บทที่ 2 อินติเกรเตอร์ และ ดิฟเฟอเรนติเอเตอร์.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
อุปกรณ์โฟโต้ (Photo device)
Advertisements

ไฟฟ้ากระแสสลับ Alternating Current
คอยล์ ( coil ) สมพล พัทจารี วิศวกรรมไฟฟ้า.
พื้นฐานวงจรขยายแรงดัน
บทที่ 8 Power Amplifiers
วงจรสวิตช์ประจุ(Switched Capacitor)
วงจรลบแรงดัน (1).
อัตราสวูล์กับแบนด์วิทธ์เต็มกำลัง
ผลกระทบของแรงดันอินพุตออฟเซ็ตต่อวงจรขยาย
EEET0485 Digital Signal Processing Asst.Prof. Peerapol Yuvapoositanon DSP10-1 DSP 10 Multirate Signal Processing การประมวลผลแบบหลายอัตราสุ่ม ดร. พีระพล.
แนะนำอิเล็กทรอนิกส์กำลัง (Power Electronics)
4.6 RTL (Resistor-Transistor Logic) Inverter
Biomedical Electronics Biomedical Amplifiers
วงจรออปแอมป์ไม่เชิงเส้นและวงจรกำเนิดสัญญาณ
5.5 การใช้ MOSFET ในการขยายสัญญาณ
Guitar tuner นำเสนอโดย นาย สันติ พรหมดวงศรี รหัส
โดย นายชญาน์ แหวนหล่อ นายธนวัฒน์ วัฒนราช
การแกว่ง ตอนที่ 2.
EDGE GPRS.
DSP 10 Multirate Signal Processing การประมวลผลแบบหลายอัตราสุ่ม
EEET0770 Digital Filter Design Centre of Electronic Systems and Digital Signal Processing การออกแบบตัวกรองดิจิตอล Digital Filters Design Chapter 3 Digital.
Centre of Electronic Systems and Digital Signal Processing EEET0770 Digital Filter Design การออกแบบตัวกรองดิจิตอล Digital Filters Design Chapter 6 Multirate.
DSP 10 Multirate Signal Processing การประมวลผลแบบหลายอัตราสุ่ม
ทรานซิสเตอร์แบบไบโพลาร์ (Bipolor Transistor)
Ultrasonic sensor.
ลำโพง (Loud Speaker).
ขนาดและคลื่นแผ่นดินไหว Magnitude and Seismogram
CHAPTER 11 Two-port Networks
Second-Order Circuits
คุณสมบัติการหารลงตัว
วงจรขยายความถี่สูง และ วงจรขยายกำลังความถี่สูง
สัปดาห์ที่ 14 ผลตอบสนองต่อความถี่ Frequency Response (Part II)
กำลังไฟฟ้าที่สภาวะคงตัวของวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ
กำลังไฟฟ้าที่สภาวะคงตัวของวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ
Asst.Prof.Wipavan Narksarp Siam University
สัปดาห์ที่ 7 การแปลงลาปลาซ The Laplace Transform.
สัปดาห์ที่ 13 ผลตอบสนองต่อความถี่ Frequency Response (Part I)
ผศ.วิภาวัลย์ นาคทรัพย์ ภาควิศวกรรมไฟฟ้า มหาวิทยาลัยสยาม
สัปดาห์ที่ 15 โครงข่ายสองพอร์ท Two-Port Networks (Part I)
สัปดาห์ที่ 10 (Part II) การวิเคราะห์วงจรในโดเมน s
Electrical Circuit Analysis 2
Sinusiodal Steady-State Analysis
การวิเคราะห์วงจรในโดเมน s Circuit Analysis in The s-Domain
การวิเคราะห์วงจรโดยใช้ฟูริเยร์
สัปดาห์ที่ 5 ระบบไฟฟ้าสามเฟส Three Phase System.
ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า มหาวิทยาลัยสยาม
การวิเคราะห์วงจรโดยใช้ฟูริเยร์
ผศ.วิภาวัลย์ นาคทรัพย์ ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า มหาวิทยาลัยสยาม
Asst.Prof.Wipavan Narksarp Siam University
Asst.Prof. Wipavan Narksarp Siam University
หน่วยที่ 9 Am Modulation.
บทที่ 1 สัญญาณไฟฟ้าชนิดต่างๆ
หน่วยที่ 5 เครื่องส่งวิทยุ.
หน่วยที่ 3 คุณลักษณะสมบัติของ RLC
หน่วยที่ 4 วงจรกรองความถี่
หน่วยที่ 6 วงจร TUNE.
DSP 8 FIR Filter Design การออกแบบตัวกรองดิจิตอลแบบ FIR
กสิณ ประกอบไวทยกิจ ห้องวิจัยการออกแบบวงจรด้วยระบบคอมพิวเตอร์(CANDLE)
กฤษ เฉยไสย วิชัย ประเสริฐเจริญสุข อังคณา เจริญมี
บทที่ 5 เครื่องกําเนิดไฟฟากระแสสลับ (AC Generator)
ซ่อมเสียง.
Electronic Circuits Design
บทที่ ๘ ทฤษฎีของนอร์ตัน
บทที่ 1 ดิจิตอลลอจิกและ โครงสร้างคอมพิวเตอร์
1 การกำจัดรีโซแนนซ์การบิดด้วยตัว ชดเชยจากวิธีแผนผังค่าสัมประสิทธิ์ (CDM) รูปที่ 4.1 ระบบตามโครงสร้าง CDM.
ส่วนประกอบของวงจรไฟฟ้า
Electronic Circuits Design
Ch 8 Simple RC and RL Circuits
บทที่ 2 สาระการเรียนรู้ 1. วงจร อาร์ ซี อินติเกรเตอร์ 2. เวลาคงที่
วงจรอาร์ ซี ดิฟเฟอเรนติเอเตอร์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 2 อินติเกรเตอร์ และ ดิฟเฟอเรนติเอเตอร์

