การให้วัคซีนพิษสุนัขบ้าในเวชปฏิบัติ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โดย แพทย์หญิงมยุรา เทพเกษตรกุล อายุรแพทย์เฉพาะทางโรคเบาหวานและระบบต่อมไร้ท่อ คลินิกเบาหวาน ร. พ. กรุงเทพพัทยา.
Advertisements

Anaphylaxis สมพงษ์ ชลคีรี พบ..
ภูมิคุ้มกันของร่างกาย
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับเอดส์
โรคพิษสุนัขบ้า เป็นโรคที่พบได้ในสัตว์เลี้ยงลูกด้วย น้ำนมทุกชนิดและติดต่อถึงคน ประเทศไทยมีคนป่วยตายเป็นอันดับต้นๆ 3 รายแรกของโลก โรคพิษสุนัขบ้า.
วิตามินบี 12 (Cobalamin)
โรคที่เกิดจากสารเคมีที่เป็นพิษในอาหาร
โรคพยาธิ จัดทำโดย โรคพยาธิ ด.ช.พัสกร มะลิแก้ว เลขที่26
โรคอาหารเป็นพิษ เสนอ อ. สุมน คณานิตย์ จัดทำโดย
การปฏิสนธิ-ท้อง9เดือน
รายวิชา สุขศึกษา รหัสวิชา พ 31101
โรคทูลารีเมีย (Tularemial)
แนวทางการใช้ยาปฎิชีวนะ
หอผู้ป่วยทารกแรกเกิด 2
การปฏิบัติตัวขณะได้รับยาเคมีบำบัด โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่
ยินดีต้อนรับ สู่..ตึกโรคปอด.
โรคเอสแอลอี.
การขูดมดลูก การขูดมดลูก หมายถึง การใส่อุปกรณ์เครื่องมือแพทย์ผ่านทางช่องคลอด และ ปากมดลูกเข้าไปในโพรงมดลูก เพื่อเก็บชิ้นเนื้อส่งตรวจ.
การผ่าตัดก้อนถุงน้ำที่มือ
หอผู้ป่วยออร์โธปิดิกส์เด็ก
โรคพยาธิในเลือด โรคพยาธิในเลือดส่วนใหญ่จะหมายความถึงเชื้อโปรโตซัวที่อยู่ในเลือด ไม่ได้รวมถึงหนอนพยาธิที่อยู่ในเส้นเลือด เช่นพยาธิใบไม้เลือด พยาธิในเลือดมักทำให้เกิดโรคที่มีความร้ายแรงกว่าพยาธิในทางเดินอาหารมาก.
โรคนิวคาสเซิล (Newcastle disease : ND)
โรคขาดอาหารและ/ พยาธิ
กลุ่มอาการท้องเสียในลูกโค (Calf scour)
วัคซีน ( vaccine ) วัคซีนหมายถึง immunogen ที่เป็นอนุภาคหรือเซลล์ของเชื้อโรคซึ่งที่ทำให้ตายหรือมีความรุนแรงของโรคลดน้อยลงแล้วนำเข้าสู่ร่างกายมนุษย์หรือสัตว์เพื่อกระตุ้นให้สร้าง.
โรคไข้สมองอับเสบเจอี Japanese encephalitis เสนอ อาจารย์ ดอเล๊าะ ดาลี จัดทำโดย น.ส.เนตรนภา ชั่งประดิษฐ รหัส กลุ่มพื้นฐานที่ 12.
เชื้อ Aeromonas hydrophila ที่ก่อโรคในปลาน้ำจืด
เครื่องมือที่ใช้ในการดำเนินงาน
Myasthenia Gravis.
เลือดออก ไข้ haemorrhagic fever โรคไข้เลือดออกคืออะไร
โรคคอตีบ (Diphtheria)
แบบบันทึกประกอบการวินิจฉัยและการรักษา โรคท้องร่วงเฉียบพลัน
โรคที่เกิดจากฮอร์โมนผิดปกติ
โรคที่เกิดจากความผิดปกติของ Hormone
ภาวะตัวเหลืองในทารกแรกเกิด
ในการสอบสวนโรคกลุ่มต่าง ๆ
โดย โรงพยาบาลร้องกวาง
โรคมือปากเท้าเปื่อย (Hand foot mouth syndrome)
โรคอุบัติใหม่ – อุบัติซ้ำ (Emerging Disease – Re-Emerging Disease)
โรคไตในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
การใช้สารเคมี สมาคมอารักขาพืชไทย ได้ถือกำเนิดขึ้นเมื่อปี พ.ศ ใช้ชื่อในขณะนั้นว่า “ สมาคม ผู้ประกอบธุรกิจสารเคมีกำจัดศัตรูพืช : ส.ธ.ก. ( Thai Pesticide.
Immunity against viral infection ดร. ยิ่งมณี ตระกูลพัว.
โรคเบาหวาน เบาหวาน คือภาวะที่ร่างกายมีระดับน้ำตาลในเลือดสูงกว่าปกติ เนื่องมาจากร่างกายไม่สามารถนำน้ำตาลในเลือดไปใช้ได้ตามปกติ ซึ่งเกิดจากความผิดปกติของต่อมไร้ท่อที่ตับอ่อนปล่อยฮอร์โมนที่เรียกว่า.
คำแนะนำเรื่อง โรค มือ เท้า ปาก สำหรับผู้ปกครอง.
Diabetic Foot แผลเบาหวาน กับ การดูแล ป้องกัน
โรคติดเชื้อไวรัสไข้หวัดใหญ่
ควรเริ่มตรวจแป๊บสเมียร์เมื่อใด ใครบ้างที่ควรตรวจแป๊บสเมียร์
โรคติดต่อทางพันธุกรรม
โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
ความคงตัวของยาฉีดหลังผสม / วิธีบริหารยา และสารละลายเจือจางที่เหมาะสม
โรคเบาหวาน ภ.
ข้อห้าม ของการตัดปากมดลูก
DIPHTHERIA AND TETANUS VACCINE ADSORBED FOR ADULT AND ADOLESCENTS
ว่านหางจระเข้ ฟ้าทะลายโจร เสลดพังพอน
Tonsillits Pharynngitis
Nipah virus.
 “ เชื้อโรค ” หมายถึง จุลินทรีย์ซึ่งสามารถก่อให้เกิดการติด เชื้อหรือโรคติดเชื้อได้ เช่น ไวรัสแบคทีเรีย รา โปรโตซัว ริคเก็ตเชีย และหนอนพยาธิ  “ เชื้อโรค.
โรคภัยไข้เจ็บในสุนัข
การดูแลสุขภาพกาย กลุ่มงานระบาดวิทยา.
อย่า ! ให้คนที่รักต้องจากไปเพราะ...
สถานการณ์และแนวโน้มการระบาด มาตรการและแนวทางการดำเนินงาน
การสร้างเสริม ภูมิคุ้มกันโรค
โรคกระเพาะอาหาร Gastritis.
ไข้หวัดใหญ่ (Flu 2009) ปัจจุบัน การระบาดของโรคไข้หวัดใหญ่สายพันธ์ใหม่ 2009 กำลังแพร่ระบาดไปทั่วประเทศ และพบผู้เสียชีวิต จากโรคดังกล่าวจำนวนหนึ่ง การระบาดภายในประเทศระยะแรก.
 “ เชื้อโรค ” หมายถึง จุลินทรีย์ซึ่งสามารถก่อให้เกิดการติด เชื้อหรือโรคติดเชื้อได้ เช่น ไวรัสแบคทีเรีย รา โปรโตซัว ริคเก็ตเชีย และหนอนพยาธิ  “ เชื้อโรค.
โรคเบาหวาน เป็นชื่อของกลุ่มอาการของโรค ที่ร่างกายไม่สามารถใช้น้ำตาลได้
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การให้วัคซีนพิษสุนัขบ้าในเวชปฏิบัติ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่6 ขอนแก่น

