สูงวัยไม่ปวดเรื้อรัง อาจารย์แพทย์หญิงอรพิชญา ไกรฤทธิ์ หน่วยเวชศาสตร์ผู้สูงอายุ ภาควิชาอายุรศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี ทหาวิทยาลัยมหิดล
ผู้สูงอายุมีอาการปวดมากแค่ไหน มีรายงาน ตั้งแต่ 36-88% 20% ของผู้สูงอายุต้องกินยาแก้ปวด หลายครั้งต่อสัปดาห์ และ 2 ใน 3 ต้องใช้ ยาแก้ปวดชนิดที่ต้องสั่งโดยแพทย์
สาเหตุของอาการปวดที่พบบ่อยในผู้สูงอายุ ผู้สูงอายุมีปวดที่บริเวณข้อต่อต่างๆได้ บ่อยที่สุด สาเหตุอาการปวดที่สำคัญมาจากโรคทาง กล้ามเนื่อและกระดูกมากที่สุด
อาการปวดเกิดได้อย่างไร อาการปวดเฉียบพลันมักจะเกิดจากการทำลายหรือ บาดเจ็บของเนื้อเยื่อแบบทันทีทันใด เช่น มีดบาด แผล ไฟไหม้ ไส้ติ่งอักเสบ อาการปวดเรื้องรังมักเกิดจากหลายปัจจัยร่วมกัน การทำลายของเนื้อเยื่อเป็นเวลานาน เช่น ข้อเสื่อม การทำลายของปลายประสาท เช่น ผู้ป่วยเบาหวาน สภาพจิตใจของผู้สูงอายุ
ชนิดของอาการปวดตามระยะเวลาที่ปวด อาการปวดแบบเฉียบพลัน ระยะเวลา<1 เดือน อาการปวดแบบเรื้อรัง
ชนิดของอาการปวดตามสาเหตุของอาการปวด อาการปวดจากการกระตุ้นตัวรับความเจ็บปวด ไฟไหม้, การติดเชื้อ, การอักเสบ, การขาดเลือด อาการปวดจากเส้นประสาท เส้นประสาทถูกกดทับ, ผู้ป่วยที่โดนตัดขา, อาการปวดหลังเป็นงูสวัด, อาการปวดปลายมือและเท้าในผู้ป่วยเบาหวาน อาการปวดจากหลายพยาธิสภาพร่วมกัน อาการปวดศรีษะจากไมเกรนหรือกล้ามเนื้อรอบศีรษะหดรัดตัว อาการปวดจากสภาพจิตใจโดยไม่มีปัญหาทางร่างกาย
อาการปวดในผู้สูงอายุทำให้เกิดปัญหาอะไรบ้าง นอนไม่หลับ เบื่ออาหาร ซึมเศร้า น้ำหนักลด เกิดภาวะพึ่งพิงสูง ต้องใช้ยาหลายชนิด เสี่ยงกับการเกิดผลเสียจากการใช้ยา สุขภาพจิตไม่ดี ซึมเศร้า หงุดหงิด
รู้ได้อย่างไรว่าปวดมากน้อยแค่ไหน
การรักษาอาการปวดในผู้สูงอายุ เป้าหมายในการรักษา ความคาดหวังของผู้สูงอายุต่อการรักษา ประโยชน์ของการรักษา ความเสี่ยงของการรักษา
การรักษาอาการปวดในผู้สูงอายุ การรักษาแบบไม่ใช้ยา การรักษาแบบใช้ยา
การรักษาแบบไม่ใช้ยา เพื่อรักษาอาการปวดในผู้สูงอายุ การออกกำลังกาย/การทำกายภาพบำบัด การใช้ความร้อน/ความเย็น การนวดแผนต่างๆ การฝังเข็ม การนั่งสมาธิ การใช้สมุนไพร การผ่าตัด
การใช้ยาแก้ปวดในผู้สูงอายุ ผู้สูงอายุมีแนวโน้มที่จะเกิดผลข้างเคียงจากการใช้ ยาแก้ปวดมากกว่าคนในวัยหนุ่มสาว เพราะ อายุที่มากขึ้น ร่างกายมีพลังงานสำรองลดลง มีโรคประจำตัวหลายโรค ใช้ยาหลายชนิด
กลุ่มยาที่ใช้รักษาอาการปวดในผู้สูงอายุ ยากลุ่ม Acetaminophen (พาราเซตามอล, ไทลินอล) ยากลุ่มบรรเทาปวดและลดการอักเสบ NSAIDs Cox-2 Inhibitors ยาแก้ปวดกลุ่มฝิ่น (มอร์ฟีน)
ข้อควรระวังของ การใช้ยากลุ่มบรรเทาปวดและลดการอักเสบ ระคายกระเพาะ/เลือดออกในทางเดินอาหาร มีผลกับการทำงานของไต บวมน้ำ ความดันโลหิตสูง เลือดหยุดยาก ซึม/สับสน
ข้อควรระวังของ การใช้ยาแก้ปวดกลุ่มฝิ่น ท้องผูก คลื่นไส้/อาเจียน ง่วง/ซึม/สับสน เสี่ยงกับการพลัดตกหกล้ม
ยากลุ่มอื่นที่มีผลช่วยลดอาการปวด ยาต้านเศร้า ยากันชัก - Gabapentin Tramadol ยาทาลดอาการปวด เช่น Capsaicin
ขอบคุณค่ะ