อ.นรีลักษณ์ สุวรรณโนบล สำนักวิชาพยาบาลศาสตร์ Uncertainty in illness Theory อ.นรีลักษณ์ สุวรรณโนบล สำนักวิชาพยาบาลศาสตร์
Objective อธิบายแนวคิดทฤษฎีความรู้สึกไม่แน่นอนเมื่อเกิดเจ็บป่วย ประยุกต์ใช้ทฤษฎีในการดูแลผู้ป่วย
Outline แนวคิด ความหมาย ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความเจ็บป่วย แนวคิด ความหมาย ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความเจ็บป่วย กรอบแนวคิดทฤษฎี การประยุกต์ใช้ในงานวิจัย การดูแลผู้ป่วย
แนวคิดความรู้สึกไม่แน่นอนในการเจ็บป่วย เป็นปัจจัยด้านสถานการณ์หรือเหตุการณ์ที่มีบทบาทในการประเมินตัดสินและการเผชิญปัญหาของบุคล เนื่องจากความไม่นอนของเหตุการณ์จะทำให้ยากต่อการประเมินว่าเป็นอันตรายหรือมีความรุนแรงหรือไม่ ความไม่แน่นอนจึงเป็นภาวะคุกคามของบุคคล Hilton,1989:41 อ้างในสุณี,2544:43
แนวคิดความรู้สึกไม่แน่นอนในการเจ็บป่วย ภาวะทางอารมณ์ที่เกิดขึ้นเมื่อไม่สามารถให้ความหมายเหตุการณ์ที่สัมพันธ์กับการเจ็บป่วยที่เกิดขึ้นในสถานการณ์ที่บุคคลไม่สามารถทำนายผลลัพธ์การเจ็บป่วย เนื่องจากขาดตัวชี้แนะที่เพียงพอ มิเชล,1981:258 อ้างในสุณี,2544:43 การที่บุคคลไม่สามารถตัดสินความหมายของความเจ็บป่วยไม่สามารถคาดการณ์ผลลัพธ์ที่เกิดจากความเจ็บป่วยและการรักษาความเจ็บป่วย รวมทั้งบุคคลไม่สามารถให้ความหมายและจำแนกประเภทของความเจ็บป่วยให้สัมพันธ์กับเหตุการณ์ เนื่องจากขาดคำแนะนำเกี่ยวกับการวินิจฉัยและความรุนแรงของความเจ็บป่วยอย่างเพียงพอ มิเชล,1988:225 อ้างในสุณี,2544:43
แนวคิดความรู้สึกไม่แน่นอนในการเจ็บป่วย ความรู้สึกไม่แน่นอนในความเจ็บป่วย : การที่บุคคลไม่สามารถแยกแยะความเจ็บป่วยได้ชัดเจน ถ้ามีมากก็จะทำให้มองความเจ็บป่วยและทำนายผลลัพธ์ความเจ็บป่วยไปในทางร้าย Hilton,1988: 217
แนวคิดความรู้สึกไม่แน่นอนในการเจ็บป่วย การที่บุคคลไม่สามารถตัดสินความหมายของความเจ็บป่วยและทำนายผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจากความเจ็บป่วยนั้นได้ เนื่องจากได้รับคำแนะนำไม่เพียงพอ ทำให้เกิดความขัดแย้งในใจ หรือความเจ็บป่วยนั้นมีมากเกินไปที่ผู้ป่วยจะรับรู้และตัดสินได้ Chrisman,1990:17อ้างในสุณี,2544:43
แนวคิดความรู้สึกไม่แน่นอนในการเจ็บป่วย การที่บุคคลไม่สามารถกำหนดรูปแบบความเจ็บป่วยนั้นได้ ซึ่งอาจเกิดจากผู้ป่วยไม่สามารถสร้างกรอบแบบแผนความรู้ความเข้าใจในการแปลความเจ็บป่วยที่ตนเองประสบ สมจิต,2543:13 อ้างในสุณี,2544:43
แนวคิดความรู้สึกไม่แน่นอนในการเจ็บป่วย การที่ไม่สามารถทำนายเหตุการณ์ความเจ็บป่วย การรักษาที่จะได้รับ ผลของการรักษา และการดำเนินชีวิตร่วมกับโรคอาการของโรคจะสงบหรือกำเริบเป็นช่วงๆก่อให้เกิดความรู้สึกไม่แน่นอนในความเจ็บป่วย ส่งผลให้เกิดความเปลี่ยนแปลงภายในบุคคล โดยที่ความรู้สึกไม่แน่นอนในความเจ็บป่วยไม่สามารถเข้าสู่ระบบภายในบุคคล ขัดขวางการใช้สติปัญญาและการแสดงออก ก่อให้เกิดความคิดอย่างไม่มีเหตุผลในการปรับตัวต่อสถานการณ์การเจ็บป่วย ความรู้สึกไม่แน่นอนนี้สามารถขัดขวางความสมดุลส่งการปรับตัว มิเชล,1990:256 อ้างในสุณี,2544:44
ทฤษฎีความรู้สึกไม่แน่นอนในความเจ็บป่วย Middle range theory พัฒนาทฤษฎีมาจากผลงานวิจัยทางการพยาบาลและศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้อง ร่วมกับทฤษฎีความเครียดและการเผชิญความเครียดของลาซารัสและโฟคแมน (Lazarus & Folkman, 1984) ทฤษฎีความรู้สึกไม่แน่นอนในความเจ็บป่วย (Theory of Uncertainty in Illness) ของ มิเชล (Mishel, 1988) เป็นทฤษฎีทางการพยาบาลระดับกลาง (Middle range theory) ซึ่งมิเชลได้ พัฒนาทฤษฎีมาจากผลงานวิจัยทางการพยาบาลและศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้อง ร่วมกับทฤษฎี ความเครียดและการเผชิญความเครียดของลาซารัสและโฟคแมน (Lazarus & Folkman, 1984) ทฤษฎีความรู้สึกไม่แน่นอนในความเจ็บป่วยนี้ประกอบด้วย ความหมายของความรู้สึกไม่แน่นอน ในความเจ็บป่วย ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความรู้สึกไม่แน่นอนในความเจ็บป่วย การประเมินตัดสิน ความรู้สึกไม่แน่นอนในความเจ็บป่วยและการเผชิญกับความรู้สึกไม่แน่นอนในความเจ็บป่วย ในที่นี้จะกล่าวถึงเฉพาะความหมายของความรู้สึกไม่แน่นอนในความเจ็บป่วยและปัจจัยที่มีอิทธิพล ต่อความรู้สึกไม่แน่นอนในความเจ็บป่วย Mishel,1988
Characteristic of illness theory Ambiguity : concerning the state of illness, Lack of clarity: complexity regarding treatment and the system of care, Lack of information :about the diagnosis and seriousness of the illness, and Unpredictability : course of the disease and prognosis. Mishel,1988
Factors of illness theory Stimuli frame Cognitive capacity Structure provider Mishel,1988
Uncertainty in illness Theory Mishel,1988:225-232
การประยุกต์ใช้ทฤษฎีในงานวิจัยต่างๆ