เวชศาสตร์ฟื้นฟูสู่การปฏิบัติ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
หลักการออกกำลังกายและการเต้นแอโรบิก
Advertisements

เรียนรู้บริหารจิตและกายให้เข้ากับโครงสร้างร่างกายของแต่ละบุคคล
เรียนรู้บริหารจิตและกายให้เข้ากับโครงสร้างร่างกายของแต่ละบุคคล
โครงการส่งเสริมการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ
การเลิกสูบบุหรี่ด้วยตัวเอง
การออกกำลังกายผู้สูงอายุ(Exercise for the Elderly)
การช่วยฟื้นคืนชีพเบื้องต้นในเด็ก (Basic CPR)
การดูแลสุขภาพวิถีไทย(นวดตัวและกดจุดฝ่าเท้า)
การดูแลสุขภาพวิถีไทย(นวดตัวและกดจุดฝ่าเท้า)
ปวดหลังส่วนล่าง LOW BACK PAIN
ประเมินสภาพของผู้บาดเจ็บ
การปฏิบัติตัวขณะได้รับยาเคมีบำบัด โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่
ยินดีต้อนรับ สู่..ตึกโรคปอด.
คำแนะนำการปฏิบัติตัวสำหรับมารดาก่อนและหลังผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง
แผนการสอนเรื่องปอดอักเสบ
คำแนะนำผู้ป่วย โรคนิ่วในถุงน้ำดี หอผู้ป่วยพิเศษ 2.
แผนการสอนระยะสั้น เรื่อง การออกกำลังข้อนิ้วมือ ( six pack exercise )
งานสุขศึกษา หอผู้ป่วยกุมาร 3
นิ่วในระบบทางเดินปัสสาวะ
โรคเอสแอลอี.
การขูดมดลูก การขูดมดลูก หมายถึง การใส่อุปกรณ์เครื่องมือแพทย์ผ่านทางช่องคลอด และ ปากมดลูกเข้าไปในโพรงมดลูก เพื่อเก็บชิ้นเนื้อส่งตรวจ.
การผ่าตัดก้อนถุงน้ำที่มือ
การดูแลผู้ป่วยโรคปวดหลังส่วนล่าง
การปฏิบัติตนหลังผ่าตัดเปลี่ยน
การฉีดสีเข้าช่องไขสันหลัง
หอผู้ป่วยออร์โธปิดิกส์เด็ก
การปฏิบัติตัวผู้ป่วยหลังผ่าตัดเปลี่ยนไต เมื่อกลับไปอยู่บ้าน
ผู้ป่วยเม็ดเลือดขาวต่ำ
การออกกำลังกายในคนอ้วน
ท่วงท่า อิริยาบถในชีวิตประจำวัน
หลักการและเทคนิคการจัดท่า การเคลื่อนไหวและการฟื้นฟูร่างกาย
หลักการและเทคนิคการจัดท่า การเคลื่อนไหวและการฟื้นฟูร่างกาย
โรคท้องขึ้น (Bloat) เป็นโรคที่พบบ่อยในสัตว์เคี้ยวเอื้อง ซึ่งมี 4 กระเพาะเนื่องจาก กระเพาะที่ 1 (รูเม็น) มีการ สร้างแก๊ส ทำให้เกิดท้องขึ้น โดยกระทันหันและผลิตสาร.
ชุดเครื่องมือเดินเพื่อสุขภาพ
นพ.สมชาย ลี่ทองอิน กองออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ
การควบคุมน้ำหนัก เป็นการรักษาสุขภาพให้แข็งแรง และทำได้ไม่ยาก ถ้าเข้าใจ
บทที่ 9 โรคที่เกิดจากพฤติกรรมสุขภาพ
เบาหวาน ผลิตโดย...กลุ่มงานสุขศึกษา โรงพยาบาลยะลา.
นวัตกรรมเครื่องออกกำลังกายยุคใหม่
บทเรียนเพื่อการศึกษาวิชาสุขศึกษา
การชักและหอบ.
1 ARTHRITIS ความหมาย คือ การอักเสบที่ข้อ กล่าวคือ มีอาการ ปวด บวม แดง ร้อน ที่ข้อนั้นๆ เมื่อเป็นนานเข้าจะทำให้องศาของการเคลื่อนไหวลดลง บิดเบี้ยวหรือผิดรูปจากปกติไป.
คำแนะนำเรื่อง โรค มือ เท้า ปาก สำหรับผู้ปกครอง.
Diabetic Foot แผลเบาหวาน กับ การดูแล ป้องกัน
กายภาพบำบัดในผู้ป่วยปอดอุดกั้นเรื้อรัง(COPD)
การฟื้นฟูผู้ป่วยอัมพาต
กรณีกดจุดระงับหอบหืด ให้ผู้อื่นกดให้
การออกกำลังกายในผู้สูงอายุ
ข้อเสื่อม เรื่องของใคร
สูงวัยไม่ปวดเรื้อรัง
โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
นพ.ธีรวีร์ วีรวรรณ แพทย์เวชศาสตร์ฟื้นฟู ศูนย์ฯ 56 ทับเจริญ สำนักอนามัย
โรคเบาหวาน ภ.
ข้อห้าม ของการตัดปากมดลูก
นิ้วกลางไขว้ทับนิ้วชี้ กดมุมกระดูกขากรรไกรล่างซ้ายขวา เบาๆ
การนวดไทยแบบราชสำนัก
การเตรียมผู้ป่วยสูงอายุก่อนและการดูแลระหว่างการรักษาด้วยไฟฟ้า
Rehabilitation In COPD
ให้ผู้ป่วยเคี้ยวอาหารให้ละเอียดพร้อมกลืน
คนไทยไร้พุง งานสุขศึกษา โรงพยาบาลพะเยา.
อย่า ! ให้คนที่รักต้องจากไปเพราะ...
วัณโรค อยู่ใกล้ตัวคุณ...แค่นี้เอง.
โรคกระเพาะอาหาร Gastritis.
กับการออกกาลังกายเพื่อสุขภาพ
คลายกล้ามเนื้อแนวสันหลัง
การปฏิบัติตัวและการดูแลหลังได้รับบาดเจ็บ ที่ศีรษะระดับเล็กน้อย
วิชา สุขศึกษาและพลศึกษา พ43102
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เวชศาสตร์ฟื้นฟูสู่การปฏิบัติ “21-23 พ.ค.555” ภาควิชาเวชศาสตร์ฟื้นฟู คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล By...นงลักษณ์,จิราภรณ์,ชัญญา,มะลิวัลย์ Powerpoint Templates

