แบบบันทึกประกอบการวินิจฉัยและการรักษา โรคท้องร่วงเฉียบพลัน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โดย แพทย์หญิงมยุรา เทพเกษตรกุล อายุรแพทย์เฉพาะทางโรคเบาหวานและระบบต่อมไร้ท่อ คลินิกเบาหวาน ร. พ. กรุงเทพพัทยา.
Advertisements

Anaphylaxis สมพงษ์ ชลคีรี พบ..
ให้พบแพทย์ทันที กลุ่มเสี่ยงต่อโรครุนแรง ได้แก่เด็กอายุต่ำกว่า 2 ปี ผู้สูงอายุมากกว่า 65 ปี หญิงมีครรภ์ ผู้ป่วยที่มีโรคประจำตัวเรื้อรัง เช่นโรคปอด หอบหืด.
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับเอดส์
Avian Salmonellosis ระบาดวิทยา
โรคพิษสุนัขบ้า เป็นโรคที่พบได้ในสัตว์เลี้ยงลูกด้วย น้ำนมทุกชนิดและติดต่อถึงคน ประเทศไทยมีคนป่วยตายเป็นอันดับต้นๆ 3 รายแรกของโลก โรคพิษสุนัขบ้า.
โรคไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่
หลักสำคัญในการล้างมือ
โรคจากอาหารที่มีสารพิษจากรา
โรคที่เกิดจากสารเคมีที่เป็นพิษในอาหาร
โรคนิ่วในกระเพาะปัสสาวะ
เอกสารประกอบการเรียน วิชา พ.21102
โรคท้องเสีย จัดทำโดย ด.ญ.จุฬารัตน์ น้อยจาด เลขที่ 7 ม.1/4
โรคพยาธิ จัดทำโดย โรคพยาธิ ด.ช.พัสกร มะลิแก้ว เลขที่26
โรคอาหารเป็นพิษ เสนอ อ. สุมน คณานิตย์ จัดทำโดย
แนวทางการใช้ยาปฎิชีวนะ
ยินดีต้อนรับ สู่..ตึกโรคปอด.
หอผู้ป่วย อายุรกรรม หญิง 3.
แผนการสอนเรื่องปอดอักเสบ
คำแนะนำผู้ป่วย โรคนิ่วในถุงน้ำดี หอผู้ป่วยพิเศษ 2.
งานสุขศึกษา หอผู้ป่วยกุมาร 3
โรคเอสแอลอี.
การผ่าตัดก้อนถุงน้ำที่มือ
มะเร็งเม็ดเลือดขาว หรือ…..ลิวคีเมีย จัดทำโดย น.ส. สุดารัตน์ เมืองเจริญ
แผนการสอนระยะสั้น เรื่อง การดูแลผู้ป่วยเด็กที่มีภาวะนิวโทรฟีเนีย
ผู้ป่วยเม็ดเลือดขาวต่ำ
โรคนิวคาสเซิล (Newcastle disease : ND)
โรคอหิวาต์เป็ด ไก่ (Fowl cholera)
โรคบิด/โรคคอคซิดิโอซิส (Coccidiosis)
กลุ่มอาการท้องเสียในลูกโค (Calf scour)
โรคไข้สมองอับเสบเจอี Japanese encephalitis เสนอ อาจารย์ ดอเล๊าะ ดาลี จัดทำโดย น.ส.เนตรนภา ชั่งประดิษฐ รหัส กลุ่มพื้นฐานที่ 12.
สัมนาทางชีววิทยา เสนอ อาจารย์ ดอเล๊าะ ดาลี จัดทำโดย
Myasthenia Gravis.
โรคคอตีบ (Diphtheria)
แนวทางการใช้ยาปฏิชีวนะอย่าง สมเหตุผลในโรคติดเชื้อทางเดิน
Tuberculosis วัณโรค.
โรคที่เกิดจากฮอร์โมนผิดปกติ
ทำอย่างไรเมื่อมีอาการไอ จาม เจ็บคอ มีน้ำมูก สวมหน้ากากทันที กรณีไอ จาม ใช้กระดาษทิชชูรองรับ และทิ้งในที่มิดชิด ล้างมือให้สะอาดด้วยสบู่หรือเจลล้าง มือ.
