สาเหตุของโรคอ้วนและการแก้ไขปัญหา

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โดย แพทย์หญิงมยุรา เทพเกษตรกุล อายุรแพทย์เฉพาะทางโรคเบาหวานและระบบต่อมไร้ท่อ คลินิกเบาหวาน ร. พ. กรุงเทพพัทยา.
Advertisements

เพราะความเป็นห่วง.
หลักการออกกำลังกายและการเต้นแอโรบิก
น้ำหนักตัวเกิน กินอาหารให้พลังงานมากเกินไป อยู่ในภาวะขาดสารอาหาร
สุขภาพดีซื้อขายได้ที่ไหน ?
กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา เรื่อง โภชนบัญญัติ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ตัวเรา
แนวทางการดูแลผู้ป่วยสมองเสื่อม
การเลิกสูบบุหรี่ด้วยตัวเอง
วัฏฎ3 อาหารสำหรับวัยรุ่น
ชมรม “อยู่ดีมีสุข” 16 พฤษภาคม 2550
การเจริญเติบโตของวัยรุ่น
โครงงาน กินอยู่อย่างพอเพียงเพื่อสุขภาพที่ดี
กินอยู่อย่างพอเพียงเพื่อสุขภาพที่ดี
การดูแลการเจริญ เติบโต ในวัยรุ่น
ท้องผูก Constipation จัดทำโดย ด.ช.กันตภณ พลับจีน ม.1/4 เลขที่ 3
รายงานเรื่อง เบาหวาน จัดทำโดย ด.ช.พงศกร พรมวงษ์ ม.1/5 เลขที่ 29
ชื่อโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของกลุ่มเสี่ยงโรคหัวใจและหลอดเลือด
15 มาตรการรักษาสุขภาพ มีข้อแนะนำดีๆในเรื่องการรักษาสุขภาพ รับอากาศที่กำลังแปรปรวนกันสุดๆ ใครภูมิคุ้มกันไม่ดีอาจจะจอดได้ นี่คือ 15 มาตรการที่น่าสนใจ.
นักวิชาการสาธารณสุข 9 กรมอนามัย
ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
สิ่งที่ไม่ควรทำหลังการรับประทานอาหาร (7 ประการ)
ยินดีต้อนรับ สู่..ตึกโรคปอด.
หอผู้ป่วย อายุรกรรม หญิง 3.
การปฏิบัติตัวผู้ป่วยหลังผ่าตัดเปลี่ยนไต เมื่อกลับไปอยู่บ้าน
การออกกำลังกายในคนอ้วน
ปัจจัยที่ก่อให้เกิดปัญหาต่อสุขภาพและสมรรถภาพ
แนวทางการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม
แนวทางการปฏิบัติ การจัดการน้ำหนักและรอบเอว
เพียงใดถ้าคนไทย พุงเกิน 80 ,90
ชุดเครื่องมือเดินเพื่อสุขภาพ
การประเมินภาวะโภชนาการ ในผู้ที่เป็นเบาหวาน
ด้วย...โภชนบัญญัติ 9 ประการ
นางสาวอนุสรณ์ สนิทชน , CDT นักโภชนาการ โรงพยาบาลอุดรธานี
โดย แพทย์หญิงมยุรา เทพเกษตรกุล อายุรแพทย์เฉพาะทางโรคเบาหวานและระบบต่อมไร้ท่อ คลินิกเบาหวาน ร. พ. กรุงเทพพัทยา.
อ่านบ้างนะ มีประโยชน์
ไตวายเรื้อรังระยะสุดท้าย
การควบคุมน้ำหนัก เป็นการรักษาสุขภาพให้แข็งแรง และทำได้ไม่ยาก ถ้าเข้าใจ
โรคที่เกิดจากฮอร์โมนผิดปกติ
โรคที่เกิดจากความผิดปกติของ Hormone
บทที่ 9 โรคที่เกิดจากพฤติกรรมสุขภาพ
นำเสนอโดย ด.ช.ศรราม หมั่นดี
เบาหวาน ผลิตโดย...กลุ่มงานสุขศึกษา โรงพยาบาลยะลา.
ภาวะตัวเหลืองในทารกแรกเกิด
ภาวะไตวาย.
นักโภชนาการชำนาญการ ศูนย์อนามัยที่ 6
บทเรียนเพื่อการศึกษาวิชาสุขศึกษา
การเลือกอาหารเพื่อควบคุมน้ำหนัก
อาหารหลัก 5 หมู่ โดย นางสาวฉัตรสุดา มงคลโภชน์
โรคไตในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
“การชะลอภาวะไตวายเรื้อรัง”
ล้างพิษได้ใน “หนึ่งวัน”
ดื่มน้ำเมื่อท้องว่าง ดีอย่างไร?
ไม่ใช่ผู้ร้ายอย่างที่คิด ฝ่ายโภชนาการ รพ.ภูมิพลฯ
โรคเบาหวาน เบาหวาน คือภาวะที่ร่างกายมีระดับน้ำตาลในเลือดสูงกว่าปกติ เนื่องมาจากร่างกายไม่สามารถนำน้ำตาลในเลือดไปใช้ได้ตามปกติ ซึ่งเกิดจากความผิดปกติของต่อมไร้ท่อที่ตับอ่อนปล่อยฮอร์โมนที่เรียกว่า.
การบูรณาการกับกิจกรรมเชิงรุก
โภชนาการโรคหลอดเลือดสมอง
โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
ประชุมผู้รับผิดชอบงานเบาหวาน
โรคเบาหวาน ภ.
อาหารและสารอาหาร อาหาร หมายถึง สิ่งที่รับประทานเข้าสู่ร่างกายแล้วไม่เป็นโทษต่อร่างกายและมีประโยชน์ สารเคมีที่เป็นส่วนประกอบในอาหารจะเรียกว่า “สารอาหาร”
โรคเบาหวาน Diabetes.
เฝ้าระวังภาวะโภชนาการเด็ก6-12 ปีจังหวัดเลย ปี2556
คนไทยไร้พุง งานสุขศึกษา โรงพยาบาลพะเยา.
โรงพยาบาลวังม่วงสัทธรรม
เบาหวาน ความรู้เรื่องโรค หลักการออกกำลังกาย การดูแลตนเอง
วิธีการลดน้ำหนัก ด.ช.พีรณัฐ บุญชื่น ม.3/3 เลขที่ 20 เสนอ
โรคเบาหวาน เป็นชื่อของกลุ่มอาการของโรค ที่ร่างกายไม่สามารถใช้น้ำตาลได้
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สาเหตุของโรคอ้วนและการแก้ไขปัญหา เสนอ จัดทำโดย 1. นางสาววิภา บุพาที 560220 2. นางสาวณัฐนา บุตรศรี 560209 3. นางสาวสุวนันท์ ผากิม 560360