1.ฟื้นฟูดูแลผู้ป่วยใน 1.1.ทำอย่างไรให้ผู้ป่วยฟื้นตัวเร็ว ปัญหาที่พบผู้ป่วยที่สูงอายุ มีโรคแทรก การรักษา – บริหารปอด - ป้องเกิดแผลกดทับ - ระวังติดเชื้อทางเดินปัสสาวะ - การฟื้นฟูสภาพ ข้อติด กระตุ้นลุกนั่ง/เดินให้ เร็วที่สุด

1.ฟื้นฟูดูแลผู้ป่วยใน(ต่อ) 1.2.การระบายเสมหะเรื่องที่ควรรู้ “เทขวดซอสมะเขือ” Percussion (การเคาะ) - ใช้อุ้งมือเคาะที่ผนังทรวงอก ข้อห้าม คือ อกช้ำ, Bleed ง่าย, มีเนื้อร้ายเกาะกิน Postural Drainage (การระบาย) Upper Lobes ใช้หลักพิงหน้าเคาะหลังพิงหลังเคาะบนนอนกรนเคาะหน้า - Middle Lobes นอนตะแคงศีรษะต่ำ ยกขาสูง 14 นิ้ว - Lower Lobes นอนคว่ำหรือตะแคงยกขาสูง 18 นิ้ว หรือนอนคว่ำหมอนรอง ใต้ท้อง

1.ฟื้นฟูดูแลผู้ป่วยใน(ต่อ) Vibration (แรงสั่นสะเทือน) กดและสั่นสะเทือนพร้อมกันช่วงหายใจออกที่ทรวงอก Cough (การไอ) - หายใจเข้าลึกๆ กลั้นหายใจ ไอแรงๆ 1 ครั้ง - ท่านั่งกอดหมอนด้านหน้าอก - ท่านอนพิงหลังศีรษะสูง 60 องศา กอดหมอนด้านหน้าอก - กรณีไอเองไม่ได้ ให้ใช้แรงสั่นสะเทือน โดยใช้สองมือกดที่ทรวงอกหรือหน้าท้องใต้ลิ้นปี่ช่วงหายใจออกเพื่อช่วยกระตุ้นให้ไอหรือช่วงที่ไอเพื่อให้ไอได้ดีขึ้น

