บทที่ 4 คำสั่งควบคุม โปรแกรม. คำสั่งควบคุมโปรแกรมออกได้เป็น 2 ประเภท คือ คำสั่งแบบกำหนดเงื่อนไข (Conditional Statement) คำสั่งแบบทำงานซ้ำ (Repetitive.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Control Statement if..else switch..case for while do-while.
Advertisements

Control Statement for while do-while.
Lecture no. 5 Control Statements
การควบคุมทิศทางการทำงาน
คำสั่งเพื่อการกำหนดเงื่อนไข
ขอความสั่ง Switch/case/break/default
คำสั่งควบคุมการทำงาน
การประกาศตัวแปร “ตัวแปร” คือสิ่งที่เราสร้างขึ้นมาเพื่อใช้เก็บค่าต่างๆและอ้างอิงใช้งานภายในโปรแกรม ตามที่เรากำหนดขึ้น การสร้างตัวแปรขึ้นมาเราเรียกว่า.
Repetitive Or Iterative
หน่วยที่ 4: คำสั่งควบคุมโปรแกรม (Control Flow Command)
คำสั่งควบคุมการทำงาน
ง30212 การเขียนโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม
คำสั่งควบคุมการทำงานของ ActionScripts
Computer Programming Asst. Prof. Dr. Choopan Rattanapoka
Computer Programming การเขียนโปรแกรม คอมพิวเตอร์ สัปดาห์ที่ 6 คำสั่งควบคุมการทำงานแบบ เงื่อนไขและคำสั่งควบคุมการ ทำงานแบบวนซ้ำ.
การวนซ้ำโดยใช้โครงสร้าง for
การเขียนคำสั่งควบคุม การทำงานขั้นพื้นฐาน
บทที่ 6 บทที่ 6 คำสั่งแก้ไขปัญหาแบบ เลือก (CONDITION)
บทที่ 5 การควบคุมทิศทางการทำงานของโปรแกรม
LAB ตัวแปร : Variables ในการเขียนโปรแกรมเราต้องการให้โปรแกรม จดจำค่าต่างๆ ไว้ เช่นเมื่อรับค่าข้อมูลจาก ผู้ใช้ หรือค่าที่ได้จากการคำนวณใดๆ ค่า.
การเขียนโปรแกรมภาษาปาสคาล โดยใช้โครงสร้างหลักทั้ง 3 โครงสร้าง
กาญจนา ทองบุญนาค สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยที่ 6 แถวลำดับ (Array)
หลักการโปรแกรม 1 Lecture 8: การทำซ้ำ (while, do-while)
MEE 231 Computer Programming สัปดาห์ที่ 6 ภาษา C หลักการของโปรแกรม ชนิดของตัวแปร การดำเนินการ คำสั่งการรับค่าตัวแปร และการแสดงผล.
ARRAY & PRINTF สาขางานคอมพิวเตอร์ธุรกิจอาจารย์จิรา ภรณ์ เขตกุฎี
ITERATION (LOOP) สาขางานคอมพิวเตอร์ธุรกิจอาจารย์จิรา ภรณ์ เขตกุฎี
คำสั่งควบคุมการทำงาน
การเปรียบเทียบเงื่อนไข
โครงสร้างการทำงานแบบวนซ้ำ
โครงสร้างโปรแกรมภาษา C
หน่วยที่ 5 โปรแกรมแบบวนรอบทำซ้ำ
การเขียนโปรแกรมแบบวนซ้ำ
บทที่ 5 อินพุตและเอาต์พุต
C Programming By Mr. Sanae Sukprung.
การควบคุมทิศทางการทำงาน
แนวข้อสอบ Final (จดด่วน)
Chapter 4 ข้อความสั่ง เลือกทำ.
คำสั่งวนซ้ำ (Looping)
Computer Programming การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ครูวีรธรรม เทศประสิทธิ์ แผนกวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
บทที่ 6 การเขียนโปรแกรมแบบมีเงื่อนไข
Control Statements.
ใช้สำหรับ Turbo C++ Version 3.0
Principles of Problem Solving and Basic Programming หลักการแก้ปัญหาและการเขียนโปรแกรมเบื้องต้น2(1-2-3) สัปดาห์ที่ 4 เครื่องหมาย ตรรกะศาสตร์ และการดำเนินการทางตรรกะศาสตร์
คำสั่งเงื่อนไข (Conditioning Statements)
การควบคุมการทำงานด้วยภาษา C
Computer Programming การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 3 โครงสร้างควบคุม Control Structures
บทที่ 4 ตัวแปร (Variables)
หน่วยการเรียนที่ 4 เรื่อง การควบคุมทิศทางการทำงาน
บทที่ 7 การเขียนโปรแกรม แบบวนรอบทำซ้ำ (Loop)
Control Statement เงื่อนไขคำสั่งในโปรแกรม ภาษา C
บทที่ 8 เงื่อนไขตัดสินใจ
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล
รายวิชา ไมโครโปรเซสเซอร์ในงานอุตสาหกรรม
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
การเขียนโปรแกรมแบบวนซ้ำ: คำสั่ง while คำสั่ง do….while
บทที่ 9 การทำซ้ำ (Loop).
บทที่ 3 Programming By Wathinee duangonnam
ข้อความสั่งควบคุม.
Week 5 C Programming.
บทที่ 3 โครงสร้างควบคุม Control Structures
คำสั่งวนรอบ (Loop).
หน่วยที่ 6 อะเรย์ของอักขระ
บทที่ 7 การประมวลผลอาร์เรย์
การเขียนโปรแกรมภาษา Java (ต่อ)
Chapter 3 : Array.
การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาไพทอน การเขียนโปรแกรมแบบทางเลือก
Decision: Single and Double Selection (if and if-else statement)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 4 คำสั่งควบคุม โปรแกรม

