บทที่ ๘ ทฤษฎีของนอร์ตัน
ทฤษฎีนอร์ตัน (Norton’s theorem) ระหว่างสองขั้วใดๆ ของวงจรไฟฟ้ากระแสตรงสามารถแทนด้วยวงจรสมมูลที่ประกอบด้วย แหล่งจ่ายกระแสและตัวต้านทานที่ต่อขนาน ขั้นตอนการสร้างวงจรสมมูล 1. นำองค์ประกอบของวงจรที่ต่อคร่อมกับวงจรสมมูล นอร์ตันที่ต้องการออก 2. ระบุขั้วของวงจรที่ยังคงเหลือไว้ 2 ขั้ว 3. คำนวณหา RN โดยเริ่มต้นจากการตั้งค่าให้ทุกแหล่ง จ่ายเป็น 0 ด้วยการแทนแหล่งจ่ายแรงดันด้วยการลัดวงจร และแทนแหล่งจ่ายกระแสด้วยการเปิดวงจร วงจรสมมูลนอร์ตัน 4. คำนวณหา IN โดยเริ่มต้นจากการคืนสภาพเดิมของทุกแหล่งจ่ายและหาค่ากระแสลัดวงจรระหว่างขั้ว 5. เขียนวงจรสมมูลนอร์ตันและองค์ประกอบที่ถอดออกนำมาต่อไว้ดังเดิม
ทฤษฎีนอร์ตัน (Norton’s theorem) สามารถใช้ทดแทนกันได้ ตัวอย่างที่ 5 จงหาวงจรสมมูลนอร์ตันของวงจรไฟฟ้าต่อไปนี้
ทฤษฎีนอร์ตัน (Norton’s theorem) วิธีทำ ขั้นตอนที่ 1 และ 2 ขั้นตอนที่ 3
ทฤษฎีนอร์ตัน (Norton’s theorem) ขั้นตอนที่ 4 หา IN โดยการลัดวงจรขั้ว a, b จึงทำให้ R2 ถูกลัดวงจรไปด้วย ดังนั้นกระแส IN จะมีค่าเท่ากับกระแสที่ ไหลผ่าน R1 ขั้นตอนที่ 5 เขียนวงจรนอร์ตัน
ทฤษฎีนอร์ตัน (Norton’s theorem) ตัวอย่างที่ 6 จงหาวงจรสมมูลนอร์ตันของวงจรไฟฟ้าต่อไปนี้ วิธีทำ ขั้นตอนที่ 1 และ 2
ทฤษฎีนอร์ตัน (Norton’s theorem) ขั้นตอนที่ 3 หา RN โดยเปิดวงจรที่แหล่งจ่ายกระแส ทฤษฎีนอร์ตัน (Norton’s theorem) ขั้นตอนที่ 4 หา IN ซึ่งกระแส IN มีค่าเท่ากับกระแสที่ไหลผ่าน R2 โดยการใช้กฎการแบ่งกระแส
ทฤษฎีนอร์ตัน (Norton’s theorem) ขั้นตอนที่ 5 เขียนวงจรนอร์ตัน