดจ่ายไฟฟ้าได้ และการใช้ไฟฟ้าที่ไม่คิดมูลค่า

42 กิกะวัตต์-ชั่วโมง (GWh)
การจำหน่ายไฟฟ้าของกลุ่มอุตสาหกรรมที่สำคัญ อาหาร เหล็กและโลหะพื้นฐาน อิเล็กทรอนิกส์ กิกะวัตต์-ชั่วโมง (GWh) สิ่งทอ ยานยนต์ พลาสติก ซีเมนต์ ยางและผลิตภัณฑ์ยาง การผลิตน้ำแข็ง เคมีภัณฑ์ ปี 2560* อาหาร เหล็กและโลหะพื้นฐาน สิ่งทอ อิเล็กทรอนิกส์ พลาสติก ยานยนต์ ซีเมนต์ เคมีภัณฑ์ ยางและผลิตภัณฑ์ยาง การผลิตน้ำแข็ง Growth (%)  5.6  9.6  4.1  3.8  0.5  2.7  5.7  5.1  4.2  2.5 * เดือน ม.ค.-ก.ย.

43 กิกะวัตต์-ชั่วโมง (GWh) โรงพยาบาล/สถานบริการ
การจำหน่ายไฟฟ้าของกลุ่มธุรกิจที่สำคัญ ห้างสรรพสินค้า อพาร์ทเมนต์ โรงแรม ขายปลีก กิกะวัตต์-ชั่วโมง (GWh) อสังหาริมทรัพย์ ขายส่ง โรงพยาบาล ภัตตาคารและไนต์คลับ สถาบันการเงิน ก่อสร้าง ปี 2560* ห้างสรรพ สินค้า โรงแรม อพาร์ตเมนต์ และเกสต์เฮาส์ ขายปลีก อสังหา ริมทรัพย์ โรงพยาบาล/สถานบริการ ทางการแพทย์ ขายส่ง สถาบันการเงิน ก่อสร้าง ภัตตาคาร และไนต์คลับ Growth (%)  2.0  0.8  3.3  0.7  1.3  0.5  4.2  1.6  1.9 * เดือน ม.ค.-ก.ย.

44 มูลค่าพลังงาน

45 มูลค่าและราคาพลังงาน
เดือน ม.ค.-ก.ย. 2560 มูลค่าพลังงาน หมายเหตุ: เทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน มูลค่าการนำเข้าพลังงาน มูลค่าการส่งออกพลังงาน มูลค่าการใช้พลังงานขั้นสุดท้าย 28.4% 36.5% 6.7% 711 พันล้านบาท 150 พันล้านบาท 1,552 พันล้านบาท ราคา LNG หน่วย : เหรียญสหรัฐ/MMBtu 7.22 ราคาพลังงาน ราคาน้ำมันดิบตลาดโลก หน่วย : เหรียญสหรัฐ/บาร์เรล 49.8 เวสเท็กซัส 55.6 เบรนท์ 53.7 ดูไบ หมายเหตุ : ราคาเฉลี่ยเดือน ก.ย. 2560 Spot ราคาน้ำมันสำเร็จรูปตลาดสิงคโปร์ 49.9 น้ำมันเตา 68.4 ดีเซล 70.5 เบนซิน ราคานำเข้า LPG หน่วย : เหรียญสหรัฐ/ตัน 490 CP มูลค่าการใช้น้ำมันสำเร็จรูป 13.3% 888 พันล้านบาท มูลค่าพลังงานทุกประเภทเพิ่มขึ้นตามราคาน้ำมันดิบตลาดโลก ซึ่งปีนี้อยู่ในระดับที่สูงกว่าช่วงเดียวกันของปีก่อน ราคาพลังงานทุกชนิดในเดือน ก.ย. มีทิศทางเพิ่มขึ้นเมื่อเทียบ กับเดือนก่อน

46 สัดส่วนมูลค่าการนำเข้าพลังงาน
8 % 8 % 8 % 9 % 10 % 14% พันล้านบาท 12% 2560* 77 % 76% 11% 9% 70% 7% 13% 13% 65% 63% 64% รวมนำเข้า 711 พันล้านบาท หมายเหตุ : ตั้งแต่ปี 2558 มูลค่าการนำเข้าพลังงานลดลงมาก เนื่องจากราคาน้ำมันในตลาดโลกลดลง มูลค่าการนำเข้าพลังงาน % * เดือน ม.ค.-ก.ย.

