Engineering Mechanics

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เฉลย (เฉพาะข้อแสดงวิธีทำ)
Advertisements

เรื่อง แนวทางการเลือกซื้อคอมพิวเตอร์
การเคลื่อนที่แบบซิมเปิลฮาร์มอนิกส์ (Simple Harmonic Motion)
สถานการณ์และการเตรียมความพร้อม การป้องกันอุบัติเหตุทางถนน
การกระจายอายุของบุคลากร มหาวิทยาลัยมหิดล สถาบันวิจัยภาษา และวัฒนธรรมเอเชีย ข้อมูล ณ วันที่ 30 กันยายน 2556.
การใช้งานโปรแกรม SPSS
หน่วยที่ 4 เครื่องวัดไฟฟ้าชนิดขดลวดเคลื่อนที่
KINETICS OF PARTICLES: Work and Energy
Kinetics of Systems of Particles A B C F A1 F A2 F C1 F B1 F B2 Particles A B C System of Particles.
ปริมาณสเกล่าร์ และปริมาณเวกเตอร์
สมการการเคลื่อนที่ในระบบพิกัดต่าง ๆ - พิกัดฉาก (x-y)
การกระแทกตามแนวศูนย์กลาง (direct central impact)
รูปร่างของเครือข่ายคอมพิวเตอร์
สถานการณ์และการเตรียมความพร้อม การป้องกันอุบัติเหตุทางถนน
Engineering mechanic (static)
การเคลื่อนที่ของวัตถุแข็งเกร็ง
หน่วยที่ 4 เครื่องวัดไฟฟ้าชนิดขดลวดเคลื่อนที่
MEE 231 Computer Programming สัปดาห์ที่ 5 MIT App Inventor การสร้างโปรแกรมย่อย (procedure)
ALLPPT.com _ Free PowerPoint Templates, Diagrams and Charts.
หน่วยที่ 1 ปริมาณทางฟิสิกส์ และเวกเตอร์
สถิติเบื้องต้นสำหรับการวิเคราะห์ข้อมูล
เคปเลอร์ในวัยเยาว์ เกิดในครอบครัวที่ยากจนพอสมควร เขาเป็นเด็กใฝ่รู้ใฝ่เรียนจนได้รับทุนไปเรียนต่อที่ Tubingen University และได้เขาศึกษาในวิชาดาราศาสตร์และ.
ฟิสิกส์1 และ หลักฟิสิกส์1
แรงแบ่งได้เป็น 2 ลักษณะ คือ 1. แรงสัมผัส ( contact force )
ครูสินอารย์ ลำพูนพงศ์ ร.ร.บุญวาทย์วิทยาลัย ลำปาง
การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
วัตถุประสงค์ ปริมาณพื้นฐาน และการจำลองสำหรับกลศาสตร์ (Basic quantities and idealizations of mechanics) กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน และการโน้มถ่วง (Newton’s.
การบริหารโครงการ Project Management
บทที่ 7 การหาปริพันธ์ (Integration)
หน่วยที่ 1 ปริมาณทางฟิสิกส์ และเวกเตอร์
อาจารย์พีรพัฒน์ คำเกิด
บทที่ 4 งาน พลังงาน กำลัง และโมเมนตัม
คุณลักษณะของสัญญาณไฟฟ้าแบบต่าง ๆ
บทที่ 6 งานและพลังงาน 6.1 งานและพลังงาน
การอนุรักษ์พลังงานในระบบอัดอากาศ
บทที่ 4 การอินทิเกรต (Integration)