เนื้อหาประจำบท 2.1 วงจรกรองความถี่ต่ำผ่านแบบ RC

2.1 วงจรกรองความถี่ต่ำผ่านแบบ RC (RC Low - Pass Filter Circuit) เป็นวงจรกรองความถี่ต่ำผ่านแบบเบื้องต้น อาศัยคุณสมบัติการทำงานของ R และ C ในการกำหนดย่านความถี่ต่ำผ่านออกเอาต์พุตที่ย่านความถี่หนึ่ง ถ้าความถี่ที่ป้อนเข้ามา มีค่าความถี่สูงกว่าความถี่ที่กำหนด วงจรจะไม่ยอมให้ค่าความถี่นั้นผ่านออกเอาต์พุต ความถี่ที่ถูกกำหนดไม่ให้ผ่านเรียกว่า ความถี่คัตออฟ (Cut off Frequency)

รูป วงจรกรองความถี่ต่ำผ่านแบบ RC

Av ย่านความถี่ผ่าน ย่านความถี่ไม่ผ่าน จุดคัตออฟ f ความถี่คัตออฟ (FCH) 1.0 0.707 จุดคัตออฟ 0.01 f ความถี่คัตออฟ (FCH)

ตัวอย่างที่ 2.1 จากรูปจงหาค่าความถี่คัตออฟของวงจร = 4.7 KΩ i 0.002μF

วิธีทำ จาก fCH = 1 2πRC เมื่อ R = 4.7 KHz , C = 0.002μF และ π = 3.14 2 x 3.14 x 4.7 x10 x 0.002 x 10 = 1 0.06 x 10 = 16.67 x 10 fCH = 16.67 KHz 3 -6 -3 3

ตัวอย่างที่ 2.2 จากตัวอย่างที่ 2.1 ถ้าสัญญาณ Ei มีความถี่ใช้ งาน 4 KHz จงหาอัตราขยายแรงดันของวงจร วิธีทำ จาก AVL = 1 √1 + (fu / fCH) เมื่อ fu = 4 KHz , fCH = 16.67 KHz แทนค่า AVL = 1 √1 + ( 4 x 10 ) (16.67 x 10 ) AVL = 1 √1 + (0.24 ) 2 3 2 3 2