1.ฟื้นฟูดูแลผู้ป่วยใน(ต่อ) 1.3.กระดูกบาง/กระดูกพรุน...การป้องกันดูแล ปัจจัยเสี่ยง - แก้ไขไม่ได้ เพศหญิง, อายุมากกว่า 65 ปี, ผิวขาว, กรรมพันธุ์, ยากลูโคคอร์ติคอย/กันชัก ต้านการแข็งตัวของเลือด กดภูมิคุ้มกันและยารักษาโรคมะเร็ง - แก้ไขได้ พฤติกรรม เช่น ดื่มสุรา,สูบบุหรี่,ดื่มกาแฟ,น้ำอัดลม ไม่ออกกำลังกาย,ขาดแคลเซี่ยม,น้ำหนักตัวน้อย BMI ต่ำกว่า 19 กก/ตรม,

1.ฟื้นฟูดูแลผู้ป่วยใน(ต่อ) ปัจจัยที่มีผลต่อการดูดซึมแคลเซี่ยม ได้แก่ ดื่มกาแฟปริมาณมาก อาหารมังสาวิรัติ, ยาลดกรดผสมแมกนีเซียม, ยาบำรุงเลือด การออกกำลังกายช่วยเสริมสร้างความแข็งแรงของกระดูก ได้แก่ การลงน้ำหนัก เช่น เดิน วิ่ง ปั่นจักรยาน รำมวยจีน 20-3- นาที ต่อวัน 3-5 ครั้งต่อสัปดาห์

2.ฟื้นฟูดูแลอาการปวด 2.1.ปวดเส้น/กล้าม พยายามหาสาเหตุและรักษาตามสาเหตุ ถ้าไม่พบสาเหตุหรือรักษาที่สาเหตุไม่หายขาด ให้รักษาที่กล้ามเนื้อ โดย ยารับประทาน/แก้ปวด/ต้านอักเสบ/คลายกล้ามเนื้อ, ประคบ อุ่น/ร้อนหรือเย็น, ออกกำลังกายยืดเหยียดกล้ามเนื้อ, นวดกดจุด, ฝังเข็มหรือฉีดยาเข้าบริเวณที่ปวด เช่นยาชา สเตียรอยด์ โบทอกซ์

2.ฟื้นฟูดูแลอาการปวด(ต่อ)

2.ฟื้นฟูดูแลอาการปวด(ต่อ) 2.2.กดจุดหยุดปวด เน้นที่ Trigger Point ซึ่งเป็นกล้ามเนื้อที่ตึงให้คลายตัว ไม่รีบจนกล้ามเนื้อระบมอาจทำให้กล้ามเนื้ออักเสบและปวดมากขึ้นได้

2.ฟื้นฟูดูแลอาการปวด(ต่อ)

2.ฟื้นฟูดูแลอาการปวด(ต่อ) 2.3.ปวดเข่า...เข่าเสื่อม ป้องกันและบรรเทาได้ ปัจจัยเสี่ยง ได้แก่ อายุมากขึ้น, เพศหญิงมากกว่าเพศชาย, ความอ้วน, ได้รับบาดเจ็บหรือใช้งานผิดวิธี อาการและอาการแสดง ได้แก่ ปวดข้อ, ข้อฝืด, การทำงานเสีย มีเสียงในข้อขณะเคลื่อนไหว, องศาการเคลื่อนไหวลดลง, ข้อผิดรูป, กล้ามเนื้อรอบเข่าฝ่อลีบ การรักษาแบ่งเป็น 3 ประเภทคือใช้ยา, ผ่าตัดและไม่ใช้ยา ได้แก่ ให้ความรู้, บรรเทาอาการปวด, คงสภาพหรือฟื้นฟูสภาพ การทำงานของข้อ, ให้ผู้ป่วยมีคุณภาพชีวิตที่ดี, ฟื้นฟูสภาพ จิตใจของผู้ป่วย

2.ฟื้นฟูดูแลอาการปวด(ต่อ)

2.ฟื้นฟูดูแลอาการปวด(ต่อ) 2.4.เคล็ดลับการรักษาอาการปวดหลัง แนะนำท่าที่เหมาะสมในการทำงาน เช่น ยกของ นั่ง เดิน ยืน จัดเรียงของที่สูง แนะนำการออกกำลังกายลดปวดด้วยการยืดเหยียดกล้ามเนื้อ รักษาด้วยยา, ความร้อน/เย็น, นวด, ยึดตรึงกล้ามเนื้อ