The Second ASEAN+3 Seminar on Poverty Reduction

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "The Second ASEAN+3 Seminar on Poverty Reduction"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 The Second ASEAN+3 Seminar on Poverty Reduction
Poverty in Thailand The Second ASEAN+3 Seminar on Poverty Reduction 25-29 September 2006 ,Beijing

2 Defining and Measuring Poverty
Poverty incidence is measured by comparing per capita income against poverty line Poverty line is based on cost of basic needs- food and non-food consumption Current poverty line: 1,242 Baht (as of 2004)

3 Thailand’s Poverty Incidence

4 Poverty Ratio by Region

5 Number and Ratio of Poverty by Group and Areas
Ratio(%) Number(Million) 2000 2002 2004 Urban Rural Poor 8.7 27 6.7 19.7 4.9 14.3 1.6 11 1.3 8.2 1 6.1 Ultra Poor 16.6 3.4 11.2 2.3 6.9 0.9 0.7 4.7 0.5 2.9 Marginal Poor 3.8 10.3 3.3 8.5 2.6 7.4 4.3 0.6 3.5 3.2 Near Poor 4.1 9.9 9.3 3 8.3 3.9 3.6

6 Share of Income by Quintile
Share of income(%) Group Total Urban Rural 2000 2002 2004 Quintile 1 3.9 4.2 4.5 0.7 0.8 0.9 7.6 8.1 8.3 Quintile 2 7.3 7.7 8 1.9 2.2 2.7 13.3 13.9 13.5 Quintile 3 11.5 12.1 12.4 5.3 6.1 6.7 18.5 18.8 18.3 Quintile 4 19.5 20.1 20.2 16.7 17.2 17.7 23.3 22.7 Quintile 5 (richest) 57.5 55.9 54.9 75.4 73.6 72 37.3 36 37.1

7 Poverty Alleviation Strategy
Thailand Poverty Reduction Strategy Poverty Alleviation Strategy Pro-Poor Macro-Economic Strategy Strategy for Capability Building Strategy for Social Safety Net Improvement Natural Resources Management Strategy Public Sector Restructuring Strategy Government Policy/Ninth Plan Sufficiency Economy ยุทธศาสตร์การแก้ปัญหาความยากจนได้อาศัยแนวทางการพัฒนาตามแผนฯ 9 และแนวนโยบายแก้ปัญหาความยากจนของรัฐบาลปัจจุบันเป็นกรอบในการกำหนดยุทธศาสตร์การแก้ปัญหาความยากจน เพื่อให้การแก้ไขปัญหาความยากจนมีทิศทางที่ชัดเจน และครอบคลุมในทุกมิติ รวมทั้งครอบคลุมกลุ่มเป้าหมายคนจนทั้งที่เป็นการให้ความช่วยเหลือต่อคนจนในปัจจุบัน การสร้างภูมิคุ้มกันแก่กลุ่มที่มีความเสี่ยงต่อความยากจน และการสร้างภูมิคุ้มกันต่อความยากจนแก่คนรุ่นใหม่เพื่อเป็นฐานของการพัฒนาประเทศสู่สังคมที่เข้มแข็งและมีดุลยภาพต่อไป 1. การส่งเสริมนโยบายเศรษฐกิจมหภาคให้เอื้อต่อการแก้ไขปัญหาความยากจน เช่น นโยบายการค้าที่ส่งผลดีต่อภาคเกษตรและแรงงาน นโยบายกระจายความเจริญไปสู่ภูมิภาคและท้องถิ่น นโยบายภาษี และมาตรการการเงินการคลังต่างๆที่สนับสนุนการแก้ไขปัญหาความยากจน เป็นต้น 2. การเพิ่มศักยภาพและโอกาสของคนจน โดยเน้นการพัฒนาเศรษฐกิจฐานราก/เศรษฐกิจชุมชน การเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชน การเพิ่มศักยภาพและบทบาทของชุมชนในการแก้ไขปัญหาความยากจนในท้องถิ่นของตน โดยส่งเสริมการจัดทำแผนชุมชนให้ครบทุกตำบล 3. การจัดการทรัพยากรธรรมชาติ เพื่อการสนับสนุนการมีที่ดินทำกินของเกษตรกรรายย่อย การจัดการน้ำเพื่อการเกษตร การส่งเสริมให้ชุมชนมีบทบาทในการจัดการทรัพยากรในท้องถิ่น รวมทั้งการปรับปรุงและเร่งรัดกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 4. การพัฒนาระบบระบบคุ้มครองทางสังคม เพื่อมุ่งไปสู่การจัดสวัสดิการสังคมโดยชุมชนในรูปแบบที่พึ่งตนเองมากขึ้น โดยให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นสนับสนุนงบประมาณดำเนินงานตามความพร้อมของแต่ละพื้นที่ 5. การปรับปรุงระบบบริหารจัดการภาครัฐเพื่อแก้ไขปัญหาความยากจน โดยกำหนดพื้นที่เป้าหมายที่มีคนจนอยู่หนาแน่น ปรับกระบวนทัศน์/บทบาทหน่วยงานภาครัฐ สนับสนุนบทบาทชุมชนและภาคีการพัฒนา การวางแผนแบบบูรณาการ ปรับปรุงระบบงบประมาณและพัฒนาระบบข้อมูล