ระบาดวิทยาโรคพิษสุนัขบ้า การติดเชื้อส่วนใหญ่เกิดจากการสัมผัสเชื้อปนเปื้อน ในนำ้ลายสัตว์ผ่านบาดแผลสัตว์กัด ประเทศตะวันตกมักเกิดจากการถูกสัตว์ป่า ค้างคาว กัด

ประเทศไทยมักเกิดจากสุนัขกัด การติดเชื้อวิธีอื่น เช่น การปลูกถ่ายอวัยวะ ทั่วโลกมีการเสียชีวิตปีละ 30,000 รายทุกปี ประเทศไทยมีผู้เสียชีวิตประมาณ 30-70รายต่อปี ผู้ป่วยส่วนใหญ่มักเป็นเด็ก ( ร้อยละ 40)

ผู้ที่เสี่ยงต่อการสัมผัสโรค สัตวแพทย์ ผู้ดูแลสัตว์ เด็ก บุรุษไปรษณีย์ ผู้ที่ไม่ได้รับการดูแลบาดแผลอย่างถูกต้องและ ไม่ได้รับวัคซีน

ผู้สัมผัสโรคไม่จำเป็นต้องป่วยเป็นโรคทุกราย พบร้อยละ 35-57 ขึ้นกับปัจจัยคือ ตำแหน่งบาดแผล บริเวณหน้า ศรีษะ มือ บริเวณ ที่มีเส้นประสาทมาก ลักษณะบาดแผล ขนาดใหญ่มีเลือดออกจะมี โอกาสสูงกว่าแผลถลอก