คำสั่งควบคุมโปรแกรมออกได้เป็น 2 ประเภท คือ คำสั่งแบบกำหนดเงื่อนไข (Conditional Statement) คำสั่งแบบทำงานซ้ำ (Repetitive Statement)

คำสั่งแบบกำหนดเงื่อนไข คำสั่งแบบกำหนดเงื่อนไข มี 2 คำสั่ง คือ – ฟังก์ชัน if ใช้ในการตรวจสอบเงื่อนไขการทำงานแบบ ทางเลือก ซึ่งผลการตรวจสอบเงื่อนไขจะให้ผล ลัพธ์เป็นจริง (True) และเป็นเท็จ (False) เท่านั้น – ฟังก์ชัน switch เป็นฟังก์ชันที่มีวัตถุประสงค์เพื่อเขียนคำสั่งให้ คอมพิวเตอร์มีทางเลือกมากกว่า 2 ทางเลือก

ฟังก์ชัน if ฟังก์ชัน if ใช้ในการตรวจสอบเงื่อนไข รูปแบบที่ 1 Single Selection (if.. Structure) เป็นรูปแบบการทำงานที่จะทำการตรวจสอบ เงื่อนไข (Condition) ถ้าเงื่อนไขเป็นจริง จะไป ทำงานที่ statement แล้วออกจากโครงสร้างเพื่อ ทำงานอื่นต่อไป โดย statement อาจมีมากกว่า 1 statement ก็ได้ แต่ต้องกำหนดอยู่ภายใต้ {} ถ้าเงื่อนไขเป็นเท็จ จะออกจากโครงสร้างเพื่อ ทำงานอื่นต่อไปทันที if (condition) statement;

ตัวอย่าง 4.1 การใช้ Single Selection (if.. Structure) #include void main(void) { int n; clrscr(); printf("Enter A Number : "); scanf(“%d”,&n); if (n>0) printf("Greater than Zero\n"); getch(); } รูปที่ 1.6 ตัวอย่างผังงานโครงสร้างการทำงานแบบ Single Selection (if.. structure)

ฟังก์ชัน if รูปแบบที่ 2 Double Selection (if/else.. Structure) if (condition){ statement1; } else { statement2; }