47 สัดส่วนมูลค่าการส่งออกพลังงาน
1 % 1 % 2 % พันล้านบาท 86 % 4 % 2560* 91 % 3 % 95 % 2 % 96 % 88 % 87 % 13 % 8 % 3 % 9 % 11 % รวมส่งออก 150 พันล้านบาท หมายเหตุ : ระหว่างเดือนกันยายน 2557 ถึงเดือนพฤศจิกายน 2558 ไม่มีการส่งออก น้ำมันดิบตามนโยบายรัฐบาล โดยกลับมามีการส่งออกน้ำมันดิบอีกครั้ง จากแหล่งวาสนา แหล่งสงขลา แหล่งนงเยาว์ แหล่งมโนราห์ และแหล่งบัวหลวง เนื่องจากน้ำมันจากแหล่งดังกล่าวมีคุณภาพไม่ตรงกับ ความต้องการของโรงกลั่นน้ำมันในประเทศ มูลค่าการส่งออกพลังงาน % * เดือน ม.ค.-ก.ย.

48 การใช้พลังงานขั้นสุดท้าย รวมทั้งสิ้น 1,552 พันล้านบาท
มูลค่าการใช้พลังงานขั้นสุดท้าย สัดส่วนมูลค่า การใช้พลังงานขั้นสุดท้าย 5 % 6 % 6 % 7 % 5 % 6 % 5 % 6 % 5 % 5 % 28 % 29 % 26 % 32 % 33 % 5 % พันล้านบาท 31 % 2560* 61 % 60 % 59 % 55 % 55 % 57 % รวมทั้งสิ้น 1,552 พันล้านบาท มูลค่าการใช้พลังงานขั้นสุดท้าย % * เดือน ม.ค.-ก.ย.

49 การใช้น้ำมันสำเร็จรูป รวมทั้งสิ้น 888 พันล้านบาท
มูลค่าการใช้น้ำมันสำเร็จรูป สัดส่วนมูลค่า การใช้น้ำมันสำเร็จรูป 11% 11% 12% 12 % 11 % 4% 4% 3% 11% 15% 15% 9% 14% 3% 4% 16% 14% 9% 4% พันล้านบาท 13% 2560* 48% 47% 47% 47% 49% 50% 23% 23% 23% 23% 24% 24% รวมทั้งสิ้น 888 พันล้านบาท มูลค่าการใช้น้ำมันสำเร็จรูป % * เดือน ม.ค.-ก.ย.

50 ราคาพลังงาน

51 เปรียบเทียบราคาขายปลีกพลังงาน

52 ราคานำเข้า LPG (Contract Price)