แรงและการเคลื่อนที่.
ลบกล่องข้อความนี้ก่อนใช้ภาพนิ่งนี้ในงานนำเสนอ
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์
ชุดที่ 1 ไป เมนูรอง.
จัดทำโดย…เสาวลักษณ์ ปัญญามี
จุดหมุน สมดุลและโมเมนต์
ฟิสิกส์ ว ระดับมัธยมศึกษาปีที่ 5
“พื้นที่ที่สำรองไว้สำหรับคำอ้างอิงที่จะให้เคลื่อนไหวที่นี่ ”
วิธีการกำหนดค่า Microsoft SharePoint ของคุณ เว็บไซต์ออนไลน์
Driver Service sect. Training. Video ภาพอุบัติเหตุ ที่ 1 สถานที่เกิดเหตุ : ทางด่วนขา เข้าบางนาตราด เวลาโดยประมาณ : 16: 45 น.
แผ่นดินไหว.
หมวด 4 การจัดการของเสียในสำนักงาน
การวัด และหน่วย อ.รัตนสุดา สุภดนัยสร โดย
เครื่องผ่อนแรง Krunarong.
ความหนืด (viscosity) - 
การทดลองหาค่าความแน่นของดินที่มีเม็ดผ่านตะแกรงขนาด 19.0 มม. 1 เติมทรายลงในขวดซึ่งประกอบเข้ากับกรวยเรียบร้อย แล้วให้มีปริมาณเพียงพอสำหรับการใช้งาน.
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี อ.ปิยะพงศ์ ผลเจริญ
ปรากฏการณ์ทางดาราศาสตร์
บทที่ 4 แรงและกฎของนิวตัน
การเคลื่อนที่ของกระแสประสาทในใยประสาท
ความดัน (Pressure).
วงจรอาร์ ซี ดิฟเฟอเรนติเอเตอร์
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไตล์ (Projectile Motion) จัดทำโดย ครูศุภกิจ
ค่ารูรับแสง - F/Stop ค่ารูรับแสงที่มีค่าตัวเลขต่ำใกล้เคียง 1 มากเท่าไหร่ ค่าของรูรับแสงนั้นก็ยิ่งมีความกว้างมาก เพราะเราเปรียบเทียบค่าความสว่างที่ 1:1.
การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
การเคลื่อนที่แบบหมุน (Rotational Motion)
การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
หน้าที่ของ - ไนโตรเจน (เอ็น) - ฟอสฟอรัส (พี) - โพแทสเซียม (เค)
การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย (Simple harmornic motion)
EMERGENCY HELICOPTER AS365
ปรากฏการณ์ดอปเพลอร์ของเสียง Doppler Effect of Sound
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Engineering Mechanics Dynamics คิเนมาติกส์ของอนุภาค ความเร็ว ความเร่ง การเคลื่อนที่เป็นเส้นตรง การเคลื่อนที่ของอนุภาคหลายตัว การแก้ปัญหาด้วยกราฟ การเคลื่อนที่เป็นเส้นโค้ง คิเนติกส์ของอนุภาค กฎข้อที่ 2 ของนิวตัน สมการการเคลื่อนที่ โมเมนตัมเชิงเส้น และโมเมนตัมเชิงมุม งานและพลังงาน อิมพลัสและโมเมนตัม ระบบของอนุภาค กฎการคงตัวของโมเมนตัม กฎการคงตัวของพลังงาน

