รูปร่างของเครือข่ายคอมพิวเตอร์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายแบ่งตามกลุ่มผู้ใช้
Advertisements

บทที่ 5 การดำรงชีวิตของพืช
ด. ช. พงศกร ภูมิ โคกรักษ์ ม.2/5 เลขที่ 32 โรงเรียนจักรคำ คณาทร.
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
แบบดาว เป็นลักษณะของการต่อเครือข่ายที่ Work station แต่ละตัวต่อรวมเข้าสู่ ศูนย์กลางสวิตซ์ เพื่อสลับตำแหน่งของเส้นทางของข้อมูลใด ๆ ในระบบ ดังนั้น ใน โทโปโลยี
ระบบโทรศัพท์ บทที่ 3 เครื่องโทรศัพท์.
โครงข่ายบริการสื่อสารร่วมระบบดิจิตอล
เรื่อง เทคโนโลยีบอรดแบนด์ไร้สาย
 เครือข่ายคอมพิวเตอร์  การที่ระบบเครือข่ายมีบทบาทและ ความสำคัญเพิ่มขึ้น เพราะไมโครคอมพิวเตอร์ได้รับ การใช้งานอย่างแพร่หลาย จึงเกิดความต้องการที่จะ.
ชนิดของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ จัดทำโดย นาย ปรัชญา สิทธิชัยวงค์ ชั้น 4/6 เลขที่ 23 น. ส. สัตตบงกช ศรีวิชัย ชั้น 4/6 เลขที่ 22 จักรคำคณาทร จังหวัดลำพูน.
จัดทำโดย ด. ญ. ศศิปภา มณีขัติย์ ชั้น 2/6 เลขที่ 4.
จัดทำโดย น. ส. ดวงกมล งามอยู่เจริญ เลขที่ 8 น. ส. ณัชชา เชื้อตา เลขที่ 6 เตรียมบริหารธุรกิจปี 1.
การสื่อสารข้อมูลทางคอมพิวเตอร์
เรื่อง ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ จัดทำโดย ด. ญ
การสื่อสารข้อมูล การสื่อสารข้อมูล หมายถึง การรับส่งข้อมูลจากที่หนึ่งไปยังอีกที่ หนึ่งโดยผ่านสื่อกลาง เช่น สายโทรศัพท์ สายเคเบิลไฟเบอร์ออพติก, คลื่นไมโครเวฟ,
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
รายชื่อผู้จัดทำ ด.ช.จิณณวัตร ทับจันทร์ เลขที่ 1 ม.1/3 ด.ช.ฐิติพงศ์ โลหะเวช เลขที่ 4 ม.1/3 ด.ช. พงศ์ภัค พุทธรักษ์ เลขที่9 ม.1/3 ด.ช.อริยะ แดงงาม เลขที่
ระบบเครือข่ายแลน จัดทำโดย ด. ช. สิทธิชัย นินประพันธ์ เลขที่ 17 ชันมัธยมศึกษาปีที่ 2/6 ครูผู้สอน อ. สายฝน เอกกันทา โรงเรียนจักรคำคณาทรจังหวัด ลำพูน.
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การสื่อสารข้อมูล.
โครงข่ายบริการสื่อสารร่วมระบบดิจิตอล
หน่วยที่ 1 ปริมาณทางฟิสิกส์ และเวกเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Computer network)
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 3 : รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายและส่วนประกอบของเครือข่ายท้องถิ่น (Topologies and LAN Components) Part3.
การสื่อสารข้อมูลทางคอมพิวเตอร์
รายการ(List) [1] ผู้สอน อาจารย์ ยืนยง กันทะเนตร
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 8 : TCP/IP และอินเทอร์เน็ต Part1 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ อาจารย์อภิพงศ์
IP-Addressing and Subneting
IP-Addressing and Subneting
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 2 : แบบจำลองเครือข่าย (Network Models) part1 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ อาจารย์อภิพงศ์
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการสื่อสารข้อมูล
การพัฒนาการใช้งานในระบบเว็บ
ประเภทของระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 3 : รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายและส่วนประกอบของเครือข่ายท้องถิ่น (Topologies and LAN Components) Part3.
แล้วทำการเรียงลำดับข้อมูลใหม่โดยเรียงจากน้อยไปหามาก
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 7 : TCP/IP และอินเทอร์เน็ต Part1 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ อาจารย์อภิพงศ์
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 4 : สื่อกลางส่งข้อมูลและการมัลติเพล็กซ์ (Transmission Media and Multiplexing) Part3 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ.
เซอร์กิตสวิตชิงและแพ๊คเก็ตสวิตชิง (Circuit Switching and Packet Switching ) อ.ธนากร อุยพานิชย์
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 3 : รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายและส่วนประกอบของเครือข่ายท้องถิ่น (Topologies and LAN Components) Part2.
เครื่อข่ายคอมพิวเตอร์และระบบสื่อสารข้อมูล I
1.เครื่องทวนสัญญาณ (Repeater)
บทที่ 1 โครงสร้างคอมพิวเตอร์พื้นฐาน
ความหมายของเลเซอร์ เลเซอร์ คือการแผ่รังสีของแสงโดยการกระตุ้นด้วยการขยายสัญญาณแสง คำว่า Laser ย่อมาจาก Light Amplification by Stimulated Emission of Radiation.
ระบบเครือข่ายไร้สาย (Wireless LAN)
การสื่อสารข้อมูล (DATA Communications)
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 1 : Introduction to Data Communication and Computer Network Part3 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ.
ระบบโทรศัพท์ บทที่ 3 เครื่องโทรศัพท์.
Basic Input Output System
การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
Chapter 1 ความรู้เบื้องต้นในเทคโนโลยีอินเตอร์เน็ต Edit
Data storage II Introduction to Computer Science ( )
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 3 : รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายและส่วนประกอบของเครือข่ายท้องถิ่น (Topologies and LAN Components) Part2.
Week 5 C Programming.
Data storage II Introduction to Computer Science ( )
บทที่ 3 : รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายและส่วนประกอบของเครือข่ายท้องถิ่น (Topologies and LAN Components) Part1.
บทที่ 9 การเรียงลำดับข้อมูล (Sorting)
การสะท้อนของแสงบนกระจกโค้ง
หลักเกณฑ์การเก็บรักษาข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์ ของผู้ให้บริการ
พื้นฐานเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ค่ารูรับแสง - F/Stop ค่ารูรับแสงที่มีค่าตัวเลขต่ำใกล้เคียง 1 มากเท่าไหร่ ค่าของรูรับแสงนั้นก็ยิ่งมีความกว้างมาก เพราะเราเปรียบเทียบค่าความสว่างที่ 1:1.
การสื่อสารข้อมูล ผู้สอน...ศริยา แก้วลายทอง.
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น และการออกแบบเว็บไซต์
เครื่องโทรศัพท์ติดต่อภายใน intercommunication
บทที่ 5 เครือข่ายคอมพิวเตอร์ และการสื่อสาร
การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย (Simple harmornic motion)
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