สาเหตุ 6 ใน 7serotypes พบในค้างคาว การเกิดโรคในคนมักพบจาก serotypes 1 เชื้อ Rabies virus เป็น RNA virus อยู่ใน Genus Lyssavirus , Family rhabdoviruses มี 7serotypes 6 ใน 7serotypes พบในค้างคาว การเกิดโรคในคนมักพบจาก serotypes 1

พยาธิกำเนิดและพยาธิสภาพ เมื่อร่างกายได้รับเชื้อไวรัสผ่านบาดแผลหรือเยื่อบุจะ เพิ่มจำนวนที่บริเวณกล้ามเนื้อรอบบาดแผล หลังจากนั้นเข้าสู่ระบบประสาทผ่านทาง neuromuscular junction และเคลื่อนที่ตามใยประสาท ในอัตรา 8-20 มม.ต่อวัน เมื่อเดินทางถึง dorsal root ganglia จะเพิ่มจำนวนอีก และเข้าสู่ระบบประสาทส่วนปลายหรือสู่ระบบประสาท ส่วนกลาง ระยะท้ายเข้าสู่ระบบประสาทอัตโนมัติ ไปสู่อวัยวะ ต่างๆของร่างกาย เช่น ต่อมนำ้ลาย หัวใจ ทางเดิน อาหาร

ลักษณะทางคลินิก ระยะฟักตัว : ตั้งแต่ 5-6 วันจนถึง หลายปี โดยทั่วไปจะ ปรากฏอาการภายใน 3 เดือน ประมาณร้อยละ 1-7 จะปรากฏอาการหลัง 1 ปี ระยะฟักตัวที่สั้นเชื่อว่าเกิดจากไวรัสเข้าสู่ระบบ ประสาทโดยตรงไม่แบ่งตัวที่บริเวณบาดแผล ซึ่งพบได้ บ่อยกรณีมีการสัมผัสโรครุนแรงที่บริเวณใบหน้าหรือ ศรีษะ

อาการของผู้ป่วย 1 ระยะอาการนำ : ไข้ อ่อนเพลีย ไม่จำเพาะ กินเวลา ประมาณ 2-10 วัน อาจมีอาการระบบทางเดินอาหาร ทางเดินหายใจ เช่น ไอ ท้องเสีย ปวด คัน ชา บริเวณที่ สัมผัสโรค 2 ระยะอาการทางระบบประสาท : มี 2 ลักษณะคือแบบ encephalitic rabies (มีอาการกลัวนำ้ กลัวลม )และ paralytic rabies (มักพบในกรณีถูกค้างคาวกัด) 3 ระยะหมดสติ : (coma )

การดูแลรักษาภายหลังสัมผัสโรคพิษสุนัขบ้า ล้างบาดแผลด้วยนำ้และสบู่เพื่อ ลดจำนวนไวรัสที่บาดแผลใส่นำ้ยา ฆ่าเชื้อ เช่น povidone iodine พิจารณาให้วัคซีนป้องกันโรค ( active immunization ) ร่วมกับการให้ อิมมูโนโกลบูลินตามแนวทาง

ประเภทการสัมผัสกรณีสงสัย ระดับ ประเภทการสัมผัสกรณีสงสัย ข้อแนะนำ 1 - ถูกต้องตัว ให้อาหาร - เลียที่ผิวหนังปกติ ไม่ต้องฉีดวัคซีน 2 -ถูกงับเป็นรอยชำ้ -ถูกข่วนถลอก/มีเลือดซิบหรือไม่มีเลือดออก -เลียบนผิวที่มีบาดแผล ฉีดวัคซีนทันที 3 - ถูกกัด/ข่วนเลือดออกชัดเจน - ถูกเยื่อบุเช่น ตา ปาก -ค้างคาวกัด/ข่วน -มีแผลที่ผิวหนังและสัมผัสสารคัดหลั่งจากร่างกายสัตว์ -รับประทานผลิตภัณฑ์ดิบจากสัตว์ที่สงสัยว่าป่วยเป็นโรค ฉีดวัคซีนและ RIG

การให้วัคซีน ในอดีต มีการใช้วัคซีนซึ่งได้มาจากการเพาะเชื้อใน สมองหนู แต่ให้ผลการป้องกันโรคไม่ดีและมีผลข้างเคียง มาก ปัจจุบันในประเทศไทยได้เลิกใช้เเล้ว วัคซีนที่มีขาย ในประเทศไทยได้แก่ Purified Chick Embryo Cell Rabies Vaccine( PCECV) ขนาด 1 มิลลิลิตร Purified Vero cell Rabies Vaccine ( PVRV)ขนาด 0.5 มิลลิลิตร Purified Duck Embryo Cell Rabies Vaccine (PDEV)ขนาด 1 มิลลิลิตร Human Diploid Cell Rabies Vaccine (HDCV)ขนาด 1 มิลลิลิตร