53 ราคา Spot LNG

54 ราคาน้ำมันดิบตลาดโลก

55 ราคาน้ำมันสำเร็จรูปตลาดสิงคโปร์

56 พลังงานกับเศรษฐกิจ

57 รายได้ประชาชาติ(GDP) การใช้น้ำมันสำเร็จรูป
พลังงานกับเศรษฐกิจ เดือน ม.ค.-มิ.ย. 2560 พลังงานกับเศรษฐกิจ ปี 2559 การใช้พลังงาน ขั้นสุดท้าย รายได้ประชาชาติ(GDP) การใช้น้ำมันสำเร็จรูป การใช้ไฟฟ้า ประชากร 85,620 KTOE 39,816 KTOE 182,847 GWh 9,809 พันล้านบาท 65,932 พันคน ไตรมาส 1-2 ปี 2560 (ม.ค. – มิ.ย.) สัดส่วนพลังงานกับเศรษฐกิจ GDP ปี 2559 GDP ความยืดหยุ่น การใช้พลังงาน (EE) = 0.28 ความเข้มข้น ของการใช้พลังงาน (EI) = 8.62** 10% หลักเกณฑ์การเปรียบเทียบดัชนีชี้วัดพลังงาน (เปรียบเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อนหน้า) ความมั่นคงด้านพลังงาน R/P ratio : จำนวนปี R/P ratio มากกว่าปีก่อนหน้า ดี (หน้ายิ้ม) : จำนวนปี R/P ratio น้อยกว่าปีก่อนหน้า แย่ (หน้าบึ้ง) อัตราส่วนการพึ่งพาตนเองในการจัดหาพลังงานขั้นต้น : มากกว่าช่วงเดียวกันของปีก่อนหน้า ดี (หน้ายิ้ม) : น้อยกว่าช่วงเดียวกันของปีก่อนหน้า แย่ (หน้าบึ้ง) : เท่ากับช่วงเดียวกันของปีก่อนหน้า ปกติ (หน้าปกติ) ปริมาณการผลิตไบโอดีเซล B100 และการผลิตเอทานอล : ปริมาณการผลิตเพิ่มขึ้น ดี (หน้ายิ้ม) : ปริมาณการผลิตลดลง แย่ (หน้าบึ้ง) สัดส่วนมูลค่าการนำเข้าพลังงานต่อมูลค่าการนำเข้าทั้งหมด : สัดส่วนมูลค่าการนำเข้าพลังงานลดลง ดี (หน้ายิ้ม) : สัดส่วนมูลค่าการนำเข้าพลังงานสูงขึ้น แย่ (หน้าบึ้ง) สัดส่วนมูลค่าการส่งออกพลังงานต่อมูลค่าการส่งออกทั้งหมด : สัดส่วนมูลค่าการส่งออกพลังงานสูงขึ้น ดี (หน้ายิ้ม) : สัดส่วนมูลค่าการส่งออกพลังงานลดลง แย่ (หน้าบึ้ง) ประสิทธิภาพการใช้พลังงาน ความยืดหยุ่นการใช้พลังงาน / ความยืดหยุ่นการใช้ไฟฟ้า : ค่าระหว่าง 0.95 – 1.05 คงที่ (หน้าปกติ) : ค่าต่ำกว่า 0.95 ดี (หน้ายิ้ม) : ค่าสูงกว่า 1.05 แย่ (หน้าบึ้ง) ความเข้มข้นการใช้พลังงาน / การใช้ไฟฟ้าต่อ GDP / การใช้พลังงานขั้นสุดท้ายต่อหัวประชากร / การใช้ไฟฟ้าต่อหัวประชากร : ค่าต่อหน่วยลดลง ดี (หน้ายิ้ม) : ค่าต่อหน่วยเพิ่มขึ้น แย่ (หน้าบึ้ง) พลังงานและสิ่งแวดล้อม การปล่อยก๊าซ CO2 ต่อการใช้พลังงาน / ต่อหัวประชากร / ต่อ GDP / ต่อหน่วยการผลิตไฟฟ้า 14% 6% 11% มูลค่าการนำเข้าน้ำมัน ต่อมูลค่าการนำเข้าสินค้า มูลค่า การใช้พลังงาน ต่อ GDP* 8% มูลค่า การนำเข้าพลังงาน ต่อ GDP* มูลค่าการนำเข้าพลังงาน ต่อมูลค่า การนำเข้าสินค้าทั้งหมด มูลค่าการนำเข้าน้ำมัน ต่อมูลค่า การนำเข้าสินค้าทั้งหมด *GDP ณ ราคาตลาด หมายเหตุ: เทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน **หน่วย KTOE/พันล้านบาท

58 การใช้พลังงาน รายได้ประชาชาติ และประชากร
KTOE, GWh, พันคน พันล้านบาท การใช้ไฟฟ้า (GWh) GDP (พันล้านบาท) การใช้พลังงานขั้นสุดท้าย (KTOE) ประชากร (พันคน) การใช้น้ำมันสำเร็จรูป (KTOE) ที่มา: สศช. สนพ. พพ.

59 สัดส่วนมูลค่าการนำเข้าน้ำมันต่อมูลค่าการนำเข้าสินค้า
% ที่มา: ธปท. สนพ.

60 สัดส่วนมูลค่าการนำเข้าพลังงานต่อ GDP (ณ ราคาตลาด)
% ที่มา: สศช. สนพ.

61 สัดส่วนมูลค่าการใช้พลังงานต่อ GDP (ณ ราคาตลาด)
% ที่มา: สศช. สนพ.

62 สัดส่วนมูลค่าการนำเข้าพลังงาน : การนำเข้า-ส่งออกรวมและดุลการค้า
พันล้านบาท -708 -748 -91 644 2555 2556 2557 2558 2559 ดุลการค้า (พันล้านบาท) -708 -748 -91 321 644 นำเข้าพลังงาน(%) 19% 13% 11% นำเข้าน้ำมัน(%) 16% 10% 8% 3% 322 -275 3% 16% 3% 2% 16% 3% 3% 257 16% -111 15% 10% 8% 2% 593 2% 432 -6 14% -315 18% 2% 2% 2% 15% 3% 17% 16% 73 14% 187 149 132 14% 280 308 12% 474 -118 11% 11% -421 -357 13% 10% -231 6% 9% 10% -231 8% 6% 8% ที่มา: ธปท. สนพ.

63 ความยืดหยุ่นการใช้พลังงาน (Energy Elasticity : EE) รายปี
ปี วิกฤติการเมือง ในไทย ปี 2554 น้ำท่วมใหญ่ ในไทย ปี วิกฤติเศรษฐกิจต้มยำกุ้ง ปี วิกฤติเศรษฐกิจแฮมเบอร์เกอร์ หมายเหตุ การใช้พลังงานขั้นสุดท้าย รวมการใช้พลังงานทดแทน ที่มา : สศช., สนพ., พพ.