การเคลื่อนที่เป็นเส้นตรง การเคลื่อนที่เป็นเส้นตรงจากจุด O ไปจุด P จุดเริ่มต้น การกระจัด (displacement) O P P1 _ + ความเร็วเฉลี่ยจากจุด P ถึง P1 (average velocity) ความเร็วที่จุด P (instantaneous velocity)

การเคลื่อนที่เป็นเส้นตรง จุดเริ่มต้น O P P1 _ + ความเร่งเฉลี่ยจากจุด P ถึง P1 (average acceleration) ความเร่งที่จุด P (instantaneous acceleration)

การเคลื่อนที่เป็นเส้นตรง การกระจัด : ความเร็ว : ความเร่ง :

การแก้ปัญหาด้วยกราฟ (Graphical Interpretations) ที่เวลา ใด ๆ ความเร็ว = ความชันของเส้นกราฟ ความเร่ง = ความชันของเส้นกราฟ ในช่วงเวลาใด ๆ จาก ถึง ความเร็ว = พื้นที่ใต้เส้นกราฟ การกระจัด = พื้นที่ใต้เส้นกราฟ

การเคลื่อนที่เป็นเส้นตรงด้วยความเร่งคงที่ constant = a

การเคลื่อนที่เป็นเส้นตรงด้วยความเร่งคงที่

การเคลื่อนที่เป็นเส้นตรงด้วยความเร่งคงที่

การเคลื่อนที่เป็นเส้นตรงด้วยความเร่งคงที่ constant = a

อนุภาคเคลื่อนที่เป็นเส้นตรงด้วยความเร็วดังกราฟ Problem อนุภาคเคลื่อนที่เป็นเส้นตรงด้วยความเร็วดังกราฟ จงหา 1) ความเร็วและการกระจัดเมื่อ t = 8 s และ t = 12 s 2) การกระจัดที่มากที่สุดในการเคลื่อนที่ v (m/s) 50 12 4 8 9 t (s) -30

Problem รถคันหนึ่งเคลื่อนที่เป็นเส้นตรงจากจุดเริ่มต้นด้วยความเร็ว 40 km/h โดยมีความเร่งดังกราฟ จงหาความเร็วของรถเมื่อระยะการกระจัดเป็น 0.2 km a (m/s2) 0.8 0.4 x (km) 0.1 0.2

Problem อนุภาคหนึ่งเคลื่อนที่ด้วยความเร่ง a = 4t – 30 โดย a มีหน่วยเป็น m/s2 และ t มีหน่วยเป็น s ถ้าที่จุดเริ่มต้น t = 0 [s] การกระจัดเริ่มต้น s0 = - 5 [m] และความเร็วเริ่มต้น v0 = 3 [m/s] จงหาสมการความสัมพันธ์ระหว่างความเร็วกับเวลา และสมการความสัมพันธ์ระหว่างการกระจัดกับเวลา

Problem รถคันหนึ่งเคลื่อนที่จาก A ไป B ด้วยความเร่งคงที่ 1.2 m/s2 ถ้าความเร็วของรถที่จุด A เป็น 18 km/h จงหา 1) เวลาที่ใช้จาก A ไป B 2) ความเร็วของรถที่จุด B 75 m A B

Problem ปล่อยบอล 2 ลูกลงตามแนวดิ่งห่างกัน 0.5 s เมื่อบอลลูกแรกตกลงไปได้ 3 m จงหาว่าบอลลูกที่ 2 ห่างจากบอลลูกแรกเป็นระยะทางเท่าไร (ให้ความเร่งเนื่องจากแรงโน้มถ่วง g = 9.8 m/s2) t = 0 s v0 = 0 m/s t = 0.5 s v0 = 0 m/s A B 3 m B h A

Problem รถมอเตอร์ไซค์ตำรวจเริ่มวิ่งจากหยุดนิ่งที่จุด A หลังจากที่รถยนต์ผ่านไปแล้ว 2 วินาที ถ้ารถยนต์วิ่งด้วยความเร็วคงที่ 120 km/h และมอเตอร์ไซค์ตำรวจเร่งความเร็วด้วยอัตรา 6 m/s2 จนถึงความเร็วสูงสุด 150 km/h แล้วคงความเร็วไว้ จงหาว่าจะไล่ทันรถยนต์ที่ระยะห่างจากจุด A เท่าไร A 120 km/h

Problem กลิ้งบอลขึ้นไปตามพื้นเอียงดังรูป ถ้าความเร่งในแนวพื้นเอียงคงที่เป็น 0.25g ตลอดการเคลื่อนที่ และความเร็วเริ่มต้นเป็น 4 m/s จงหา 1) ระยะทาง s ตั้งแต่จุดที่ปล่อยถึงจุดที่บอลกำลังจะกลิ้งกลับ 2) เวลาทั้งหมดตั้งแต่เริ่มปล่อยบอลจนกลิ้งกลับมาถึงจุดเริ่มต้น s

Problem รถคันหนึ่งเคลื่อนที่เป็นเส้นตรงโดยเริ่มเคลื่อนที่จากหยุดนิ่งไปจนหยุดนิ่งที่อีกตำแหน่งหนึ่ง ระหว่างการเคลื่อนที่มีความเร่งดังกราฟ จงหาระยะเวลาช่วง CD และการกระจัดที่จุด D 1 2 -2 a (m/s2) t (s) 8 6 10 tCD A B C D