โรคอุจจาระร่วง.
โดย โรงพยาบาลร้องกวาง
โรคมือปากเท้าเปื่อย (Hand foot mouth syndrome)
ของภาชนะสัมผัสอาหาร และมือ
การใช้สารเคมี สมาคมอารักขาพืชไทย ได้ถือกำเนิดขึ้นเมื่อปี พ.ศ ใช้ชื่อในขณะนั้นว่า “ สมาคม ผู้ประกอบธุรกิจสารเคมีกำจัดศัตรูพืช : ส.ธ.ก. ( Thai Pesticide.
สารเคมีแช่ท่อนพันธุ์
โรคเบาหวาน เบาหวาน คือภาวะที่ร่างกายมีระดับน้ำตาลในเลือดสูงกว่าปกติ เนื่องมาจากร่างกายไม่สามารถนำน้ำตาลในเลือดไปใช้ได้ตามปกติ ซึ่งเกิดจากความผิดปกติของต่อมไร้ท่อที่ตับอ่อนปล่อยฮอร์โมนที่เรียกว่า.
คำแนะนำเรื่อง โรค มือ เท้า ปาก สำหรับผู้ปกครอง.
โรคติดเชื้อไวรัสไข้หวัดใหญ่
การปรับเวลาของการบริหารยาให้เข้ากับรอบเวลาให้ยาปกติ
โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
ความคงตัวของยาฉีดหลังผสม / วิธีบริหารยา และสารละลายเจือจางที่เหมาะสม
โรคเบาหวาน ภ.
ข้อห้าม ของการตัดปากมดลูก
โครงการ ส่งเสริมการใช้ยาต้านจุลชีพ โรงพยาบาลศรีสังวรสุโขทัย
การใช้ยาและอาการไม่พึงประสงค์ ในผู้ป่วยความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน
Wound healing with Whirlpool Whirlpool
ว่านหางจระเข้ ฟ้าทะลายโจร เสลดพังพอน
Tonsillits Pharynngitis
ขอบเขตความรับผิดชอบของพยาบาลในการบริหารยา
การดูแลสุขภาพกาย กลุ่มงานระบาดวิทยา.
อย่า ! ให้คนที่รักต้องจากไปเพราะ...
วัณโรค อยู่ใกล้ตัวคุณ...แค่นี้เอง.
นิ่วในถุงน้ำดี งานสุขศึกษา โรงพยาบาลพะเยา.
โรคกระเพาะอาหาร Gastritis.
ไข้หวัดใหญ่ (Flu 2009) ปัจจุบัน การระบาดของโรคไข้หวัดใหญ่สายพันธ์ใหม่ 2009 กำลังแพร่ระบาดไปทั่วประเทศ และพบผู้เสียชีวิต จากโรคดังกล่าวจำนวนหนึ่ง การระบาดภายในประเทศระยะแรก.
ใส่หน้ากากอนามัย ล้างมือบ่อยๆ...