64 ความยืดหยุ่นการใช้พลังงาน (Energy Elasticity : EE) เฉลี่ย 5 ปี
หมายเหตุ การใช้พลังงานขั้นสุดท้าย รวมการใช้พลังงานทดแทน ที่มา : สศช., สนพ., พพ.

65 วิกฤติเศรษฐกิจแฮมเบอร์เกอร์
ความเข้มข้นของการใช้พลังงาน (Energy Intensity : EI) ปี วิกฤติเศรษฐกิจ ต้มยำกุ้ง 2554 น้ำท่วมใหญ่ ประเทศไทย KTOE/พันล้านบาท ปี วิกฤติเศรษฐกิจแฮมเบอร์เกอร์ ปี วิกฤติการเมือง ในไทย หมายเหตุ : 1. EI คือ สัดส่วนการใช้พลังงานขั้นสุดท้ายต่อผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ 2 การใช้พลังงานขั้นสุดท้าย รวมการใช้พลังงานทดแทน ที่มา : สศช., สนพ., พพ.

66 การปล่อย CO2 จากการใช้พลังงานของประเทศ

67 การปล่อย CO2 จากการใช้พลังงาน
เดือน ม.ค.-ก.ย. 2560 การปล่อย CO2 รายสาขา 195.7 ล้านตัน CO2 0.5% หมายเหตุ: เทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน ผลิตไฟฟ้า 37% อุตสาหกรรม 27% อื่นๆ* 8% ขนส่ง 28% 72.9 ล้านตัน CO2 52.9 ล้านตัน CO2 15.2 ล้านตัน CO2 *ภาคอื่นๆ หมายถึง ภาคครัวเรือน เกษตรกรรม พาณิชยกรรม และอื่นๆ 54.7 ล้านตัน CO2 การปล่อย CO2 ต่อการใช้พลังงาน การปล่อย CO2 ต่อ GDP 1.90 การปล่อย CO2 ต่อหัวประชากร 0.64 การปล่อย CO2 ต่อหน่วยการผลิตไฟฟ้า พันตัน CO2/KTOE กิโลกรัม CO2/เหรียญสหรัฐ ณ ปีฐาน ค.ศ. 2005 3.91 0.478 ไทยปล่อย CO2 ต่อการใช้พลังงานต่ำกว่าค่าเฉลี่ยโลก ค่าเฉลี่ยของประเทศในเอเชีย สหรัฐอเมริกา สหภาพยุโรป รวมทั้งจีน ข้อมูล ณ ปี 2559 ตัน CO2/หัวประชากร กิโลกรัม CO2/ kWh ไทยปล่อย CO2 ต่อ GDP ต่ำกว่าจีน และค่าเฉลี่ยของประเทศในเอเชีย แต่สูงกว่าค่าเฉลี่ยโลก สหรัฐอเมริกา และสหภาพยุโรป ข้อมูล ณ ปี 2559 ไทยปล่อย CO2 ต่อหัว ต่ำกว่าค่าเฉลี่ยโลก สหรัฐอเมริกา สหภาพยุโรป และจีน แต่สูงกว่าค่าเฉลี่ยของประเทศในเอเชีย ไทยปล่อย CO2 ต่อหน่วยการผลิตไฟฟ้า ต่ำกว่าจีน และค่าเฉลี่ยของประเทศในเอเชีย แต่สูงกว่าสหภาพยุโรป และประเทศพัฒนาแล้ว ในทวีปอเมริกา การใช้พลังงาน หมายถึงการใช้พลังงานขั้นต้น รวมถึงการใช้พลังงานทดแทน

68 การปล่อยก๊าซ CO2 จากการใช้พลังงานรายสาขาเศรษฐกิจ
จากการใช้พลังงาน รายสาขาเศรษฐกิจ การผลิตไฟฟ้า ล้านตัน CO2 ขนส่ง อุตสาหกรรม 2560* อื่นๆ รวมทั้งสิ้น ล้านตัน CO2 * เดือน ม.ค.-ก.ย. การปล่อยก๊าซ CO % จากช่วงเดียวกันของปีก่อน จากภาคขนส่ง ภาคอุตสาหกรรม และภาคเศรษฐกิจอื่นๆ ซึ่งยังคง ปล่อยก๊าซเพิ่มขึ้น ขณะที่ภาคการผลิตไฟฟ้ามีการปล่อยก๊าซลดลง หมายเหตุ : สาขาเศรษฐกิจอื่นๆ หมายถึง ภาคครัวเรือน เกษตรกรรม พาณิชยกรรม และกิจกรรมอื่นๆ