AVL = 1 √1 + 0.0576 √ 1.0576 1.028 AVL = 0.972

แบบทดสอบที่ 2.1 จากรูปจงหาค่าความถี่คัตออฟของวงจร และถ้าสัญญาณ Ei มีความถี่ใช้งาน 15 KHz จงหาอัตราขยาย แรงดันของวงจร = 6.8 KΩ i 0.001μF

2.2 วงจร RC อินติเกรเตอร์ รูป วงจร RC อินติเกรเตอร์

การเปลี่ยนแปลงสัญญาณเอาต์พุตตามค่าเวลาคงที่ของวงจรแบ่งได้ดังนี้ 1.เวลาคงที่น้อย (Short Time Constant) เป็นเวลาคงที่ ที่มีค่าช่วงเวลาพัลส์เป็น 10 เท่าหรือมากกว่า 10 เท่าของช่วงเวลาคงที่ของวงจร RC อินติเกรเตอร์ 2. เวลาคงที่ปานกลาง (Medium Time Constant) เป็นเวลาที่ ที่มีค่าช่วงเวลาพัลส์อยู่ระหว่าง 1/10 เท่า ถึง 10 เท่า ของช่วงเวลาคงที่ของวงจร RC อินติเกรเตอร์ 3. เวลาคงที่มาก (Long time Constant) เป็นเวลาคงที่ ที่มีค่าช่วงเวลาพัลส์ไม่เกิน 1/10 เท่า หรือน้อยกว่า 1/10 เท่า ของช่วงเวลาคงที่ของวงจร RC อินติเกรเตอร์

2.3 วงจรกรองความถี่สูงผ่านแบบ RC › (RC Hight - Pass Filter Circuit) เป็นวงจร กรองความถี่สูงผ่านแบบเบื้องต้น ที่อาศัยคุณสมบัติ ของ R และ C ในการกำหนดย่านความถี่สูงผ่านออก เอาต์พุตที่ย่านความถี่หนึ่ง › ถ้าความถี่ที่ป้อนเข้ามา ต่ำกว่าระดับความถี่ที่กำหนด วงจรจะไม่ยอมให้ความถี่นั้น ผ่านออกเอาต์พุต › ความถี่ที่ถูกกำหนดไม่ให้ผ่านนี้เรียกว่า “ความถี่คัตออฟ”

รูป วงจรกรองความถี่สูงผ่านแบบ RC

Av ย่านความถี่ไม่ผ่าน ย่านความถี่ผ่าน จุดคัตออฟ f ความถี่คัตออฟ (FCL) 1.0 0.707 จุดคัตออฟ 0.01 f ความถี่คัตออฟ (FCL)

แบบทดสอบที่ 2.2 จากรูปจงหาค่าความถี่คัตออฟของวงจร =0.056μF i 33 KΩ

แบบทดสอบที่ 2.3 จากแบบทดสอบที่ 2.2 ถ้าสัญญาณ Ei มีความถี่ใช้งาน 450 Hz จงหาอัตราขยายแรงดันของวงจร แบบทดสอบที่ 2.4 จากรูปจงหาค่าความถี่คัตออฟของวงจร และถ้าสัญญาณ Ei มีความถี่ใช้งาน 400 Hz จงหาอัตรา ขยายแรงดันของวงจร =0.033μF 47 KΩ

2.4 วงจร RC ดิฟเฟอเรนติเอเตอร์ (RC Differentiator) วงจรที่ประกอบด้วย R และC ใช้งานเหมือนวงจรกรองความถี่สูงผ่านแบบ RC นำไปใช้กับสัญญาณไฟฟ้าเฉพาะรูปคลื่นสี่เหลี่ยม วงจรสามารถทำให้คลื่นสี่เหลี่ยมผ่านออกเอาต์พุตเปลี่ยนรูปไปเป็นสัญญาณคลื่นดิฟเฟอเรนติเอตจึงเรียกวงจรนี้ว่า วงจร RC ดิฟเฟอเรนติเอเตอร์

รูป วงจร RC ดิฟเฟอเรนติเอเตอร์

การตอบสนองสัญญาณขั้นบันไดของวงจร RC ดิฟเฟอเรนติเอเตอร์