สื่อหรือตัวกลางของระบบสื่อสารข้อมูล

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ข้อดีข้อเสียของสื่อกลางประเภทมีสายและไร้สาย
Advertisements

Communication Media Lect. Thanapon Thiradathanapattaradecha
ระบบโทรศัพท์ บทที่ 3 เครื่องโทรศัพท์.
ระบบโทรคมนาคม.
โครงข่ายบริการสื่อสารร่วมระบบดิจิตอล
ข้อดี 1. มีราคาถูก 2. ใช้งานง่ายมีความยืดหยุ่นในการใช้ งาน 3. ติดตั้งง่ายและมีน้ำหนักเบา ข้อเสีย 1. ถูกรบกวนจากสัญญาณภายนอกได้ ง่าย 2. ระยะทางจำกัด.
เรื่อง เทคโนโลยีบอรดแบนด์ไร้สาย
สายคู่บิดเกลียว ข้อดี 1. ราคาถูก 2. มีความยืดหยุ่นในการใช้งาน 3. ติดตั้งง่าย และมีน้ำหนักเบา ข้อเสีย 1. ถูกรบกวนจากสัญญาณภายนอกได้ง่าย 2. ระยะทางจำกัด.
 เครือข่ายคอมพิวเตอร์  การที่ระบบเครือข่ายมีบทบาทและ ความสำคัญเพิ่มขึ้น เพราะไมโครคอมพิวเตอร์ได้รับ การใช้งานอย่างแพร่หลาย จึงเกิดความต้องการที่จะ.
ชนิดของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ จัดทำโดย นาย ปรัชญา สิทธิชัยวงค์ ชั้น 4/6 เลขที่ 23 น. ส. สัตตบงกช ศรีวิชัย ชั้น 4/6 เลขที่ 22 จักรคำคณาทร จังหวัดลำพูน.
จัดทำโดย ด. ญ. ศศิปภา มณีขัติย์ ชั้น 2/6 เลขที่ 4.
สายเคเบิ้ล จัดทำโดย 1.นาย ภาคภูมิ เกาะสระน้อย
การสื่อสารข้อมูลทางคอมพิวเตอร์
ข้อดีและข้อเสียของสื่อกลางใน การสื่อสารข้อมูล โดย นาย กิตติพิชญ์ เครือสุวรรณ.
เรื่อง ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ จัดทำโดย ด. ญ
การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การสื่อสารข้อมูล การสื่อสารข้อมูล หมายถึง การรับส่งข้อมูลจากที่หนึ่งไปยังอีกที่ หนึ่งโดยผ่านสื่อกลาง เช่น สายโทรศัพท์ สายเคเบิลไฟเบอร์ออพติก, คลื่นไมโครเวฟ,
การสื่อสารข้อมูลเบื้องต้น Data Communication
ประโยชน์และตัวอย่างของการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
รูปร่างของเครือข่ายคอมพิวเตอร์
รายชื่อผู้จัดทำ ด.ช.จิณณวัตร ทับจันทร์ เลขที่ 1 ม.1/3 ด.ช.ฐิติพงศ์ โลหะเวช เลขที่ 4 ม.1/3 ด.ช. พงศ์ภัค พุทธรักษ์ เลขที่9 ม.1/3 ด.ช.อริยะ แดงงาม เลขที่
Communication Software
ระบบเครือข่ายแลน จัดทำโดย ด. ช. สิทธิชัย นินประพันธ์ เลขที่ 17 ชันมัธยมศึกษาปีที่ 2/6 ครูผู้สอน อ. สายฝน เอกกันทา โรงเรียนจักรคำคณาทรจังหวัด ลำพูน.
การสื่อสารข้อมูล.
ประยุกต์ใช้ในงานด้านการศึกษา เทคโนโลยีสารสนเทศที่นำมาใช้สำหรับการเรียนการสอน เป็นการใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่หลายอย่าง สอนด้วยสื่อ อุปกรณ์ที่ทันสมัย ห้องเรียนสมัยใหม่
CSIT-URU อ. กฤษณ์ ชัยวัณณคุปต์ Mathematics and Computer Program, URU บทที่ 3 ระบบเครือข่าย คอมพิวเตอร์ Computer Network System.
โครงข่ายบริการสื่อสารร่วมระบบดิจิตอล
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Computer network)
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (COMPUTER NETWORK)
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 3 : รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายและส่วนประกอบของเครือข่ายท้องถิ่น (Topologies and LAN Components) Part3.
บทที่ 3 อุปกรณ์ต่างๆ ในเครือข่ายและรูปแบบการเชื่อมต่อระบบ
การสื่อสารข้อมูลทางคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (COMPUTER NETWORK)
บทที่ 3 อุปกรณ์ในระบบเครือข่าย