69 การปล่อยก๊าซ CO2 ต่อการใช้พลังงาน
* เดือน ม.ค.-ก.ย. 2.26 พันตัน CO2/ KTOE 1.90 1.90 การใช้พลังงาน หมายถึงการใช้พลังงานขั้นต้นโดยรวมถึงการใช้พลังงานทดแทน พันตัน CO2/KTOE พ.ศ. 2535 2536 2537 2538 2539 2540 2541 2542 2543 2544 2545 2546 2547 CO2 1.90 2.03 2.12 2.17 2.25 2.24 2.26 2.16 2.14 2.13 พ.ศ. 2548 2549 2550 2551 2552 2553 2554 2555 2556 2557 2558 2559 2560* CO2 2.09 2.07 2.06 2.03 2.00 2.04 1.96 1.97 1.99 1.94 1.90

70 การปล่อยก๊าซ CO2 ต่อหัวประชากร
3.91 2.32 จำนวนประชากร จากกรมการปกครอง (ปค.) กระทรวงมหาดไทย ตัน CO2/หัวประชากร พ.ศ. 2538 2539 2540 2541 2542 2543 2544 2545 2546 2547 2548 CO2 2.32 2.59 2.65 2.37 2.43 2.44 2.46 2.60 2.73 3.02 3.09 พ.ศ. 2549 2550 2551 2552 2553 2554 2555 2556 2557 2558 2559 CO2 3.08 3.18 3.21 3.28 3.45 3.50 3.74 3.85 3.87 3.91

71 การปล่อยก๊าซ CO2 ต่อ GDP
30.93 27.16 26.30 ตัน CO2/ล้านบาท GDP (CVM) จากสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ณ ปีอ้างอิง พ.ศ (ค.ศ. 2002) พ.ศ. 2538 2539 2540 2541 2542 2543 2544 2545 2546 2547 2548 CO2 27.16 29.05 30.93 30.24 29.80 28.71 28.25 28.35 27.82 28.51 28.12 พ.ศ. 2549 2550 2551 2552 2553 2554 2555 2556 2557 2558 2559 CO2 26.88 26.47 26.37 27.20 26.80 27.04 27.08 26.50 27.14 26.78 26.30

72 การปล่อยก๊าซ CO2 ต่อหน่วยการผลิตไฟฟ้า
* เดือน ม.ค.-ก.ย. กิโลกรัม CO2/kWh 0.657 0.478 กิโลกรัม CO2/kWh พ.ศ. 2535 2536 2537 2538 2539 2540 2541 2542 2543 2544 2545 2546 2547 CO2 0.657 0.640 0.633 0.609 0.648 0.656 0.636 0.646 0.634 0.604 0.587 0.573 0.581 พ.ศ. 2548 2549 2550 2551 2552 2553 2554 2555 2556 2557 2558 2559 2560* CO2 0.571 0.570 0.560 0.551 0.530 0.529 0.532 0.509 0.497 0.478 การผลิตไฟฟ้าในที่นี้ หมายถึง การผลิตไฟฟ้ารวม (Gross Energy Generation) ของระบบ กฟผ. และการผลิตไฟฟ้าสุทธิ (Net Energy Generation) ของ IPP, SPP และ VSPP