ประเทศไทยแนะนำการใช้วัคซีน 2สูตร การฉีดเข้ากล้ามแบบมาตรฐาน (IM ) 1-1-1-1-1 Day 0-3-7-14-28 หรือ30 การฉีดเข้าในผิวหนัง(ID ) 2-2-2-0-1-1 2-2-2-0-2-0 Day 0-3-7-14-28 หรือ30-90

ขนาดที่ใช้ การฉีดเข้ากล้ามขนาด 0.5 หรือ 1 ซีซี แล้วแต่ชนิด วัคซีน 1 หลอด เมื่อละลายแล้ว ฉีดเข้ากล้ามเนื้อต้น แขน หรือต้นขาในเด็กเล็ก ห้ามฉีดเข้าสะโพกเพราะ ภูมิคุ้มกันเกิดขึ้นไม่ดี การฉีดเข้าในผิวหนังใช้ปริมาณ 0.1 ซีซี การฉีดเข้าผิวหนัง 8 จุด ไม่แนะนำให้ใช้ในประเทศ ไทย

ไม่ควรเปลี่ยนวิธีการฉีดสลับไปมา ควรอธิบายกำหนดการรับวัคซีนตามนัดแก่ผู้ป่วย/ผู้ ปกครอง กรณีตั้งครรภ์แล้วจำเป็นต้องฉีด ยังไม่มีรายงาน ความผิดปกติของทารก

การให้ RIG ที่มีความเสี่ยงระดับ 3 ขึ้นไปควรได้ RIG เซรุ่มที่ทำจากม้า ขนาดที่ใช้ 40 U/KG (Equine Rabies Immunoglobulin , ERIG) เซรุ่มที่ทำจากคน ขนาดที่ใช้ 20 U/KG (Human Rabies Immunoglobulin, HRIG ) ฉีดรอบบาดแผลให้มากที่สุด ที่เหลือฉีดเข้ากล้าม บาดแผลที่ตา ให้หยอดบริเวณแผลที่ตา การให้ RIG

HRIG โดยทั่วไปไม่ต้องทำการทดสอบก่อนฉีด แต่มี ราคาแพงและทำจากเลือดคน ERIG ทำจากเลือดม้า พบอาการแพ้ได้ จึงต้องทำการ ทดสอบก่อน เจือจาง ERIG 1:100 ด้วย NSS แล้วฉีด ERIG ที่ เจือจาง 0.02 มิลลิลิตร เข้าในผิวหนังจนเกิดรอยนูน 3 มม. ฉีดNSS อีกข้างเปรียบเทียบ รอ 15-20 นาที ถ้าบริเวณที่ฉีด ERIG มีรอยนูน บวมแดงขนาด 6 มม ขึ้นไปและมีรอยแดง โดยปฏิกิริยา มากกว่าบริเวณที่ฉีดนำ้เกลือให้แปลผลบวก

แนะนำให้ฉีด RIG เร็วที่สุดตามข้อบ่งชี้ แต่ในกรณีที่ฉีดวัคซีนไปก่อนนานเกิน 7 วัน ไม่แนะนำให้ฉีด RIG เนื่องจากRIG อาจ รบกวนการสร้างภูมิคุ้มกันจากวัคซีน

การให้การรักษาภายหลังเคยได้รับวัคซีนมาก่อน ผู้ที่เคยได้รับวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าชนิด เซลล์เพาะเลี้ยงหรือไข่เป็ดฟักบริสุทธิ์ครบอย่าง น้อย 3 เข็ม เมื่อมีการสัมผัสโรคพิษสุนัขบ้าและ จำเป็นต้องรับการรักษา เช่น บาดแผลระดับ 2 หรือ3 ให้การรักษาโดยการฉีดกระตุ้น ไม่ จำเป็นต้องให้ RIG ผู้ที่ได้รับวัคซีนจากสมองสัตว์ให้ทำการรักษา เหมือนไม่เคยได้รับวัคซีนมาก่อน

การให้การรักษาภายหลังเคยได้รับวัคซีนมาก่อน กรณีเคยได้รับเข็มสุดท้ายมาภายใน6 เดือน ฉีดเข็มกระตุ้น1 เข็มโดยการฉีดเข้ากล้าม 1 โด๊ส หรือ เข้าในผิวหนังบริเวณต้นแขน 1จุด ใน Day 0 กรณีเคยได้รับเข็มสุดท้ายมามากกว่า 6 เดือน ฉีดเข็มกระตุ้น 2เข็มโดยการฉีดเข้ากล้าม 1 โด๊ส หรือ เข้าในผิวหนังบริเวณต้นแขน 1จุด ใน Day 0และ Day3

Thank you