โรงพยาบาลวังม่วงสัทธรรม
โรคเบาหวาน เป็นชื่อของกลุ่มอาการของโรค ที่ร่างกายไม่สามารถใช้น้ำตาลได้
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แบบบันทึกประกอบการวินิจฉัยและการรักษา โรคท้องร่วงเฉียบพลัน ชื่อ-สกุล..............................................HN…………........อายุ.................ปี น้ำหนัก.................กก. ว/ด/ป.................เวลา..................น. ซักประวัติ กรณีที่ ไม่ให้ ยาปฏิชีวนะ 1. อาหารเป็นพิษ  มีอาการอาเจียนเป็นอาการเด่น 2. ท้องร่วงชนิด Non-invasive  ถ่ายอุจจาระเหลวจำนวน 3 ครั้งต่อวันหรือมากกว่า หรือถ่ายมีมูก หรือถ่ายเป็นน้ำอย่างน้อย 1 ครั้ง กรณีที่ ควร ให้ยาปฏิชีวนะ 1. ท้องร่วงชนิด Invasive  มีไข้ > 38๐C และอุจจาระมีเลือดปนเห็นได้ด้วยตาเปล่า (หรือตรวจพบ RBC และ WBC ในอุจจาระ) ................................................................................................................... ให้ Norfloxacin 5 วัน  ผู้ใหญ่ : 400 mg bid ac / 10 เม็ด  เด็ก : 15-20 mg/kg/day bid ac ……………………./……..เม็ด ................................................................................................ หมายเหตุ.................................................................................... ยาปฏิชีวนะที่ไม่ควรใช้ในกรณีนี้ ได้แก่ Ampicillin , Amoxicillin , Co-amoxiclav , Cephalosporins , Macrolides , Ofloxacin , Ciprofloxacin , Chloramphenicol , Colistin , Tetracyclines และ Co-trimoxazole แพทย์ผู้สั่ง

แผลเลือดออก (ทั้งชนิดที่ต้องเย็บแผลและไม่ต้องเย็บแผล) แบบบันทึกประกอบการวินิจฉัยและการรักษา แผลเลือดออก (ทั้งชนิดที่ต้องเย็บแผลและไม่ต้องเย็บแผล) ชื่อ-สกุล..............................................HN…………........อายุ.................ปี น้ำหนัก.................กก. ว/ด/ป.................เวลา..................น. ซักประวัติ ระยะเวลาการเกิดแผล (หากนานกว่า 6 ชม.และไม่ได้รับการทำความสะอาดอาจจะมีโอกาสติดเชื้อ - ดูลักษณะแผล / ความสกปรก / เนื้อตาย / ขนาดแผล กรณีที่ ไม่ให้ ยาปฏิชีวนะ 1. แผลสะอาด  ผู้ป่วยมาถึงหน่วยบริการภายใน 6 ชั่วโมง  แผลขอบเรียบ ทำความสะอาดง่าย  ไม่มีเนื้อตาย  ไม่มีสิ่งสกปรกติดในแผล หรือมีแต่ล้างออกง่าย ไม่ปนเปื้อนสิ่งที่มีแบคทีเรียมาก เช่น มูลสัตว์ น้ำคร่ำ กรณีที่ ที่ควรให้ ยาปฏิชีวนะ 1. แผลสะอาด ที่มีลักษณะดังนี้  แผลที่เท้า  แผลจากการบดอัด เช่น ประตูหนีบ  แผลขอบไม่เรียบ เย็บแผลได้ไม่สนิท  แผลในผู้ป่วยเบาหวาน พิษสุราเรื้อรัง โรคหลอดเลือดส่วนปลายตีบ ผู้มีภูมิคุ้มกันต่ำ หรือใช้ยากดภูมิคุ้มกัน 2. แผลปนเปื้อน  ถูกวัตถุทิ่มตำเป็นรู ทำความสะอาดยาก  มีเนื้อตายเป็นบริเวณกว้าง  มีสิ่งสกปรกติดอยู่ในแผลล้างออกไม่หมด ปนเปื้อนสิ่งที่มีแบคทีเรียมาก เช่น มูลสัตว์ น้ำคร่ำ การให้ยาป้องกันการติดเชื้อ  ให้ Dicloxacillin 2 วัน  ผู้ใหญ่ : 250 mg ก่อนอาหาร วันละ 4 ครั้ง/ 8 เม็ด  ให้ Cloxacillin 2 วัน  เด็ก : 250 mg (50-100 mg/kg/day) วันละ 4 ครั้ง ก่อนอาหาร................................../...............