รูปร่างของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ จัดทำโดย ด.ญ.เชษฐ์ธิดา ธานีคำ ม.2/10 เลขที่ 7 เสนอ ครูสายฝน เอกกันทา

สารบัญ ความหมายของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ลักษณะของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ เครือข่ายคอมพิวเตอร์แบบดาว เครือข่ายคอมพิวเตอร์แบบวงแหวน เครือข่ายคอมพิวเตอร์แบบบัส เครือข่ายคอมพิวเตอร์แบบผสม

เครือข่ายคอมพิวเตอร์ หมายถึง?? เครือข่ายคอมพิวเตอร์ คือ การนำเอาเครื่อง คอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่มาเป็นสถานีบริการ หรือที่เรียกว่า เครื่องให้บริการ(Server) และให้ ไมโครคอมพิวเตอร์ตามหน่วยงานต่างๆ เป็น เครื่องใช้บริการ(Client) โดยมีเครือข่าย(Network) เป็นเส้นทางเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์จากจุดต่างๆ 

ลักษณะของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ การเชื่อมต่อเครือข่ายมีอยู่ด้วยกันหลาย ลักษณะ แต่ลักษณะที่นิยมใช้นั้นมีอยู่ด้วยกัน 4 ลักษณะ ได้แก่ แบบดาว (Star Network) แบบวงแหวน (Ring Network) แบบบัส (Bus Network) แบบผสม (Hybrid Network)

