งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

Learning Organization. คริส อาร์จีริส (Chris Argyris) โดนัล ชุน (Donald Schon) ค. ศ. 1978 ค. ศ. 1980 ค. ศ. 1990 ค. ศ. 1991 ค. ศ. 2000 ปีเตอร์ เชงกี้ (Peter.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "Learning Organization. คริส อาร์จีริส (Chris Argyris) โดนัล ชุน (Donald Schon) ค. ศ. 1978 ค. ศ. 1980 ค. ศ. 1990 ค. ศ. 1991 ค. ศ. 2000 ปีเตอร์ เชงกี้ (Peter."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 Learning Organization

2 คริส อาร์จีริส (Chris Argyris) โดนัล ชุน (Donald Schon) ค. ศ. 1978 ค. ศ. 1980 ค. ศ. 1990 ค. ศ. 1991 ค. ศ. 2000 ปีเตอร์ เชงกี้ (Peter M. Senge) “The Fifth Discipline : The Art and The Learning Organization”

3 “Organizations learn only through individual who learns. Individual learning does not guarantee organizational learning, but without it no organizational learning occurs.” Peter Senge (1990)

4 องค์การแห่งการ เรียนรู้ (Learning Organization: LO) แบบแผน ความคิด (Mental Model) สร้าง วิสัยทัศน์ ร่วม (Shared Vision) เรียนรู้เป็น ทีม (Team Learning) มุ่งมั่นสู่ความ เป็นเลิศ (Personal Mastery) คิดเชิงระบบ (System Thinking)

5

6

7

8

9

10 1. การค้นหา ความรู้ (Knowledge Identification ) 2. การสร้าง และแสวงหา ความรู้ (Knowledge Creation and Acquisition) 3. การจัด ความรู้ให้ เป็นระบบ (Knowledge Organization) 4. การ ประมวลและ กลั่นกรอง ความรู้ (Knowledge Codification and Refinement) 5. การเข้าถึง ความรู้ (Knowledge Access) 6. การ แบ่งปัน แลกเปลี่ยน ความรู้ (Knowledge Sharing) 7. การเรียนรู้ (Learning) ภาพกระบวนการจัดการความรู้ (Knowledge Management Process)

11

12  มีโครงสร้างที่เหมาะสม  มีวัฒนธรรมแห่งการ เรียนรู้ภายในองค์กร  มีการเพิ่มอำนาจแก่ สมาชิก  มีการตรวจสอบ สภาพแวดล้อม  มีการสร้างสรรค์องค์ ความรู้  มีเทคโนโลยีเพื่อ สนับสนุนการเรียนรู้  ให้ความสำคัญกับ คุณภาพ  เน้นเรื่องกลยุทธ์  มีบรรยากาศที่ สนับสนุน  มีการทำงานร่วมกัน เป็นทีมและเครือข่าย  สมาชิกมีวิสัยทัศน์ ร่วมกัน

13  ความไม่สำเร็จในกระบวนการสร้างวิสัยทัศน์อาจ เกิดได้จาก 4 สาเหตุคือ หนึ่งความเห็นไม่ สอดคล้อง มีความเห็นที่แตกต่างออกไปมาก ขึ้นเรื่อยๆ จนมีการ “ แบ่งขั้ว ” สองถอดใจ เพราะเห็นว่าช่องว่างระหว่างวิสัยทัศน์กับความ เป็นจริงห่างกันเหลือเกิน สามหมดแรง เพราะ สภาพความเป็นจริงก่อปัญหาหรือมีภาระงานให้ ต้องดำเนินการมากจนหมดแรง สี่ขาด กระบวนการกลุ่ม ทำให้คนบางคนหรือบาง กลุ่มเปลี่ยนใจหรือไม่เอาด้วย

14  การจัดการความรู้ (Knowledge Management)  การใช้มาตรฐานอ้างอิง (Benchmarking)  การบริหารคุณภาพทั่วทั้งองค์กร (Total Quality Management)

15  ขั้นตอนที่ 1 สำรวจสภาพปัจจุบัน วิเคราะห์ ศึกษาว่า องค์กรของเรามีอะไรดี ประเมินศักยภาพขององค์กร / บุคลากร ค่านิยม ปัญหาข้อบกพร่องต่างๆ รวมทั้ง ประเมินการมีส่วนร่วมในกระบวนการเรียนรู้ในปัจจุบัน  ขั้นตอนที่ 2 นำข้อมูลที่ได้มากำหนดเป้าหมาย กลยุทธ์ หรือแนวทางที่จะใช้เป็นรูปแบบ และกิจกรรมที่จะทำ ให้ เกิดกระบวนการเรียนรู้ร่วมกัน (mutual learning) เช่น บางหน่วยจัดให้มี Knowledge Center ของตนเอง รวบรวมทรัพยากรแห่งการเรียนรู้ที่เข้าถึงได้ง่ายและ สะดวกต่อการใช้เป็นสถานที่แลกเปลี่ยนถ่ายทอดความรู้ ระหว่างกัน  ขั้นตอนที่ 3 ดำเนินงานตามแผน มีการแต่งตั้ง คณะทำงานส่งเสริมการดำเนินงาน ติดตาม และ ประเมินผลตามระยะเวลา หรืออาจมีการตั้งหน่วยวิจัย และพัฒนาองค์ความรู้ในองค์กร ซึ่งมีตัวแทนจาก บุคลากรทุกฝ่าย รวมทั้งผู้บริหาร  ขั้นตอนที่ 4 จัดเกณฑ์การพิจารณาประเมินผลในขั้น ท้ายสุดหลังจากที่ดำ เนินการไปแล้วระยะหนึ่ง เพื่อให้ ทราบว่าองค์กรของเรามีลักษณะเป็นองค์กรแห่งการ เรียนรู้มากน้อยเพียงใด

16  วัฒนธรรมองค์กร  บุคลากร  ระบบความดีความชอบ  ด้านการเรียนรู้

17  มหาวิทยาลัยรามคำแหง

18  บริษัทปูนซีเมนต์นครหลวง  การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย  3 M  Hewlett-Packard  Xerox  Norvatis  GE (General Electric)

19


ดาวน์โหลด ppt Learning Organization. คริส อาร์จีริส (Chris Argyris) โดนัล ชุน (Donald Schon) ค. ศ. 1978 ค. ศ. 1980 ค. ศ. 1990 ค. ศ. 1991 ค. ศ. 2000 ปีเตอร์ เชงกี้ (Peter.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google