8 Poverty Reduction Strategies and Selected Interventions
Remarks Macro&Micro Economic Management Village and Urban Revolving Fund, People’s Bank, OTOP, Soft loan for housing Capacity Building and Enhancing Employment Ability School bike program, completion of compulsory education & 12 yrs basic education 9 & 12 yrs ed. is in pipeline to be implemented Social Protection and Social Safety Net Universal Health Insurance Coverage, cash transfer for indigent elderly

9 Poverty Reduction Strategies and Selected Interventions (continued)
Remarks National Resource Management Water resource management, Land settlement, Land reform scheme Streamlining Public Administration Devolution of public resource management & responsibilities, Community action plan for poverty reduction

10 What is Community Plan A plan that is formulated for the development of community by community and for the community itself A participant from members of the community in the process of formulation Self-reliance Local resource and wisdom

11 Principles of Community Plan
“explode from within" / “knowing oneself” Area-based/Community based development: for by and of the community: not for the government or NGO agencies Participation from all sectors Other levels or agencies support but not guide/control Community Information “know oneself”: reduces expenses, increases income and generates opportunities

12 the Tenth National Economic and Social Development Plan towards the sustainable development
ความเหลื่อมล้ำทางสังคมดังกล่าว อาจมีความรุนแรงขึ้น จากการที่คนไทยและสังคมไทยจะต้องเผชิญกับการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วจากภายในและภายนอกประเทศ โดยเฉพาะในประเด็นหลักๆ จากบริบทการเปลี่ยนแปลงที่สำคัญ คือ การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างระบบเศรษฐกิจภายใต้เงื่อนไขการค้าเสรี และการเปลี่ยนแปลงทางด้านสังคม

13 10th Plan’s Five Development Strategies
Developing Thai society into a knowledge-based society and the potential of Thai people Empowering community with emphasis on social justice, promoting process of learning and maintaining cultural diversity and indegenious wisdom Economic restructuring to create sustainable growth and competitiveness Developing biological diversity and regulating the use of the country’s national resources and environment Promoting the principles of good governance

14 Summary of the Philosophy of Sufficiency Economy
The Middle Path Reasonableness Self-immunity Moderation balance / stability / sustainability life / economy / social Lead to Moral Condition (honest, sincere, diligence, perseverance, sharing) Knowledge Condition (Know, prudence, care) เศรษฐกิจพอเพียงคืออะไร เศรษฐกิจพอเพียงมีกรอบแนวคิดคือ เป็นปรัชญาชี้แนะแนวทางปฏิบัติตนในทางที่ควรจะเป็น มีพื้นฐานมาจากวิถีชีวิตของสังคมไทย และเป็นการมองโลกเชิงพลวัตร มุ่งเน้นการรอดพ้นจากวิกฤต ดังนั้น เศรษฐกิจพอเพียง จึงเป็นปรัชญาชี้ถึงแนวการดำรงอยู่และปฏิบัติตนของประชาชนในทุกระดับให้ดำเนินไปในทางสายกลาง โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจเพื่อให้ก้าวทันต่อโลกยุคโลกาภิวัตน์ โดยคำนึงถึงความพอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึงความจำเป็นที่จะต้องมีระบบภูมิคุ้มกันในตัวที่ดีพอสมควรต่อผลกระทบอันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงทั้งภายนอกและภายใน บนพื้นฐานของความรอบรู้ ความรอบคอบ และความระมัดระวัง รวมทั้งจะต้องเสริมสร้างพื้นฐานจิตใจของคนให้มีสำนึกใน คุณธรรม ซื่อสัตย์สุจริต ดำเนินชีวิตด้วยความอดทน ความเพียร ใช้สติปัญญา เพื่อให้เกิดการพัฒนาที่สมดุลและยั่งยืน พร้อมรับต่อการเปลี่ยนแปลงในทุกด้าน ทั้งนี้ เศรษฐกิจพอเพียงมีความหมายกว้างกว่าทฤษฎีใหม่ โดยที่ เศรษฐกิจพอเพียง เป็นกรอบแนวคิดที่ชี้บอกหลักการและแนวทางปฏิบัติของทฤษฎีใหม่ ในขณะที่ เกษตรทฤษฎีใหม่ เป็นตัวอย่างการใช้หลักเศรษฐกิจพอเพียงในทางปฏิบัติ ทฤษฎีใหม่ตามแนวพระราชดำริ อาจเปรียบเทียบกับหลักเศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งมีอยู่ ๒ แบบ คือ แบบพื้นฐานกับแบบก้าวหน้า กล่าวคือ - ความพอเพียงในระดับบุคคล/ครอบครัว เป็นเศรษฐกิจพอเพียงแบบพื้นฐาน เทียบได้กับทฤษฎีใหม่ขั้นที่ ๑ - ความพอเพียงในระดับชุมชน/ระดับองค์กร เป็นเศรษฐกิจพอเพียงแบบก้าวหน้าซึ่งครอบคลุม ทฤษฎีใหม่ขั้นที่ ๒ - ความพอเพียงในระดับประเทศ เป็นเศรษฐกิจ พอเพียงแบบก้าวหน้า ครอบคลุมทฤษฎีใหม่ขั้นที่ ๓

15 THANK YOU and SAWASDEE


ดาวน์โหลด ppt The Second ASEAN+3 Seminar on Poverty Reduction

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google