เม็ด/ขวด .......................................................................................................... การให้ยาป้องกันการติดเชื้อ  ให้ Augmentin 2 วัน  ผู้ใหญ่ : 375 mg วันละ 3 ครั้ง/ 6 เม็ด  เด็ก : 156 mg (คำนวณจาก amoxicillin 25-50 mg/kg/day) วันละ 3 ครั้ง................................../...............เม็ด/ขวด  ให้ Clindamycin 2 วัน  ผู้ใหญ่ : 300 mg วันละ 4 ครั้ง 8 เม็ด  เด็ก : 8-25 mg/kg/day วันละ 4 ครั้ง ............................../...............เม็ด ................................................................................................................. แพทย์ผู้สั่ง

โรคระบบทางเดินหายใจส่วนบน แบบบันทึกประกอบการวินิจฉัยและการรักษา โรคระบบทางเดินหายใจส่วนบน ชื่อ-สกุล..............................................HN…………........อายุ.................ปี น้ำหนัก.................กก. ว/ด/ป.................เวลา..................น. ซักประวัติ ส่วนใหญ่ 80 % เกิดจากเชื้อไวรัสหรือสาเหตุอื่นๆ เช่น ภูมิแพ้ ไม่ต้องให้ยาปฏิชีวนะ - ส่วนน้อยเกิดจากเชื้อแบคทีเรีย ซึ่งควรให้ยาปฏิชีวนะ กรณีที่ ไม่ให้ ยาปฏิชีวนะ หวัด - เจ็บคอ (Common cold) คออักเสบ (Pharyngitis)  ตาแดง น้ำตาไหล ไอ ท้องเสีย (ในเด็ก)  เสียงแหบ มีน้ำมูกใส มีน้ำมูกมาก จามบ่อย  มีไข้ต่ำๆ หรือไม่มีไข้  เจ็บคอไม่มาก มีผื่น มีแผลในช่องปาก  การมีไข้สูง เช่น 39๐C - 40๐C ร่วมกับอาการข้างต้น กรณีที่ ควรให้ ยาปฏิชีวนะ 1. ต่อมทอนซิลอักเสบหรือคอหอยอักเสบ จากเชื้อ Group A beta hemolytic streptococcus (GABSH)  มีไข้สูงเช่น 38๐C ร่วมกับอาการเจ็บคอมาก มีจุดขาวที่ต่อมทอนซิล ลิ้นไก่บวมแดง มีฝ้า ขาวที่ลิ้น อาจมีจุดเลือดออกที่เพดานปาก ไม่มีอาการของโรคหวัด (เช่น น้ำมูก ไอ จาม ที่เด่นชัด) 2. หูชั้นกลางอักเสบ  มีไข้ ปวดหู  มีอาการหลังจากเป็นหวัด 3. ไซนัสอักเสบ ไซนัสอักเสบเฉียบพลัน ที่มีอาการต่อเนื่องนานเกิน 7 วัน ให้ Amoxicillin 10-14 วัน ผู้ใหญ่ : 500 mg วันละ 3 ครั้ง/...............เม็ด ผู้ใหญ่ : ..............mg .............เม็ด (เพิ่มขนาดยาเป็น 2 เท่าหากคาดว่าเชื้อดื้อยา)  เด็ก : 80 mg/kg/day วันละ 2-3 ครั้ง ...................mg./..........เม็ด (สูงสุดไม่เกิน 2 gm/day) ให้ Amoxicillin 10-14 วัน ผู้ใหญ่ : 500 mg วันละ 3 ครั้ง/...............เม็ด ผู้ใหญ่ : ..............mg .............เม็ด (เพิ่มขนาดยาเป็น 2 เท่าหากคาดว่าเชื้อดื้อยา)  เด็ก : 80 mg/kg/day วันละ 2-3 ครั้ง ...................mg./..........เม็ด (สูงสุดไม่เกิน 2 gm/day) กรณีแพ้ Penicillin ให้ Roxithromycin 10–14 วัน ผู้ใหญ่ : 150 mg bid ac /…………...เม็ด หรือ ผู้ใหญ่ : 300 mg OD ac /…………...เม็ด เด็ก : 100 mg (หรือ 5-8 mg/kg/day) bid ac……………./……….เม็ด ให้ Erythromycin เด็ก : 30-50 mg/kg/day วันละ 2-4 ครั้ง /…………...……./……….เม็ด ............................................................................  ให้ Penicillin V 10 วัน  ผู้ใหญ่ : 500 mg วันละ 2-3 ครั้ง/...............เม็ด  เด็ก : 250 mg (หรือ 25-50 mg/kg/day) วันละ 2-3 ครั้ง/.................เม็ด หรือ ให้ Amoxicillin 10-14 วัน  ผู้ใหญ่ : 500 mg วันละ 2-3 ครั้ง/..............เม็ด  เด็ก : 250 mg (หรือ 25-50 mg/kg/day) แพทย์ผู้สั่ง