อุปกรณ์การติดตั้งงานระบบไฟฟ้า (Installation Equipment)
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 7 : เครือข่ายแลนไร้สาย (Wireless LANs) Part1 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ อาจารย์อภิพงศ์
การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการสื่อสารข้อมูล
ประเภทของระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 3 : รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายและส่วนประกอบของเครือข่ายท้องถิ่น (Topologies and LAN Components) Part3.
Piyadanai Pachanapan, Power System Design, EE&CPE, NU
แนวทางการออกแบบโปสเตอร์
การสื่อสารข้อมูลบนเครือข่าย
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 4 : สื่อกลางส่งข้อมูลและการมัลติเพล็กซ์ (Transmission Media and Multiplexing) Part3 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ.
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 3 : รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายและส่วนประกอบของเครือข่ายท้องถิ่น (Topologies and LAN Components) Part2.
1.เครื่องทวนสัญญาณ (Repeater)
บทที่ 7 เครือข่ายการสื่อสารข้อมูลท้องถิ่น (LAN)
ความหมายของเลเซอร์ เลเซอร์ คือการแผ่รังสีของแสงโดยการกระตุ้นด้วยการขยายสัญญาณแสง คำว่า Laser ย่อมาจาก Light Amplification by Stimulated Emission of Radiation.
ระบบเครือข่ายไร้สาย (Wireless LAN)
การสื่อสารข้อมูล (DATA Communications)
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 1 : Introduction to Data Communication and Computer Network Part3 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ.
ระบบโทรศัพท์ บทที่ 3 เครื่องโทรศัพท์.
การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทที่ 3 สายเคเบิลเส้นใยแก้ว
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 3 : รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายและส่วนประกอบของเครือข่ายท้องถิ่น (Topologies and LAN Components) Part2.
สแกนเนอร์ (Scanner) สแกนเนอร์ คืออุปกรณ์จับภาพและเปลี่ยนแปลงรูปแบบของแอนาลอกเป็นดิจิตอล ซึ่งคอมพิวเตอร์ สามารถแสดง, เรียบเรียง, เก็บรักษาและผลิตออกมาได้
SMS News Distribute Service
สายคู่บิดเกลียวแบบไม่ป้องกันสัญญาณรบกวนหรือไม่หุ้มฉนวน.
การหักเหของแสง การหักเหของแสง คือ การที่แสงเดินทางจากตัวกลางหนึ่งไปยังอีกตัวกลางหนึ่งที่มีความหนาแน่นต่างกันจะทำให้แสงมีความเร็วต่างกันส่งผลให้ทิศทางของแสงเปลี่ยนแปลงไป.
สินค้าและบริการ.
บทที่ 3 : รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายและส่วนประกอบของเครือข่ายท้องถิ่น (Topologies and LAN Components) Part1.
Multimedia และระบบความจริงเสมือน Virtual Reality, VR
ภูมิศาสตร์การท่องเที่ยว
พื้นฐานเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การสื่อสารข้อมูล ผู้สอน...ศริยา แก้วลายทอง.
กรณีศึกษา : เทคโนโลยีชีวภาพกับสิ่งแวดล้อม
นวัตกรรม ขวดเก็บ Sputum culture
เครื่องโทรศัพท์ติดต่อภายใน intercommunication
บทที่ 5 เครือข่ายคอมพิวเตอร์ และการสื่อสาร
บทที่ 5 เครือข่ายคอมพิวเตอร์ และการสื่อสาร Part2
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สื่อหรือตัวกลางของระบบสื่อสารข้อมูล ครูผู้สอน คุณครูสาวินี บุตรดี