แบบดาว (Star Network) ลักษณะการเชื่อมต่อก็จะเป็น ดังรูป   เป็นลักษณะของการต่อ เครือข่ายที่ Work station แต่ละ ตัวต่อรวมเข้าสู่ศูนย์กลาง สวิตซ์ เพื่อสลับตำแหน่ง ของเส้นทางของข้อมูลใด ๆ ในระบบ ดังนั้นในโทโปโล ยีแบบดาว คอมพิวเตอร์จะ ติดต่อกันได้ใน 1 ครั้ง ต่อ 1 คู่สถานีเท่านั้น เมื่อสถานี ใดต้องการส่งข้องมูลมันจะ ส่งข้อมูลไปยังศูนย์กลาง สวิทซ์ก่อน เพื่อบอกให้ ศูนย์กลางสวิตซ์มันสลับ ตำแหน่งของคู่สถานีไปยัง สถานีที่ต้องการติดต่อด้วย ดังนั้นข้อมูลจึงไม่เกิดการชน กันเอง ทำให้การสื่อสารได้ รวดเร็ว เมื่อสถานีใดสถานี หนึ่งเสีย ทั้งระบบจึงยังคง ใช้งานได้ ในการค้นหา ข้อบกพร่องจุดเสียต่างๆ จึง หาได้ง่ายตามไปด้วย แต่ก็ มีข้อเสียที่ว่าต้องใช้ งบประมาณสูงในการติดตั้ง ครั้งแรก ลักษณะการเชื่อมต่อก็จะเป็น ดังรูป

แบบวงแหวน (Ring Network) ได้ถูกออกแบบให้ใช้ Media Access Units (MAU) ต่อ รวมกันแบบเรียงลำดับ เป็นวงแหวน แล้วจึงต่อ คอมพิวเตอร์ (PC) ที่เป็น Workstation หรือ Server เข้ากับ MAU ใน MAU 1 ตัวจะสามารถต่อออกไป ได้ถึง 8 สถานี เมื่อ สถานีถัดไปนั้นรับรู้ว่า ต้องรับข้อมูล แล้วมัน จึงส่งข้อมูลกลับเป็นการ ตอบรับ เมื่อสถานีที่จะ ส่งข้อมูลได้รับสัญญาณ ตอบรับแล้ว มันจึงส่ง ข้อมูลครั้งแรก แล้วมัน จะลบข้อมูลออกจาก ระบบ เพื่อให้ได้ใช้ ข้อมูลอื่นๆ ต่อไป วง แหวนจะได้ทำงาน ทั้งหมดซึ่งจะคอยเป็น ผู้รับและผู้ส่งแล้วยังเป็น รีพีทเตอร์ในตัวอีกด้วย ลักษณะการเชื่อมต่อก็จะ เป็นดังรูป

แบบบัส (Bus Network) เป็นลักษณะของการนำ เครื่องคอมพิวเตอร์มา เชื่อมต่อเป็นระบบเครือข่าย ด้วยสายเคเบิลยาว ต่อเนื่องกันไปเรื่อยๆโดยมี คอนเน็คเตอร์ในการ เชื่อมต่อโดยลักษณะของ การส่งหรือรับข้อมูลจะเป็น การส่งข้อมูลทีละเครื่องใน ช่วงเวลาหนึ่งๆเท่านั้น จากนั้นเครื่องปลายทางก็จะ ส่งสัญญาณข้อมูลกลับมา และในการเชื่อมต่อในระบบ Busนี้จะต้องมี T-Connector ที่ เป็นตัวกลางในการเชื่อมต่อ และมี Terminator เป็นอุปกรณ์ ปิดปลายสายสัญญาณของ ทั้งระบบ ลักษณะการเชื่อมต่อก็จะ เป็นดังรูป

แบบผสม (Hybrid Network)   เป็นเครือข่าย คอมพิวเตอร์ที่ ผสมผสานระหว่าง รูปแบบต่างๆหลายๆแบบ เข้าด้วยกัน คือ จะมี เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ย่อยหลายๆเครือข่าย เพื่อให้เกิดประสิทธิ- ภาพสูงสุดในการทำงาน เครือข่ายบริเวณกว้าง เป็นตัวอย่างเครือข่าย ผสมที่พบเห็นกันมาก ที่สุด เครือข่ายแบบนี้ จะเชื่อมต่อเครือข่าย เล็ก-ใหญ่ หลากหลาย แบบเข้าด้วยกันเป็น เครือข่ายเดียว ซึ่ง เครือข่ายที่ถูกเชื่อมต่อ อาจจะอยู่ห่างกันคนละ จังหวัด หรือ อาจจะ อยู่คนละประเทศก็ เป็นได้ ลักษณะการเชื่อมต่อก็จะ เป็นดังนี้