โรคอ้วน โรคอ้วน (Obesity) หรือความอ้วนเป็นจุดเริ่มของโรคอันตรายร้ายแรงอื่นๆอีกหลายโรค การที่ร่างกายมีน้ำหนักมากเกินเกณฑ์ปกติเนื่องจากการกินอาหารเข้าไปแล้วร่างกายใช้ไม่หมดจึงต้องสะสมเป็นไขมันส่วนเกินตามส่วนต่างๆ ของร่างกายโดยเฉพาะบริเวณหน้าท้อง เมื่อไขมันสะสมเพิ่มขึ้นมาเรื่อยๆจนกลายเป็นสาเหตุของโรคร้ายอื่นๆ เช่น โรคหัวใจ โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน ฯลฯ

สาเหตุของโรคอ้วน 1.ได้พลังงานจากอาหารมากเกินความต้องการของร่างกาย คือ การกินเข้าไปมากแต่ใช้น้อย อาหารที่ให้พลังงานคือ อาหารพวกแป้งและน้ำตาล เนื้อสัตว์ต่าง ๆ ไขมัน กะทิ และเหล้าเบียร์ ฉะนั้น หากใครกินอาหารประเภทของหวาน ของมัน หรอดื่มเหล้าเบียร์มากก็อ้วนได้ทั้งนั้น 2.อ้วนเพราะออกกำลังกายน้อยไป เช่นคนที่ใช้เวลานั่งโต๊ะทำงาน เป็นส่วนใหญ่

3.กรรมพันธุ์ ก็เป็นอีกสาเหตุหนึ่งที่ทำให้คนอ้วน แต่พบได้น้อย คนอ้วนมักจะชอบโทษว่ากรรมพันธุ์เป็นสาเหตุที่ทำให้ตนอ้วน ซึ่งความจริงแล้วโรคอ้วนมักมาจากปัญหาของพฤติกรรมการชอบกินมากกว่า 4.ความอ้วนเกิดจากโรคบางชนิด เช่น ความผิดปกติของฮอร์โมน ความผิดปกติของสมอง แต่ความอ้วนจากสาเหตุนี้พบน้อยมาก