ตัวกลางในการสื่อสารข้อมูล (Transmission Media) การพิจารณาเลือกใช้ตัวกลางต้องคำนึงถึงปัจจัยดังต่อไปนี้ อัตราเร็วในการส่งข้อมูล ระยะทาง ค่าใช้จ่าย ความสะดวกในการติดตั้ง ความทนทานต่อสภาพแวดล้อม

ชนิดของสื่อหรือตัวกลาง สายสัญญาณ ที่ใช้เป็นมาตรฐานในระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์มีอยู่ด้วยกัน 3 ประเภท คือ 1. สื่อหรือตัวกลางประเภทมีสาย 2. สายโคแอกเชียล 3. สายใยแก้วนำแสง

1. สื่อหรือตัวกลางประเภทมีสาย 1. สายคู่บิดเกลียว (Twisted pair cable) ประกอบด้วยสายสัญญาณจำนวนคู่ แต่ละคู่จะพันกันเป็นเกลียวตลอดจนถึงปลาย เพื่อลดการรบกวนจากคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าจากคู่สายข้างเคียงและจากภายนอก และมีฉนวนภายนอกห่อหุ้มอีกชั้น แบ่งเป็น 2 ชนิด คือ 1. ชนิดหุ้มฉนวน (Shielded twisted pair: STP) 2. ชนิดไม่หุ้มฉนวน (Unshielded twisted pair: UTP)

สื่อหรือตัวกลางประเภทมีสาย (ต่อ) สายคู่บิดเกลียวชนิดหุ้มฉนวน (STP) สายไฟแต่ละคู่จะถูกห่อหุ้มด้วยอลูมิเนียมฟอล์ย เพื่อป้องกันการรบกวนของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าจากภายนอกสาย และมีฉนวนไฟฟ้า เช่นพลาสติก ห่อหุ้มอีกชั้น ระยะทางในการใช้งานจะสามารถใช้ได้ไกล แต่ไม่นิยมเนื่องจากมีราคาแพง โดยมากจะนำไปใช้กับการสื่อสารข้อมูลที่มีความเร็วสูง เช่น Gigabit Network หรือติดตั้งบริเวณที่มีการรบกวนของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ามาก

สื่อหรือตัวกลางประเภทมีสาย (ต่อ) สายคู่บิดเกลียวชนิดไม่หุ้มฉนวน (UTP) สายไฟแต่ละคู่จะถูกห่อหุ้มด้วยฉนวนไฟฟ้าภายนอกเท่านั้น ป้องกันการรบกวนของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าได้น้อยกว่าแบบ STP เป็นสายที่นิยมใช้มากที่สุด เนื่องจากมีราคาถูก มักใช้ติดตั้งภายในอาคาร หรือภายในห้อง หรือหากต้องการติดตั้งภายนอกอาคารจะต้องเดินสายภายในท่อเหล็ก สามารถใช้ส่งข้อมูลความเร็ว 100 Mbps

2. สายโคแอกเชียลหรือสายซีลด์(Coaxial cable) เป็นตัวกลางเชื่อมโยงที่มีลักษณะเช่นเดียวกับสายทีวี มีใช้งานหลายลักษณะงาน ไม่ว่าในระบบเครือข่ายเฉพาะที่ ในการส่งข้อมูลระยะไกลระหว่างชุมสายโทรศัพท์หรือการส่งข้อมูลสัญญาณวีดิทัศน์ - ใช้สัญญาณไฟฟ้าและโลหะเป็นสื่อนำไฟฟ้า - มีลักษณะคล้ายสายเคเบิ้ลทีวี แกนกลางเป็นทองแดงหุ้มฉนวน หุ้มด้วย ตาข่ายโลหะ ชั้นนอกเป็นวัสดุป้องกันสายสัญญาณ ปัจจุบันไม่นิยมใช้