73 ดัชนีชี้วัดพลังงาน

74 ความมั่นคงด้านพลังงาน
ดัชนีชี้วัดพลังงาน เดือน ม.ค.-ก.ย.2560 ความมั่นคงด้านพลังงาน ประสิทธิภาพการใช้พลังงาน พลังงานและสิ่งแวดล้อม 58 อัตราส่วนการพึ่งพาตนเองในการจัดหาพลังงาน ขั้นต้น** (%) 4.20 ปริมาณการผลิตไบโอดีเซล B100* (ล้านลิตร/วัน) สัดส่วนมูลค่าพลังงาน*** มูลค่าการนำเข้า พลังงานต่อมูลค่า การนำเข้าทั้งหมด (%) มูลค่าการส่งออก พลังงานต่อมูลค่า การส่งออกทั้งหมด (%) 11.1 2.2 R/P ratio*** น้ำมันดิบ (ปี) ก๊าซธรรมชาติ (ปี) 3 5 3.92 ปริมาณการผลิตเอทานอล* (ล้านลิตร/วัน) 1.1931 ความยืดหยุ่นการใช้ไฟฟ้า (พ.ศ ) 8.7 ความเข้มข้นของการใช้พลังงาน (EI)*** (TOE/ล้านบาท) 1.0124 ความยืดหยุ่นการใช้พลังงาน (EE) (พ.ศ ) 18.6 การใช้ไฟฟ้าต่อ GDP*** (GWh/ล้านบาท) 1.30 การใช้พลังงานขั้นสุดท้ายต่อหัวประชากร*** (TOE/หัวประชากร) 2,770 การใช้ไฟฟ้า ต่อหัวประชากร*** (kWh/หัวประชากร) 1.90 การปล่อยก๊าซ CO2 ต่อการใช้พลังงาน** (พันตัน CO2/KTOE) 3.91 การปล่อยก๊าซ CO2 ต่อหัวประชากร*** (ตัน CO2/หัวประชากร) 26.30 การปล่อยก๊าซ CO2 ต่อ GDP*** (ตัน CO2/ล้านบาท) 0.478 การปล่อยก๊าซ CO2 ต่อหน่วยการผลิตไฟฟ้า** (กิโลกรัม CO2/kWh) หลักเกณฑ์การเปรียบเทียบดัชนีชี้วัดพลังงาน (เปรียบเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อนหน้า) ความมั่นคงด้านพลังงาน R/P ratio : จำนวนปี R/P ratio มากกว่าปีก่อนหน้า ดี (หน้ายิ้ม) : จำนวนปี R/P ratio น้อยกว่าปีก่อนหน้า แย่ (หน้าบึ้ง) อัตราส่วนการพึ่งพาตนเองในการจัดหาพลังงานขั้นต้น : มากกว่าช่วงเดียวกันของปีก่อนหน้า ดี (หน้ายิ้ม) : น้อยกว่าช่วงเดียวกันของปีก่อนหน้า แย่ (หน้าบึ้ง) : เท่ากับช่วงเดียวกันของปีก่อนหน้า ปกติ (หน้าปกติ) ปริมาณการผลิตไบโอดีเซล B100 และการผลิตเอทานอล : ปริมาณการผลิตเพิ่มขึ้น ดี (หน้ายิ้ม) : ปริมาณการผลิตลดลง แย่ (หน้าบึ้ง) สัดส่วนมูลค่าการนำเข้าพลังงานต่อมูลค่าการนำเข้าทั้งหมด : สัดส่วนมูลค่าการนำเข้าพลังงานลดลง ดี (หน้ายิ้ม) : สัดส่วนมูลค่าการนำเข้าพลังงานสูงขึ้น แย่ (หน้าบึ้ง) สัดส่วนมูลค่าการส่งออกพลังงานต่อมูลค่าการส่งออกทั้งหมด : สัดส่วนมูลค่าการส่งออกพลังงานสูงขึ้น ดี (หน้ายิ้ม) : สัดส่วนมูลค่าการส่งออกพลังงานลดลง แย่ (หน้าบึ้ง) ประสิทธิภาพการใช้พลังงาน ความยืดหยุ่นการใช้พลังงาน / ความยืดหยุ่นการใช้ไฟฟ้า : ค่าระหว่าง 0.95 – 1.05 คงที่ (หน้าปกติ) : ค่าต่ำกว่า 0.95 ดี (หน้ายิ้ม) : ค่าสูงกว่า 1.05 แย่ (หน้าบึ้ง) ความเข้มข้นการใช้พลังงาน / การใช้ไฟฟ้าต่อ GDP / การใช้พลังงานขั้นสุดท้ายต่อหัวประชากร / การใช้ไฟฟ้าต่อหัวประชากร : ค่าต่อหน่วยลดลง ดี (หน้ายิ้ม) : ค่าต่อหน่วยเพิ่มขึ้น แย่ (หน้าบึ้ง) พลังงานและสิ่งแวดล้อม การปล่อยก๊าซ CO2 ต่อการใช้พลังงาน / ต่อหัวประชากร / ต่อ GDP / ต่อหน่วยการผลิตไฟฟ้า = ดี = ปกติ = ควรปรับปรุง เปรียบเทียบกับค่าดัชนีชี้วัดพลังงานช่วงเดียวกัน ของปีก่อนหน้า ยกเว้น ความยืดหยุ่นการใช้พลังงาน และความยืดหยุ่นการใช้ไฟฟ้า เปรียบเทียบกับค่า 1.0 หมายเหตุ : * คือข้อมูล ณ เดือน ก.ย. 2560 ** คือข้อมูลช่วงเดือน ม.ค.- ก.ย. 2560 *** คือข้อมูล ปี 2559

75 การผลิตพลังงานขั้นต้น
KTOE รวมทั้งสิ้น พลังงานทดแทน ก๊าซธรรมชาติ น้ำมันดิบ* ลิกไนต์ ที่มา: ชธ., กพร., กฟผ., พพ. *น้ำมันดิบและคอนเดนเสท หมายเหตุ: พลังงานทดแทน ก.ย.60 เป็นข้อมูลเบื้องต้น

76 การใช้พลังงานขั้นสุดท้าย
KTOE รวมทั้งสิ้น น้ำมัน ไฟฟ้า พลังงานทดแทน ก๊าซธรรมชาติ ถ่านหิน/ลิกไนต์ ที่มา: สนพ., พพ. หมายเหตุ: พลังงานทดแทน ก.ย.60 เป็นข้อมูลเบื้องต้น