9 สัญญาณเตือนภัย! 1. เสื้อผ้าคับ 2. มีคนเริ่มทัก 3. คุณหมอแนะนำให้ลดน้ำหนัก 4. ค่า BMI (ดัชนีมวลกาย)มากกว่า25 5. ขนาดเฟอร์นิเจอร์เปลี่ยนไป 6. ร่ายกายส่งสัญญาณเตือน 7. ไม่รู้ว่าแต่ละวันทานอะไรเข้าไปบ้าง 8. ไม่อยากส่องกระจก 9. รู้สึกหมดเรี่ยวแรง  

6 นิสัยทำให้อ้วน

ตัวอย่างอาหารที่บริโภคทั่วไปจำแนกตามกลุ่มอาหารและพลังงาน

การแก้ไขปัญหาโรคอ้วน

1.การออกกำลังกาย การลดพลังงานจากอาหารจะทำให้น้ำหนักลดลง การออกกำลังกายจะช่วยป้องกันไม่ให้น้ำหนักเพิ่มขึ้น การออกกำลังกายสามารถทำได้ทันที สำหรับผู้ที่อ้วนมาก และไม่เคยออกกำลังกายอาจจะเริ่มออกกำลังกายโดยการทำตัวให้กระฉับกระเฉง การออกกำลังสามารถออกวันละครั้งหรืออาจจะออกกำลังกายเป็นช่วงๆ เริ่มแรกอาจจะเดินวันละ 30 นาทีสัปดาห์ละ 3 วัน และค่อยๆเพิ่มเป็น 45 นาที การออกกำลังกายต้องการให้ร่างกายใช้พลังงานวันละ 100-200 กิโลแคลอรี

การเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหาร พยายามรับประทานอาหารเฉพาะในมื้ออาหารโดยเฉพาะที่โต๊ะอาหาร และลุกขึ้นจากโต๊ะทันทีที่อิ่ม รับประทานวันละ 3 มื้อ รับประทานอาหารเช้าทุกวัน อย่าอดอาหารมื้อใดมื้อหนึ่ง รับประทานผัก ผลไม้ ธัญพืชที่ไม่ขัดสี ดื่มน้ำมากๆทั้งในมื้ออาหารและระหว่างมื้ออาหาร ดื่มน้ำ 1 แก้วก่อนอาหาร

การรักษาโรคอ้วนด้วยยา ผู้ที่อ้วนและจำเป็นต้องได้ยาช่วยในการรักษาจะมี เกณฑ์ในการให้ยาลดน้ำหนักคือ  1. ดัชนีมวลกาย BMI มากกว่า 30 กก/ตารางเมตร  2. หรือดัชนีมวลกาย 27 และมีปัจจัยเสี่ยงร่วมด้วย    3. ผู้ป่วยรับประทานมากและเป็นสาเหตุของโรคอ้วน 4. มีโรคที่เกิดจากความอ้วน เช่นโรคเบาหวาน ไขมันในเลือดสูง ความดันโลหิตสูง 5. มีอาการจากโรคอ้วน เช่น sleep apnea syndrome เข่าเสื่อม เป็นต้น

ดังนั้นการลดความอ้วนจึงไม่จำเป็นต้องเป็นการอดอาหารหรือควบคุมรสชาติอาหารเสียจนจืดชืดน่าเบื่อ แต่การลดน้ำหนักที่ประสบความสำเร็จและได้ผลแน่นอนจะต้องทำอย่างค่อยเป็นค่อยไป ข้อสำคัญจะต้องมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสาเหตุของความอ้วน และ วิธีการปฏิบัติที่ถูกต้อง และสามารถปฏิบัติตามได้ตลอดไป น้ำหนักจะได้ไม่กลับมาเพิ่มอีก

เอกสารอ้างอิง 1. Oranee Tangphao. Orlistat : A new antiobesity drug.Thai Joumal of Pharmacology. 2000; 22(1); 57-65. 2. James H. Zavoral. Treatment with orlistat reduces cardiovascular risk in obese patients. Journal of Hypertension 1998; 16(2): 2013-2017. 3. วิมล พันธุ์เวทย์. Orlistat ทางเลือกใหม่ในการลดน้ำหนัก ศรีนครินทร วิโรฒเภสัชสาร 2542; 4(1): 74-91.