3. สายใยแก้วนำแสงหรือสายไฟเบอร์ (Fiber Optic) เป็นตัวกลางของสัญญาณแสง ทำมาจากวัสดุประเภทแก้วที่มีความบริสุทธิ์มาก เส้นใยนำแสงมีลักษณะเป็นเส้นยาวขนาดเล็ก ขนาดประมาณ เส้นผมของมนุษย์ อาศัยหลักการสะท้อน และหักเหของแสงในการส่งแสง ลงไปในสาย - ใช้แสงเป็นสัญญาณ และใช้แก้วหรือพลาสติกเป็นสื่อนำสัญญาณ - ไม่ถูกรบกวนโดยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ทำให้ส่งข้อมูลได้ในอัตราเร็วสูง และระยะทางไกลกว่า 2 ชนิดแรก แต่การดูแลรักษายากกว่าและ ราคาแพงกว่า

สื่อหรือตัวกลางประเภทไร้สาย (unguided media) เป็นสื่อกลางประเภทที่ไม่ใช้วัสดุใดๆ ในการนำสัญญาณแต่จะใช้อากาศเป็นสื่อกลาง ซึ่งจะไม่มีการกำหนดเส้นทางให้สัญญาณเดินทาง สื่อหรือตัวกลางประเภทไร้สายมีดังนี้ 1. คลื่นไมโครเวฟ (microware) 2. ดาวเทียม (satellite) 3. แอคเซสพอยนต์ (access point)

1. คลื่นไมโครเวฟ (microware) เป็นสื่อหรือตัวกลางที่ใช้วิธีส่งสัญญาณที่มีความถี่สูงกว่าคลื่นวิทยุจากสถานีหนึ่งไปยังอีกสถานีหนึ่ง และสัญญาณของไมโครเวฟจะเดินทางเป็นเส้นตรง ดังนั้นสถานีจะต้องตั้งอยู่ในที่สูงๆ หรือมีเสาสัญญาณสูง สัญญาณจึงจะเดินทางได้สะดวก ไม่ติดขัด

2. ดาวเทียม (satellite) เป็นสื่อหรือตัวกลางที่มีสถานีรับ – ส่งอยู่บนพื้นดินส่งตรงไปยังดาวเทียมแล้วส่งกลับมายังตัวรับปลายทางที่พื้นดินอีกครั้งหนึ่ง ลักษณะการสื่อสารระบบดาวเทียมเหมาะสำหรับการติดต่อสื่อสารระยะไกลที่ระบบสื่อสารอื่น ๆ เข้าถึงได้ยาก เช่น กลางป่าลึก กลางทะเล กลางทะเลทราย เป็นต้น

3. แอคเซสพอยนต์ (access point) เป็นสื่อหรือตัวกลางที่ทำหน้าที่เชื่อมต่อเครื่องลูกข่ายเข้าสู่ระบบเครือข่ายแบบมีสาย เพื่อเข้าไปใช้งานอินเทอร์เน็ตหรือเข้าไปยังเครือข่ายท้องถิ่นของสำนักงาน โดยการเข้าถึงเครือข่ายอาจจะมีการเข้ารหัส ซึ่งผู้ใช้งานจะต้องใส่คีย์ หรือรหัสก่อนเชื่อมต่อ

โมเด็ม (modem) เป็นสื่อหรือตัวกลางที่ใช้เชื่อมต่อระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์เข้ากับคู่สายโทรศัพท์ เพื่อเข้าใช้เครือข่ายอินเทอร์เน็ต

ใบงาน เรื่อง สื่อหรือตัวกลางของระบบสื่อสารข้อมูล 1.ให้นักเรียนบอกประโยชน์ของระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2. โพรโทคอล (protocol) คืออะไร 3. LAN คืออะไร    4. อีคอมเมิร์ซ(E-Commerce)คืออะไร 5. OSI คืออะไร