77 อัตราส่วนปริมาณสำรองต่อการผลิต (R/P ratio)
จำนวนปี ลิกไนต์ น้ำมันดิบ คอนเดนเสท ก๊าซธรรมชาติ ที่มา : ชธ. หมายเหตุ : R/P Ratio ของลิกไนต์ คำนวณโดย สนพ R = ปริมาณสำรองที่พิสูจน์แล้ว

78 อัตราส่วนการพึ่งพาตนเองในการจัดหาพลังงานขั้นต้น
% * เดือน ม.ค.-ก.ย. (เดือนก.ย.เป็นข้อมูลเบื้องต้น) อัตราส่วนการพึ่งพาตนเองในการจัดหาพลังงานขั้นต้น = (การผลิตพลังงานขั้นต้น/ การจัดหาพลังงานขั้นต้น ) x 100 ที่มา: ชธ., ธพ., พพ., กพร., ศก., กฟผ., ปตท.

79 อัตราส่วนการพึ่งพาตนเองรายเชื้อเพลิง
% ก๊าซธรรมชาติ 72% 23% ถ่านหิน/ลิกไนต์ น้ำมัน** 21% อัตราส่วนการพึ่งพาตนเอง = (การผลิตพลังงาน/ การจัดหาพลังงาน ) x 100 * เดือน ม.ค.-ก.ย. **น้ำมันดิบและคอนเดนเสท ที่มา: ชธ., ธพ., พพ., กพร., ศก., กฟผ., ปตท.

80 การนำเข้าน้ำมันดิบ % อื่นๆ ตะวันออกไกล ตะวันออกกลาง ที่มา: ธพ.
* เดือน ม.ค.-ก.ย.

81 นำเข้าจากประเทศเมียนมา
การนำเข้าก๊าซธรรมชาติและ LNG % LNG นำเข้าจากประเทศเมียนมา ที่มา: ปตท. * เดือน ม.ค.-ก.ย.

82 สัดส่วนการใช้เชื้อเพลิงในการผลิตไฟฟ้า
% พลังงานหมุนเวียน พลังน้ำ นำเข้า น้ำมัน ถ่านหิน/ลิกไนต์ ก๊าซธรรมชาติ ที่มา : กฟผ., PEA, กฟน. * เดือน ม.ค.-ก.ย.

83 ปริมาณการผลิตไบโอดีเซล B100
ล้านลิตร/วัน 3.62 4.20 ล้านลิตร/วัน พ.ศ. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. 2558 3.23 2.27 2.25 3.15 3.65 3.64 3.37 3.48 3.62 3.88 3.96 4.12 2559 4.11 4.19 4.29 4.23 4.26 3.72 3.82 2.76 1.89 1.55 2.33 3.27 2560 3.17 3.43 3.31 3.34 4.17 4.60 4.16 4.21 4.20 ที่มา : พพ.

84 ปริมาณการผลิตเอทานอล
ล้านลิตร/วัน 3.92 ล้านลิตร/วัน พ.ศ. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. 2558 3.67 3.31 3.28 3.29 3.13 3.48 3.46 3.17 2.60 2.74 3.16 2559 3.38 3.57 3.61 2.79 2.65 3.26 3.54 3.49 3.32 3.62 2560 4.24 4.58 4.31 3.56 4.30 3.69 4.38 3.92 ที่มา : พพ. * เดือนก.ย. เป็นข้อมูลเบื้องต้น

85 สัดส่วนมูลค่าการนำเข้าพลังงานต่อมูลค่าการนำเข้าทั้งหมด
% ที่มา: ธปท., สนพ.

86 สัดส่วนมูลค่าการส่งออกพลังงานต่อมูลค่าการส่งออกทั้งหมด
% ที่มา: ธปท., สนพ.

87 Source: NESDB, EPPO, DEDE
ความยืดหยุ่นการใช้พลังงาน ความยืดหยุ่นการใช้พลังงาน (Energy Elasticity) พ.ศ Source: NESDB, EPPO, DEDE

88 Source: NESDB, MEA, PEA, EGAT
ความยืดหยุ่นการใช้ไฟฟ้า ความยืดหยุ่นการใช้ไฟฟ้า (Electricity Elasticity) พ.ศ Source: NESDB, MEA, PEA, EGAT

89 ความเข้มข้นของการใช้พลังงาน (Energy Intensity)
TOE/ล้านบาท ความเข้มข้นของการใช้พลังงาน (Energy Intensity : EI) = การใช้พลังงานขั้นสุดท้าย (Final Energy Consumption :FEC) / GDP GDP : chain volume measures (reference year = 2002) จาก สศช. ที่มา : สศช., สนพ., พพ.