ตัวอย่าง 4.2 การใช้ Double Selection (if/else.. Structure) #include void main(void) { int n; clrscr(); printf("Enter A Number : "); scanf(“%d”,&n); if (n>0) printf("Greater than Zero\n"); else printf("Less than or Equal to Zero\n"); getch(); } รูปที่ 1.8 ตัวอย่าง ผังงานโครงสร้างการทำงานแบบ Double Selection (if/else.. Structure)

ฟังก์ชัน if รูปแบบที่ 3 Multi-Selection (if / else if / else.. Structure) if (condition) statement 1; else if (condition) statement 2; else if(condition) statement 3; else statement 4;

ตัวอย่าง 4.3 การใช้ Multi-Selection (if / else if / else.. Structure ) #include void main(void) { float score; char grade; clrscr(); printf("Enter Score : "); scanf("%f",&score); if (score >=80) { grade = ‘A’; } else if (score >=70) { grade = ‘B’; } else if (score >=60) { grade = ‘C’; } else if (score >=50) { grade = ‘D’; } else grade = ‘E’; printf("Grade = %c\n",grade); getch(); } รูปที่ 1.10 ตัวอย่างผังงานโครงสร้างการทำงานแบบ Multi-Selection (if/else if / else..Structure)

ตัวอย่าง 4.4 การใช้ Multi-Selection (if / else if / else.. Structure ) if (score < 50) { grade = ‘E’; } else if (score <=60) { grade = ‘D’; } else if (score <=70) { grade = ‘C’; } else if (score <=80) { grade = ‘B’; } else grade = ‘A’; printf("Grade = %c\n",grade); } #include void main(void) { float score; char grade; clrscr(); printf("Enter Score : "); scanf("%f",&score);

ตัวอย่าง 4.5 การใช้ Multi-Selection (if / else if / else.. Structure ) if ((score >=80) && (score <=100 )) { grade = ‘A’; } else if ((score >=70) && (score <80 )) { grade = ‘B’; } else if ((score >=60) && (score <70 )) { grade = ‘C’; } else if ((score >=50) && (score <60 )) { grade = ‘D’; } else grade = ‘E’; printf("Grade = %c\n",grade); } #include void main(void) { float score; char grade; clrscr(); printf("Enter Score : "); scanf("%f",&score);

ฟังก์ชัน switch เป็นฟังก์ชันที่มีวัตถุประสงค์เพื่อเขียนคำสั่ง ให้คอมพิวเตอร์มีทางเลือกมากกว่า 2 ทางเลือก ซึ่งทางเลือกแต่ละทาง จะสิ้นสุด การทำงานเมื่อพบคำสั่ง break

รูปแบบ ฟังก์ชัน switch switch(variable) { case constant1: statement; break; case constant2: statement; break; … default : statement; } ความหมาย variable หมายถึง ตัวแปรคงที่ชนิดเลข จำนวนเต็ม หรือตัวอักษร constant หมายถึง ค่าคงที่ชนิดเลข จำนวนเต็ม หรือตัวอักษร และ ต้องเป็นชนิดเดียวกันกับตัว แปรคงที่ break หมายถึง คำสั่งให้หยุดการ ทำงานของแต่ละ case default หมายถึง กรณีที่ค่าตัวแปร คงที่ ไม่มีค่าใดตรงกับค่าคงที่ ที่กำหนด

ตัวอย่าง 4.6 ฟังก์ชัน switch #include void main(void) { char answer; clrscr(); printf("Enter A [Y] or [N] : "); answer=getche(); printf("\n"); switch(answer) { case 'Y': case 'y': printf("You Enter Y\n"); break; case 'N': case 'n': printf("You Enter N\n"); break; default : printf("Error ! \n"); }/* End of Switch */ getche(); }