90 การใช้ไฟฟ้าต่อ GDP GWh/ล้านบาท
ELC = การใช้ไฟฟ้า (Electricity Consumption) GDP : chain volume measures (reference year = 2002) จาก สศช. ที่มา : สศช., กฟผ., กฟน., PEA

91 การใช้พลังงานขั้นสุดท้ายต่อหัวประชากร
TOE/หัวประชากร 1.30 0.79 TOE/หัวประชากร พ.ศ. 2544 2545 2546 2547 2548 2550 2551 2552 2553 2554 2555 2556 2557 2558 2559 FEC/POP 0.79 0.84 0.89 0.99 1.01 1.00 1.04 1.06 1.08 1.14 1.17 1.22 1.24 1.27 1.29 1.30 FEC = การใช้พลังงานขั้นสุดท้าย (Final Energy Consumption) POP = จำนวนประชากร (Population) ที่มา: ปค., สนพ., พพ.

92 การใช้ไฟฟ้าต่อหัวประชากร
kWh/หัวประชากร 2,770 1,490 kWh/หัวประชากร พ.ศ. 2544 2545 2546 2547 2548 2550 2551 2552 2553 2554 2555 2556 2557 2558 2559 ELC/POP 1,490 1,593 1,693 1,858 1,943 2,035 2,111 2,138 2,128 2,337 2,323 2,510 2,537 2,590 2,660 2,770 ELC = การใช้ไฟฟ้า (Electricity Consumption) POP = จำนวนประชากร (Population) ที่มา : ปค., กฟผ., กฟน., PEA

93 การปล่อยก๊าซ CO2 ต่อการใช้พลังงาน
* เดือน ม.ค.-ก.ย. พันตัน CO2/ KTOE 2.26 1.90 การใช้พลังงาน หมายถึงการใช้พลังงานขั้นต้นโดยรวมถึงการใช้พลังงานทดแทน พันตัน CO2/KTOE พ.ศ. 2541 2542 2543 2544 2545 2546 2547 2548 2549 2550 CO2 2.26 2.16 2.14 2.13 2.12 2.09 2.07 2.06 2551 2552 2553 2554 2555 2556 2557 2558 2559 2560* 2.03 2.00 2.04 1.96 1.97 1.99 1.94 1.90 ที่มา: สนพ., พพ.

94 การปล่อยก๊าซ CO2 ต่อหัวประชากร
3.91 2.32 จำนวนประชากร จากกรมการปกครอง (ปค.) กระทรวงมหาดไทย ตัน CO2/หัวประชากร พ.ศ. 2538 2539 2540 2541 2542 2543 2544 2545 2546 2547 2548 CO2 2.32 2.59 2.65 2.37 2.43 2.44 2.46 2.60 2.73 3.02 3.09 พ.ศ. 2549 2550 2551 2552 2553 2554 2555 2556 2557 2558 2559 CO2 3.08 3.18 3.21 3.28 3.45 3.50 3.74 3.85 3.87 3.91 ที่มา: ปค., สนพ.

95 การปล่อยก๊าซ CO2 ต่อ GDP
30.93 26.30 GDP (CVM) จากสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ณ ปีอ้างอิง พ.ศ. 2545 ตัน CO2/ล้านบาท พ.ศ. 2540 2541 2542 2543 2544 2545 2546 2547 2548 2549 CO2 30.93 30.24 29.80 28.71 28.25 28.35 27.82 28.51 28.12 26.88 2550 2551 2552 2553 2554 2555 2556 2557 2558 2559 26.47 26.37 27.20 26.80 27.04 27.08 26.50 27.14 26.78 26.30 ที่มา: สศช., สนพ.

96 การปล่อยก๊าซ CO2 ต่อหน่วยการผลิตไฟฟ้า
กิโลกรัม CO2/kWh * เดือน ม.ค.-ก.ย. 0.636 0.478 การผลิตไฟฟ้าในที่นี้ หมายถึง การผลิตไฟฟ้ารวมของ EGAT และการผลิตไฟฟ้าสุทธิของ IPP, SPP และ VSPP กิโลกรัม CO2/kWh พ.ศ. 2541 2542 2543 2544 2545 2546 2547 2548 2549 2550 CO2 0.636 0.646 0.634 0.604 0.587 0.573 0.581 0.571 2551 2552 2553 2554 2555 2556 2557 2558 2559 2560* 0.570 0.560 0.551 0.530 0.529 0.532 0.509 0.497 0.478 ที่มา: สนพ., กฟผ., กฟน., PEA


ดาวน์โหลด ppt ภาพรวมพลังงาน.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google