ตัวอย่าง 4.7 ฟังก์ชัน switch #include void main(void) { int a,b,choice; float s=0.00; clrscr(); printf("Enter Number 1,2 : “); scanf(“%d %d”,&a,&b); printf("1: Add \n"); printf("2: Subtract \n"); printf("3: Multiply \n"); printf("4: Divide \n"); printf("Enter choice 1..4 : "); scanf("%d",&choice); printf("\n"); switch(choice) { case 1: s=a+b; printf("%d + %d = %f”,a,b,s\n"); break; case 2: s=a-b; printf("%d - %d = %f”,a,b,s\n"); break; case 3: s=a*b; printf("%d * %d = %f”,a,b,s\n"); break; case 4: s=a/b; printf("%d / %d = %f”,a,b,s\n"); break; }/* End of Switch */ getche(); } รูปที่ 1.12 ตัวอย่าง ผังงานโครงสร้างการทำงานแบบ case/switch Structure

ฟังก์ชันแบบทำงานซ้ำ ภาษาซีมีฟังก์ชันแบบทำงานซ้ำ 3 ฟังก์ชัน คือ – ฟังก์ชัน for – ฟังก์ชัน while – ฟังก์ชัน do.. while

ฟังก์ชัน for รูปแบบฟังก์ชัน for(v=i;condition;increment or decrement) { statement; … statement; } ความหมาย v หมายถึง ตัวแปรควบคุมการวนรอบ ชนิดข้อมูลเลขจำนวนเต็ม i หมายถึง ค่าเริ่มต้นการวนรอบ condition หมายถึง เงื่อนไขการวนรอบ increment หมายถึง การเพิ่มค่าตัวแปร decrement หมายถึง การลดค่าตัวแปร

ตัวอย่าง 4.8 ฟังก์ชัน for #include void main(void) { int counter,sum=0; clrscr(); for(counter=1;counter<=10;counter++) { sum=sum+counter; printf("Counter[%d] = %3d\n",counter,counter); } printf(“\n”); printf("Sum = %3d\n",sum); getch(); } ผลลัพธ์ Counter[1] = 1 Counter[2] = 2 Counter[3] = 3 Counter[4] = 4 Counter[5] = 5 Counter[6] = 6 Counter[7] = 7 Counter[8] = 8 Counter[9] = 9 Counter[10] = 10 Sum = 55

ตัวอย่าง 4.9 ฟังก์ชัน for #include void main(void) { int counter,n=0,sum=0; clrscr(); for(counter=10;counter>=1;counter--) { n++; sum=sum+counter; printf("Counter[%d] = %3d\n",n,counter); } printf(“\n”); printf("Sum = %3d\n",sum); getch(); } ผลลัพธ์ Counter[1] = 10 Counter[2] = 9 Counter[3] = 8 Counter[4] = 7 Counter[5] = 6 Counter[6] = 5 Counter[7] = 4 Counter[8] = 3 Counter[9] = 2 Counter[10] = 1 Sum = 55

ตัวอย่าง 4.10 ฟังก์ชัน for #include void main(void) { int counter,sum=0,n=0; clrscr(); for(counter=1;counter<10;counter=counter+2) { n++; sum=sum+counter; printf("Counter[%d] = %3d\n",n,counter); } printf(“\n”); printf("Sum = %3d\n",sum); getch(); } ผลลัพธ์ Counter[1] = 1 Counter[2] = 3 Counter[3] = 5 Counter[4] = 7 Counter[5] = 9 Sum = 25

ตัวอย่าง 4.11 ฟังก์ชัน for #include void main(void) { char ch; clrscr(); for(ch='A';ch<='Z';ch+ +) printf("%c\n",ch); getch(); } ผลลัพธ์ A B C.. Y Z

ตัวอย่าง 4.12 ฟังก์ชัน for ซ้อน for #include void main(void) { int i,j; clrscr(); for(i=1;i<=2;i++) { for (j=1;j<=3;j++) { printf("i = %d \t j = %d\n",i,j); } getch(); }

ตัวอย่าง 4.13 ฟังก์ชัน for ซ้อน for #include void main() { int i,j; clrscr(); for(i=1;i<=5;i++) { for (j=1;j<=2*i-1;j++) { gotoxy(30+j,10+i);printf("*"); } printf("\n"); } getch(); } ผลลัพธ์ * *** ***** ******* *********

ฟังก์ชัน while รูปแบบฟังก์ชัน while (condition) { statement; … statement; } ความหมาย Condition หมายถึง เงื่อนไขการวนรอบ

ตัวอย่าง 4.14 ฟังก์ชัน while #include void main(void) { int counter,sum=0; clrscr(); counter=0; /* Initialize */ while (counter<10) { counter++; printf("Counter[%d] = %3d\n",counter,counter); sum=sum+counter; } /*End of Loop..While..*/ printf(“\n”); printf("Sum = %3d\n",sum); } ผลลัพธ์ Counter[1] = 1 Counter[2] = 2 Counter[3] = 3 Counter[4] = 4 Counter[5] = 5 Counter[6] = 6 Counter[7] = 7 Counter[8] = 8 Counter[9] = 9 Counter[10] = 10 Sum = 55

ตัวอย่าง 4.15 ฟังก์ชัน for #include void main(void) { int counter,sum=0; clrscr(); counter=10; /* Initialize */ while (counter>=1) { printf("Counter[%d] = %3d\n",counter,counter); sum=sum+counter; counter--; } /*End of Loop.. While.... */ printf("%d\n",sum); getche(); } ผลลัพธ์ Counter[1] = 10 Counter[2] = 9 Counter[3] = 8 Counter[4] = 7 Counter[5] = 6 Counter[6] = 5 Counter[7] = 4 Counter[8] = 3 Counter[9] = 2 Counter[10] = 1 Sum = 55

ตัวอย่าง 4.16 ฟังก์ชัน for #include void main(void) { int counter,sum=0,n=0; clrscr(); counter=1; /* Initialize */ while (counter<10) { n++; printf("Counter[%d] = %3d\n",n,counter); sum=sum+counter; counter=counter+2; } /*End of Loop..While..*/ printf(“\n”); printf("Sum = %3d\n",sum); } ผลลัพธ์ Counter[1] = 1 Counter[2] = 3 Counter[3] = 5 Counter[4] = 7 Counter[5] = 9 Sum = 25

ฟังก์ชัน do..while รูปแบบฟังก์ชัน do { statement; … statement; } while (condition); ความหมาย condition หมายถึง เงื่อนไขการวนรอบ

ตัวอย่าง 4.17 ฟังก์ชัน do..while #include void main(void) { int counter,sum; clrscr(); counter=1;sum=0; /* Initialize */ do { printf("Counter[%d] = %3d\n",counter,counter); sum=sum+counter; counter=counter+1; } while(counter<=10); /*End of Loop..Do..While */ printf(“\n”); printf("Sum = %3d\n",sum); getche(); }

ตัวอย่าง 4.18 ฟังก์ชัน for #include void main(void) { int counter,n,sum; clrscr(); counter=10;n=0;sum=0; /* Initialize */ do { n++; printf("Counter[%d] = %3d\n",n,counter); sum=sum+counter; counter--; } while(counter>=1); /*End of Loop..Do..While */ printf("\n"); printf("Sum = %3d\n",sum); getche(); } ผลลัพธ์ Counter[1] = 10 Counter[2] = 9 Counter[3] = 8 Counter[4] = 7 Counter[5] = 6 Counter[6] = 5 Counter[7] = 4 Counter[8] = 3 Counter[9] = 2 Counter[10] = 1 Sum = 55

ตัวอย่าง 4.19 ฟังก์ชัน for #include void main(void) { int counter,sum,n; clrscr();counter=1;sum=0,n=0; /* Initialize */ do { n++; printf("Counter[%d] = %3d\n",n,counter); sum=sum+counter; counter=counter+2; } while(counter<10); /*End of Loop..Do..While */ printf(“\n”);printf("Sum = %3d\n",sum); getche(); } ผลลัพธ์ Counter[1] = 1 Counter[2] = 3 Counter[3] = 5 Counter[4] = 7 Counter[5] = 9 Sum = 25